PowerPoint Template

Download Report

Transcript PowerPoint Template

บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์
อ.กรรณิการ์ แก้วเชื้อ
โปรแกรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ ธานี
เนือ้ หา
1. ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
2. การแปลภาษาคอมพิวเตอร์
3. แนวทางการเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
4. สรุป
เกริ่นนา
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
หมายถึง สั ญลักษณ์ ทผี่ ู้คดิ พัฒนาภาษากาหนดขึน้ มา
เพือ่ ใช้ แทนคาสั่ งสื่ อสารสั่ งงาน ระหว่ างมนุษย์ กบั
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพ่วงอืน่ ๆ
พัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์
เลขฐานสอง
ข้ อความภาษาอังกฤษ
10101010
X=5+6
PRINT X
00000001
00001001
ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Language)
ประเภทของภาษาทีจ่ ัด
ว่ าเป็ นภาษาระดับต่า
ประเภทของภาษาทีจ่ ัด
ว่ าเป็ นภาษาระดับสู ง
• ภาษาเครื่ อง
ภาษาฟอร์แทรน ภาษาเบสิ ก
ภาษาโคบอล
ภาษาปาสคาล
• ภาษาแอสเซมบลี
ภาษาซี
ภาษาเอดา
ภาษาพีแอลวัน
ประเภทของภาษาที่ทางาน
ภายใต้ ระบบปฏิบัติ Windows
• โปรแกรมภาษาเชิง
วัตถุ
ประเภทของภาษาที่จัดว่ าเป็ นภาษาระดับตา่
1. ภาษาเครื่ อง (Machine Language) เป็ นภาษาที่เขียนเป็ นรหัส
เลขฐานสอง ซึ่ งคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ทนั ที กล่าวคือ จะ
ใช้เฉพาะเลข 0 และ 1 เท่านั้น เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็ นรหัส
สัง่ งานให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) หรื อภาษาสัญลักษณ์
(Symbolic language) จะอยูใ่ นรู ปของสัญลักษณ์ โดยการนา
ตัวอักษรย่อหรื อสัญลักษณ์ต่างๆมาใช้เขียนแทนตัวคาสัง่ ซึ่ งจะทา
ให้สามารถจาและเขียนคาสัง่ ต่างๆได้ง่ายขึ้นกว่าภาษาเครื่ อง
ประเภทของภาษาทีจ่ ัดว่ าเป็ นภาษาระดับสู ง
พัฒนาเมือ่
ภาษาคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะเด่ น
1957
FORTRAN
(FORmular
TRANslation)
ALGOL
(ALGOrithmicLanguag
e)
เป็ นภาษาที่ประยุกต์ใช้ในงานคานวณทาง
คณิ ตศาสตร์หรื อการคานวณแบบสูตร
1960
เป็ นภาษาที่มีความยืดหยุน่ กว่าภาษา
FORTRAN โดยเน้นการคานวณ เพื่อ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์และเป็ นต้นแบบ
ของการพัฒนาภาษาต่าง ๆ หลายภาษา
ประเภทของภาษาทีจ่ ัดว่ าเป็ นภาษาระดับสู ง
พัฒนาเมือ่
1964
ภาษาคอมพิวเตอร์
BASIC
Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction
Code
1969
PASCAL
ตั้งชื่อเป็ นเกียรติแก่
เบลส์ ปาสคาล
(Blasé Pascal)
คุณลักษณะเด่ น
เป็ นภาษาทีง่ ่ ายต่ อการใช้ งานและถูกออกแบบมา
สาหรับผู้เริ่มต้ นเรียนรู้ การใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
และยังสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ งานได้ ท้ัง
ทางด้ านธุรกิจ บริหาร คณิตศาสตร์ การ
คานวณทางสถิติและการเขียนกราฟิ ก เป็ นต้ น
เป็ นภาษาโครงสร้าง (Structured language) ที่
ให้ผลลัพธ์ที่แน่นอนและแม่นยา ซึ่ งถูกเรี ยกว่า
เป็ น ภาษาแห่ งระบบแบบแผน (Systematic
language) หรือ
เป็ นภาษาทีม่ รี ะเบียบสู งมาก
ประเภทของภาษาทีจ่ ัดว่ าเป็ นภาษาระดับสู ง
พัฒนาเมือ่
1972
1983
ภาษาคอมพิวเตอร์
C
คุณลักษณะเด่ น
เป็ นภาษาที่พฒั นามาจากภาษา B และเป็ นภาษา
ที่ได้รวมเอาข้อดีของภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษา
Pascal LISP และ CPL
จนกลายเป็ นภาษาโครงสร้างที่มีประสิ ทธิภาพใน
ด้านการนาไปประยุกต์ใช้กบั งานได้หลากหลาย
ADA
เป็ นภาษาที่ถกู พัฒนาขึ้นมาใช้ใน
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริ กา ลักษณะ
ตั้งชื่อเป็ นเกียรติแก่
เลดี้เอดา ออกุสตา (Lady ของภาษาจะคล้ายกับภาษา Pascal แต่ซบั ซ้อน
Ada Augusta Lovelace) กว่า
ประเภทของภาษาที่ทางานภายใต้ ระบบปฏิบัติ Windows
เป็ นภาษาในกลุ่มนี้เน้นการพัฒนาระบบงานในรู ปแบบ
ฐานข้อมูล ในส่ วนการออกแบบรู ปแบบการแสดงผล สามารถ
สร้างสรรค์ในเชิงงานกราฟิ กได้อย่างสวยงาม สามารถใช้อุปกรณ์
ประเภทเมาส์ในการป้ อนข้อมูลเข้าระบบ และเลือกคาสัง่ งานส่ วน
ติดต่อกับผูใ้ ช้ได้
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปรภาษา (Translator Program) เป็ นส่ วนที่ใช้ใน
การแปลรหัสคาสัง่ ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่พฒั นาขึ้นมาเพื่อ
แปลงให้เป็ นเลขฐานสอง (ภาษาเครื่ อง)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ลักษณะการทางานของตัวแปรภาษา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาที่ใช้ภาษาเครื่ อง จะถูกเรี ยกว่า โปรแกรม
ต้ นฉบับ (Source Program) เมื่อบันทึกโปรแกรมลงสื่ อบันทึกข้อมูล เครื่ องจะ
กาหนดชนิ ดของโปรแกรม (Type) ตามข้อกาหนดของแต่ละภาษาที่สร้างโดย
อัตโนมัติ เช่น ภาษาซีจะมีชนิดเป็ น C หรื อภาษา C++ ที่จะมีชนิ ดเป็ น CPP มี
หน้า ที่ แ ปลชุ ด ค าสั่ง ที่ ใ ช้ใ นรู ป แบบค าสั่ง ที่ ภ าษานั้น ๆ ก าหนดไว้ ให้เ ป็ น
โปรแกรมภาษาเครื่ อง (Object
Program) ซึ่ งเป็ นภาษาเดี ยวที่ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ สามารถปฏิบตั ิตามคาสั่งได้ หลังจากแปลโปรแกรมต้นฉบับแล้ว
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ก็จะทาการสร้ างโปรแกรมเพิ่มขึ้นอีก 1 โปรแกรม ให้มี
ชนิดของโปรแกรมเป็ นชนิด .EXE หรื อ .OBJ เพื่อใช้ทางานในลักษณะของ
ภาษาต่อไป
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ น้ ัน โปรแกรมเมอร์ จะเขี ย น
โปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์ แบบต่าง ๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละ
คน โปรแกรมที่ ไ ด้จ ะเรี ย กว่ า โปรแกรมต้น ฉบับ หรื อ ซอร์ ส โปรแกรม
(source program) ซึ่ งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์
จะไม่ เข้ า ใจค าสั่ ง เหล่ านั้ น จึ งต้ อ งมี การใช้ โ ปรแกรม ตั ว แปล
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาต่าง ๆ
ไปเป็ นภาษาเครื่ องโปรแกรมที่ แ ปลจากโปรแกรมต้น ฉบับแล้ว เรี ย กว่ า
ออบเจคโปรแกรม (object program) ซึ่ งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบตั ิได้ต่อไป
ประเภทของตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
Assembler
ตัวแปรภาษา
Compiler
Interpreter
โปรแกรมแปลภาษาแบบแอสเซมบลี
แอสเซมบลี (assembler) เป็ นตัวแปลภาษาที่ออกแบบมา
เพื่อใช้แปลคาสัง่ เฉพาะภาษาแอสเซมบลีเท่านั้น ซึ่ งจะทาหน้าที่
แปลรหัสคาสัง่ เป็ นภาษาเครื่ อง
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
คอมไพเลอร์ (Compiler) ทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนด้วยภาษา
ระดับสูง เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์แทรนให้เป็ นภาษาเครื่ อง
หลัก การท างานจะแปลโปรแกรมต้น ฉบับ ทั้ง โปรแกรมให้เ ป็ นรหัส
ออบเจ็กต์ (Object Code) ในระหว่างการแปลข้อมูลรหัส หากพบข้อผิดพลาด จะ
แสดงข้อความแจ้งข้อผิดพลาดที่จอภาพ และหยุดการแปล เมื่อผูเ้ ขียนโปรแกรม
แก้ไ ขข้อ ผิด พลาดเรี ย บร้ อยแล้ว ให้ทาการแปลใหม่ ถ้า ไม่ มี ขอ้ ผิด พลาดจะได้
โปรแกรมใหม่ที่เรี ยกว่า โปรแกรมออบเจ็กต์
หลังจากนั้นนาโปรแกรมออบเจ็กต์ที่ได้ไปลิงค์เข้ากับระบบหรื อไลบราลี ได้
ผลลัพธ์มาเป็ นภาษาเครื่ อง แล้วจึงนาภาษาเครื่ องไปสัง่ ให้เครื่ องทางานตามคาสัง่
โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler)
ข้อดี
สามารถทาการแปลคาสัง่ ได้อย่างรวดเร็ ว
ข้อเสี ย
ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่ วนของโคงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ที่
เลือกใช้งานก่อน
โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเตอร์ พรีเตอร์
อินเตอร์พรี เตอร์ (interpreter) เป็ นโปรแกรมแปลภาษาที่ทา
หน้าที่แปลโปรแกรมภาษาระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ อง เช่นเดียวกับ
คอมไพเลอร์ แต่จะแปลโปรแกรมพร้อมกับทางานตามคาสั่งทีละ
คาสัง่ ตลอดไปทั้งโปรแกรม ทาให้การแก้ไขโปรแกรมกระทาได้
ง่าย และรวดเร็ ว การแปลโดยใช้อินเตอร์พรี เตอร์จะไม่สร้าง
โปรแกรมเรี ยกใช้งาน ดังนั้นจะต้องทาการประมวลผลคาสั่งใหม่
ทุกครั้งที่มีการเรี ยกใช้งาน ตัวอย่างภาษาที่ใช้ตวั แปลอินเตอร์พรี
เตอร์ เช่น ภาษาเบสิ ก (BASIC)
โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเตอร์ พรีเตอร์
ข้ อดี คือสามารถสัง่ แสดงผลการทางานได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งเขียน
ชุดคาสัง่ ให้จบทั้งโปรแกรม ส่ วนใหญ่นิยมใช้กบั
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบไม่มี
โครงสร้าง
ข้ อเสี ย คือจากการที่ไม่มีโปรแกรมที่แปลรหัสแล้วเก็บไว้ หาก
เขียนโปรแกรมยาวมาก ๆ ก็จะทาให้การประมวลผลทาได้ชา้
หากโปรแกรมเพราะต้องเริ่ มอ่านคาสั่งจากจุดเริ่ มของโปรแกรม
ทุกครั้งที่มีการประมวลผล
แนวทางการเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงานเดิม เป็ นการทางานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ต้องมีการพัฒนางาน
โปรแกรมขึ้นมาด้วยการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ปั จจุบนั มีมากมายหลายภาษา แนวทางการ
เลือกใช้งานของแต่ละภาษาที่นิยมใช้งาน มีดงั นี้
1. ภาษาแอสเซมบลี
2. ภาษาฟอร์แทรน
3. ภาษาเบสิ ก
4. ภาษาโคบอล
5. ภาษาปาสคาล
6. ภาษาซี
7. ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ภาษาแอสเซมบลีมีลกั ษณะของภาษาในรู ปของการใช้รหัสช่วยจา
(mnemonic code) แทนตัวเลขฐานสองของภาษาเครื่ องจักร ทาให้เข้าใจ
ง่ายขึ้นกว่าภาษาเครื่ อง หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นภาษาสัญลักษณ์ ซึ่งมี
โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาเครื่ องจักรมาก ภาษาแอสเซมบลีจะ
ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ op-code หรื อรหัสตัวดาเนินการ เช่น A แทน
การบวก (Add) และ Openand หรื อตัวที่ถูกดาเนินการ ซึ่งจะใช้ตวั อักษร
ภาษาอังกฤษแทนตาแหน่งที่อยูใ่ นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลไว้
ตัวอย่างเช่น
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
คาสั่ งของภาษาสั ญลักษณ์
A X Y
ความหมายของคาสั่ ง คือ ให้บวกค่าข้อมูลที่อยูใ่ นหน่วยความจา
ตาแหน่งที่ X กับค่าข้อมูลที่อยูใ่ นหน่วยความจาตาแหน่งที่ Y เข้า
ด้วยกัน
A หมายถึง ให้บวกค่าข้อมูล
X หมายถึง ตาแหน่งในหน่วยความจาของค่าข้อมูลตัวตั้ง
Y หมายถึง ตาแหน่งในหน่วยความจาของค่าข้อมูลตัวตั้งบวก
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ข้ อดีของภาษาแอสเซมบลี
เป็ นภาษาที่เหมาะสาหรับการนาไปใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อศึกษา
การทางานของอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
และฝึ กทักษะการเขียนชุดคาสัง่ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ข้ อจากัดของภาษาแอสเซมบลี
1. เป็ นภาษาที่ผเู ้ ขียนต้องจาสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคาสัง่ ต่าง ๆ รวมทั้งต้องมี
พื้นฐานความรู ้ดา้ นอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบนั ผูใ้ ช้ภาษาแอสเซมบลี จึงเป็ นกลุ่ม
ผูใ้ ช้งานเฉพาะด้านและมีจานวนไม่มาก
2. เมื่อเปลี่ยนไปใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องอื่นก็จะต้องเปลี่ยนชุดคาสัง่
ตามชนิดของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานนั้นด้วย
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
เป็ นภาษาระดับสูงที่ใช้เขียนคาสัง่ งานเพื่อควบคุมการทางาน
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่ องเมนเฟรม (Mainframe
Computer) เป็ นภาษาที่ใช้แก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์
ภาษา FORTRAN จึงเหมาะสาหรับเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับสูตร
สมาการ หรื อฟังก์ชนั ทางวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ ตัวอย่างของ
ภาษา FORTRAN บางส่ วนมีดงั นี้
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
READ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN
PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X
ELSE
PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’
ความหมายของคาสั่ งงาน
READ X หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า
เข้ามาว่าอยูร่ ะหว่า 0-100 หรื อไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง THEN ถ้า
ไม่ใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง ELSE
PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X หมายถึง ให้พิมพ์ท้ งั ประโยคด้วยข้อความที่
กาหนดแล้วตามด้วยค่าของตัวแปร X ที่อ่านเข้ามา
PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’ หมายถึง พิมพ์ท้งั ประโยค
โดยแสดงค่าของ X ก่อนประโยคข้อความ
ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
ข้ อดีของภาษาฟอร์ แทรน
เป็ นภาษาที่มีคาสัง่ งานเน้นประสิ ทธิภาพด้านการคานวณ วิทยาศาสตร์และ
คณิ ตศาสตร์ รวมทั้งคาสัง่ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์เครื่ องเมนเฟรม
ข้ อจากัดของภาษาฟอร์ แทรน
เนื่องจากคาสัง่ งานเหมาะสาหรับการควบคุมการทางานของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เมื่อนามาประยุกต์ใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
จะต้องปรับใช้คาสัง่ มากมาย รวมทั้งเมื่อมีการเปลี่ยนเครื่ องประมวลผลก็ตอ้ ง
เปลี่ยนรู ปแบบคาสัง่ ทุกครั้ง
ภาษาเบสิ ก (BASIC)
เป็ นภาษาระดับสู งที่พฒั นาขึ้นมา โดยมุ่งเน้นการควบคุมเครื่ อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กทักษะการเขียน
โปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ รู ปแบบคาสัง่ งาน
ประยุกต์มาจากข้อความภาษาอังกฤษที่ใช้สื่อสารกันในชีวติ ประจาวันที่
ใช้งานกันอยูแ่ ล้ว ทาให้การเขียนคาสัง่ งานง่ายขึ้น ตัวอย่างเช่น
INPUT X
IF X > 0 AND X < 100 THEN
PRINT “VALUE OF X IS :” ; X
ELSE
PRINT “X IS NOT BETWEEN 0 AND 100”
END IF
ความหมายของคาสั่ งงาน
INPUT X หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X
IF X > O AND X < 100 THEN หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า
เข้ามาว่าอยูร่ ะหว่า 0-100 หรื อไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง THEN
ถ้าไม่ใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง ELSE
PRINT “VALUE OF X IS : “; X หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่อ่านค่า
เข้ามาว่าอยูร่ ะหว่า 0-100 หรื อไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง THEN
ถ้าไม่ใช่ให้ทาคาสัง่ หลัง ELSE
PRINT “X IS NOT BETWEEN 0 AND 100” หมายถึง พิมพ์ท้งั ประโยค
โดยแสดงค่าของ X ก่อนประโยคข้อความ
ภาษาเบสิ ก (BASIC)
ข้ อดีของภาษาเบสิ ก
คือชุดคาสัง่ งานมีรูปแบบการใช้งานง่ายและสั้น ทาให้ผใู ้ ช้งาน
สะดวกในการนาไปใช้งานในด้านการพัฒนาระบบงาน
และงาน
อื่น ๆ ทัว่ ไป ทั้งด้านงานคานวณในระบบงานทางธุรกิจ และงาน
ด้านวิทยาศาสตร์
อีกทั้งยังเหมาะสาหรับผูเ้ ริ่ มฝึ กทักษะการเขียน
โปรแกรมอีกด้วย
ข้ อจากัดของภาษาเบสิ ก
คือเป็ นภาษาที่มีรูปแบบของภาษาแบบ “ไม่มีโครงสร้าง” ซึ่ง
ไม่เหมาะกับระบบงานขนาดใหญ่ ๆ
ภาษาโคบอล (COBOL)
เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงในยุคแรก ที่มีการออกแบบการเขียน
โปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Program) เน้นการเขียนคาสัง่ ควบคุม
การทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น “คอมพิวเตอร์รุ่นเมนเฟรมและ
มินิ” เหมาะสาหรับงานทางด้านธุรกิจและพาณิ ชยกรรมที่มีการประมวลผล
ข้อมูลจานวนมาก ตัวอย่างลักษณะการเขียนคาสัง่ มีดงั นี้
ภาษาโคบอล (COBOL)
IDENTIFICATION DIVISION.
PROGRAM-ID. SIMPLE_PROGRAM.
ENVIRONMENT DIVISION.
CONFIGURATION SECTION.
INPUT-OUTPUT SECTION.
FILE-CONTROL.
SELECT
data ASSIGN TO DISK.
DATA DIVISION.
FILE SECTION.
PROCEDURE DIVISION.
…
ภาษาโคบอล (COBOL)
ความหมายของคาสั่ งงาน
ภาษาโคบอลเป็ นภาษาที่มีโครงสร้างทางภาษาที่ชดั เจนโดยมีการแบ่ง
ส่ วนของโปรแกรมเป็ น 4 ส่ วน หรื อ 4 Divisions ซึ่งในแต่ละ Division ก็
สามารถแบ่งเป็ น section ได้อีกตามความจาเป็ นที่ตอ้ งใช้งานในโปรแกรม
สาหรับการใช้ภาษาโคบอลเขียนโปรแกรมนั้นผูเ้ ขียนโปรแกรม
(Programmer) จะต้องเขียนโปรแกรมยาวมาก ทาให้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น
ขณะทาการแปรชุดคาสัง่ มักจะหาตาแหน่งที่ผดิ พลาดของคาสัง่ ได้ยาก
ภาษาโคบอล (COBOL)
ข้ อดีของภาษาโคบอล
คือ เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสาหรับการนาไปพัฒนาระบบงาน
ทางด้านธุรกิจที่ใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่ไม่ใช่ไมโครคอมพิวเตอร์
โดยเฉพาะระบบงานที่ตอ้ งมีการพิมพ์รายงานเป็ นประจา หรื อใช้กบั ระบบงานที่มี
การเชื่อมการทางานไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์หลายเครื่ อง
ข้ อจากัดของภาษาโคบอล
คือ ไม่เหมาะสาหรับการนาไปพัฒนาระบบงานกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาด
เล็ก ชุดคาสัง่ ต้องเขียนยาวมาก และแก้ไขยาก ใช้เวลาในการพัฒนาโปรแกรมนาน
อีกทั้งยังทาให้การแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมทาได้ยากอีกด้วย
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
เป็ นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้สามารถนามาใช้กบั เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กได้ และเป็ นภาษาที่มีลกั ษณะโปรแกรมแบบโครงสร้าง
นิยมนาไปใช้ในการพัฒนาระบบงานทัว่ ไปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งงานทางด้าน
การเขียนโปรแกรมเกี่ยวกับ สูตร สมการ และฟังก์ชนั ทางด้านวิทยาศาสตร์
และคณิ ตศาสตร์ เพราะการเขียนคาสัง่ งานง่าย ใช้เวลาน้อยในการศึกษาวิธีการ
เขียนคาสัง่ งาน ตัวอย่างของคาสัง่ งานในภาษาปาสคาลมีดงั นี้
PROGRAM sample;
USES CRT;
VAR
a , b , c : INTEGER;
BEGIN
readLn ( a );
readLn ( b );
C := a + b;
writeln (c);
END.
ความหมายของคาสั่ งงาน
จากตัวอย่างโปรแกรมแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างของภาษาปาสคาลที่มีการ
กาหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดทุกครั้ง ทาให้ภาษาปาสคาลถูกเรี ยกว่าเป็ น ภาษาแบบ
โครงสร้ างทีม่ ีความเป็ นระเบียบอย่ างมาก โปรแกรมตัวอย่างนี้เป็ นการอ่านข้อมูล ผ่านทาง
คียบ์ อร์ด เพื่อนาข้อมูลเข้ามาทาการประมวลผล แล้วจึงแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ
ภาษาปาสคาล (PASCAL)
ข้ อดีของภาษาปาสคาล
คือเป็ นภาษาที่มีลกั ษณะเป็ นโครงสร้าง ทาให้ง่ายต่อการศึกษาวิธีการใช้งาน
เหมาะสาหรับงานทัว่ ไป ทั้งงานทางด้านธุรกิจ และงานด้านการคานวณทาง
วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์และวิศวกรรม จึงนิยมนาไปใช้ในการเรี ยนการสอน
สาหรับผูเ้ ริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
ข้ อจากัดของภาษาปาสคาล
เนื่องจากเป็ นภาษาที่ถูกออกแบบมาสาหรับใช้ในการเรี ยนการสอนทาให้
ภาษาปาสคาลขาดคุณสมบัติหลาย ๆ อย่างในการนาไปใช้งานจริ ง
ภาษาซี (C)
เป็ นภาษาระดับสู ง ที่มีลกั ษณะโปรแกรมแบบโครงสร้ าง
อีกภาษาหนึ่ งที่ ได้รับความนิ ยมนาไปใช้ในงานพัฒนาระบบงาน
เนื่องจากมีคาสัง่ ในการเข้าถึงการทางานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ โดยตรง ตัวอย่างคาสั่งงาน
ของภาษาซีมีดงั นี้
ภาษาซี (C)
# include <stdio.h>
void main() {
printf(“Hello world”);
getch();
}
ความหมายของคาสั่ งงาน
หมายถึงการสัง่ ให้พิมพ์คาว่า “Hello world” ออกทางจอภาพ
จากนั้นให้รอรับการป้ อนค่าใด ๆ 1 ค่า จากคียบ์ อร์ดจึงจะจบการทางาน
ของโปรแกรม
ภาษาซี (C)
ข้ อดีของภาษาซี
คื อ เป็ นภาษาระดับสู งที่ เหมาะสาหรั บการพัฒนาระบบงานเชิ งคานวณ
ทัว่ ไป
นอกจากนี้ ภาษาซี ยงั เป็ นภาษาที่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ของระบบ
คอมพิวเตอร์ ได้โดยตรง และมีคาสั่งที่สามารถเชื่ อมโยงการใช้งานกับโปรแกรม
ภาษาแอสเซมบลีได้ ทาให้ภาษาซี เป็ นภาษาที่มีประสิ ทธิ ภาพการในการประมวลผล
งานได้อย่างรวดเร็ ว ทาให้ภาษาซีเหมาะสาหรับงานผลิตซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป
ข้ อจากัดของภาษาซี
คือ มีบางคาสั่งที่คล้ายภาษาสัญลักษณ์ จึงยากต่อการจา รวมทั้งมีรูปแบบ
คาสัง่ กฎเกณฑ์การใช้งานมาก จึงอาจจะไม่เหมาะสาหรับผูเ้ ริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
คือภาษาที่มีกลไกสนับสนุนการสร้างวัตถุ หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบ
เพื่อใช้ในการสร้างโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) ที่ประกอบ
ขึ้นจากระบบที่ทางานเกี่ยวข้องกันจานวนมาก ภาษา Smalltalk ที่พฒั นาโดยกลุ่ม
นักค้นคว้าของบริ ษทั Xerox นับว่าเป็ นภาษาที่เน้นการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุอย่าง
แท้จริ งเป็ นภาษาแรก นอกจากนี้ ภาษาซี ก็ได้ถูกพัฒนาให้เป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ
ด้วยเช่นกัน โดยใช้ชื่อว่า ภาษา C++ ซึ่ งพัฒนาขึ้นโดย Bjarne Stroutrup จากบริ ษทั
AT&T นอกจากนี้ ภาษา FORTRAN90, Ada95, Modula-3 และ Prolog II ก็ถูก
พัฒนาให้สนับสนุ นโปรแกรมเชิ งวัตถุดว้ ยเช่นกัน แต่ภาษา Eiffel และภาษา
Smalltalk ก็เป็ นอีกภาษาหนึ่งที่ถูกออกแบบมาโดยเน้นการคิดแบบเชิงวัตถุเป็ นหลัก
ซึ่งทาให้ผใู ้ ช้ตอ้ งคิดและเขียนโปรแกรมเป็ นเชิงวัตถุท้ งั หมดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Language)
ข้ อดีของภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
คือสามารถพัฒนาระบบงานขนาดใหญ่
ที่มีลกั ษณะการเขียนโปรแกรมแบบแบ่งเป็ น
ส่ วนย่อย หรื อเรี ยกว่า “โมดูล” ภาษาในกลุ่มนี้มีการออกแบบคาสั่งงานในรู ปแบบของ
เครื่ องมืออานวยความสะดวก ที่เรี ยกว่า “ทูล” เพื่อให้ผเู้ ขียนโปรแกรมสามารถคลิกเมาส์เพื่อ
เลือกคาสั่งงานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ ว โดยไม่ตอ้ งจดจาคาสั่งทุกคาสั่งและมีคาสั่งงานที่
เอื้อต่อการแสดงผลในลักษณะกราฟิ กได้อย่างสวยงาม และมีประสิ ทธิภาพ
ข้ อจากัดของภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
คือ คาสั่งงานจะมีลกั ษณะเชิงกราฟิ ก ส่ งผลให้รูปแบบการเขียนคาสั่งมีขอ้ ความการ
สัง่ งานที่มีความยาวมาก รายละเอียดรู ปแบบการนาคาสั่งงานไปใช้งานมีมาก และหลาย
ลักษณะรวมทั้งการวิเคราะห์ระบบงานพัฒนาโปรแกรมเปลี่ยนไปเป็ นการมองเชิงวัตถุ ดังนั้น
การใช้งานโปรแกรมกลุ่มนี้ ให้มีประสิ ทธิ ภาพ ผูใ้ ช้งานควรมีพ้นื ฐานความรู ้ในทักษะการเขียน
โปรแกรมด้วยภาษาระดับสู งมาก่อน
www.themegallery.com
แบบฝึ กหัด
1. ให้นกั ศึกษานิยามความหมายของคาว่า “ภาษาคอมพิวเตอร์” ตามความคิดของ
นักศึกษา
2. การพิจารณาคัดเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาระบบงานนั้น
ผูด้ าเนินการพัฒนาโปรแกรมต้องวิเคราะห์คดั เลือกโดยใช้องค์ประกอบใดบ้าง
3. ในการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ข้ ึนมาใช้งานนั้น เห็นได้วา่ มีการพัฒนาตัว
แปลภาษาขึ้นมาใช้งานด้วย ให้นกั ศึกษาอธิบายถึงความสาคัญของตัวแปลภาษา
ที่มีต่อภาษาคอมพิวเตอร์
4. อธิบายลักษณะการทางานของตัวแปลภาษาประเภทคอมไพเลอร์
5. อธิบายลักษณะการทางานของตัวแปลภาษาประเภทอินเตอร์พรี เทอร์