ซอฟต์แวร์ (Software)

Download Report

Transcript ซอฟต์แวร์ (Software)

ซอฟต์แวร์ (Software)
• คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางาน
ใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็ นชุดคาสัง่ หรื อ
โปรแกรมที่สงั่ ให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสัง่ หรื อ
โปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming
Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์
(Programmer) หรื อนักเขียนโปรแกรมเป็ นผูใ้ ช้ภาษาคอมพิวเตอร์
เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
Software
ประเภทของซอฟต์แวร์
• ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software )
• โดยส่ วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่ องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบ
เป็ นส่ วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่ มต้นการ
ทางานอื่น ๆ ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการได้ต่อไป
• โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับส่ วนประกอบต่างๆ ของ
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และอานวยเครื่ องมือสาหรับทางานพื้นฐานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์
ประเภทของซอฟต์ แวร์ ระบบ
• ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
• ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ระบบปฏิบัตกิ าร (Operating System)
• ชุดของโปรแกรมที่อยูร่ ะหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ใน
การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคาสัง่ สาหรับควบคุม
การทางานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการที่
นิยมใช้ในปัจจุบนั เช่น MS - DOS , UNIX , Windows 95
, และ Mac System 7 เป็ นต้น
DOS(1985)
OS/2 -> Windows
Windows 1.0
(1985)
Windows 2.0
(1987)
Windows 3.11
(1990-1992)
Windows95
(1995)
Windows98
(1998)
Windows Me
(2000)
Windows XP
(2001)
WindowsVista
(2007)
Windows7
(2009)
หน้ าทีข่ องระบบปฏิบัตกิ าร
• จัดส่ วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจา ที่เก็บข้อมูลสารอง และเครื่ องพิมพ์
• จัดการงานในส่ วนของการติดต่อกับผูใ้ ช้
• ให้บริ การโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล และการแสดงผล เป็ นต้น
ปกติแล้วโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรี ยกให้เริ่ มต้นทางานผ่านระบบปฏิบตั ิการ
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส (MS - DOS)
• ไมโครซอฟต์ วนิ โดว์
• ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ าย (Network operating System
หรื อ NOS)
• ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่
• ระบบปฏิบัติการแบบเปิ ด (Open Operating System)
ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Programming Language)
• เครื่ องคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ซ่ ึงมีเฉพาะวงจรการเปิ ดและ
ปิ ดกระแสไฟฟ้ า ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้เลขฐานสองเท่านั้น
เรี ยกภาษาทีใ่ ช้ เฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
(Machine Language) การที่มนุษย์จะเรี ยนรู ้ภาษาเครื่ องนั้นยาก
มาก เพราะนาอกจากจะต้องศึกษาถึงอุปกรณ์น้ นั อีกด้วย ซึ่งจะทาให้การใช้
งานคอมพิวเตอร์เป็ นเรื่ องยุง่ ยาก จึงมีผคู ้ ิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ข้ ึนเพื่อทา
หน้าที่ในการติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์กบั มนุษย์ โดยผูใ้ ช้จะ
สามารถติดต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทาง ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Programming Language)
ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
• ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
– ภาษาเครื่ อง (Machine Language)
– ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
• ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
– COBOL , BASIC , FORTRAN , C , Pascal
• ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)
– หรื อเรี ยกว่าภาษายุคที่ 4 เช่น VB, PHP, ASP, VC, C#
• ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)
– หรื อเรี ยกว่าภาษายุคที่ 5 ใช้ ระบบฐานความรู้ (knowledge base
system)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
• ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ น้ นั โปรแกรมเมอร์ จะเขียนโปรแกรมใน
ภาษาคอมพิวเตอร์ แบบต่าง ๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะ
เรี ยกว่า โปรแกรมต้ นฉบับ หรือ ซอร์ สโคด (source code) ซึ่ งมนุษย์จะอ่าน
โปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์ จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์
เข้าใจแต่ภาษาเครื่ อง (Machine Language) ซึ่ งประกอบขึ้นจากรหัสฐาน
สองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาต่าง ๆ ไปเป็ นภาษาเครื่ องโปรแกรมที่แปลจาก
โปรแกรมต้นฉบับแล้วเรี ยกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่ งจะประกอบด้วย
รหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบตั ิได้ต่อไป
ชนิดของตัวแปลภาษา
• แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็ นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซ่ ึงเป็ น
ภาษาระดับต่าให้เป็ นภาษาเครื่ อง
• อินเตอร์ พรีเตอร์ (Interpreter) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็ น
ภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็ นภาษาเครื่ อง โดยใช้หลักการแปล
พร้อมกับงานตามคาสัง่ ทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรม
• คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับ
อินเตอร์พรี เตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็ นออบเจคโคด
ก่อนที่จะสามารถนาไปทางาน
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
( Application Software )
• เป็ นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กบั ผูใ้ ช้ ซึ่งแตกต่างกัน
ไปตามความต้องการของผูใ้ ช้แต่ละคน
• เป็ นโปรแกรมที่ทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถทางานต่าง ๆ ตามที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ
ไม่วา่ งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร
ตลอดจนงานทุก ๆ ด้านตามแต่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ จนสามารถกล่าวได้วา่ ซอฟต์แวร์
ประยุกต์กค็ ือซอฟต์แวร์ที่ทาให้เกิดการใช้งาน คอมพิวเตอร์กนั อย่าง
กว้างขวาง และทาให้คอมพิวเตอร์เป็ นปัจจัยที่ไม่สามารถขาดได้ในยุค
สารสนเทศนี้
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
• ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานเฉพาะด้ าน (Special Purpose
Software)
• ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานทั่วไป (General purpose
Software)
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานเฉพาะด้ าน
• จะมีความเหมาะสมกับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมด้านการคานวณราคา
ค่าน้ าของแต่ละบ้าน จะมีประโยชน์กบั งานด้านการประปา หรื อโปรแกรม
สาหรับฝากถอนเงิน ก็จะมีประโยชน์กบั องค์กรเกี่ยวกับการเงิน เช่น ธนาคาร
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานทั่วไป
• จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสาหรับงานทัว่ ๆ ไป สามารถนามา
ประยุกต์ใช้กบั งานส่ วนตัวได้อย่างหลากหลาย ทาให้เป็ นซอฟต์แวร์ประเภท
ที่ได้รับความนิยมสูงสุ ดในปัจจุบนั ซึ่งส่ วนมากจะเป็ นซอฟต์แวร์ที่ทางานอยู่
ในเครื่ องระดับไมโครคอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์ สาหรับงานทัว่ ไป
• ซอฟต์ แวร์ ตารางวิเคราะห์ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Spreadsheet)
• ซอฟต์ แวร์ ประมวลผลคา (Word processing)
• ซอฟต์ แวร์ การพิมพ์ แบบตั้งโต๊ ะ (Desktop Publishing)
• ซอฟต์ แวร์ นาเสนอ (Presentation Software)
• ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก (Graphic Software)
• ซอฟต์ แวร์ ฐานข้ อมูล (Database)
• ซอฟต์ แวร์ สื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Software)
• ซอฟต์ แวร์ ค้นหาข้ อมูล (Resource Discovery Software)
• ในองค์กรขนาดใหญ่หรื องานที่มีความต้องการเฉพาะด้าน การจัดหา
ซอฟต์แวร์มาใช้งานจะใช้วิธีพฒั นาซอฟต์แวร์ข้ ึนมาเอง หรื อว่าจ้าง
บริ ษทั ซอฟต์แวร์เพื่อทาซอฟต์แวร์เฉพาะงานให้ซอฟต์แวร์ข้ ึนมาใช้
เอง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะเรี ยกว่าซอฟต์ แวร์ เฉพาะงาน (Tailor
Made software) มีขอ้ ดีคือมีความเหมาะสมกับงานและ
สามารถแก้ไขตามความต้องการได้ ข้อเสี ยคือค่าใช้จ่ายสู งและใช้
เวลาสาหรับการพัฒนา ปัจจุบนั นี้จึงมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียน
ขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับงานทัว่ ๆ ไป วางจาหน่ายเป็ นชุดสาเร็ จรู ป
เรี ยกว่าซอฟต์ แวร์ สาเร็จรู ป (Software Package)
บุคลากร (Peopleware)
• เครื่ องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสัง่ ให้เครื่ องทางาน เรี ยกบุคลากร
เหล่านี้วา่ ผูใ้ ช้ หรื อ ยูสเซอร์ (user) แต่กม็ ีบางชนิดที่สามารถทางานได้เอง
โดยไม่ตอ้ งใช้ผคู ้ วบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์กย็ งั คงต้องถูกออกแบบ
หรื อดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ (computer user)
• แบ่งได้เป็ นหลายระดับ เพราะผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์บางส่ วนก็ทางานพื้นฐานของ
คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่ วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่
สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรี ยกกลุ่ม
นี้วา่ เพาเวอร์ยสู เซอร์ (power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้ านคอมพิวเตอร์
• ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional)
หมายถึงผูท้ ี่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและ
ระดับสูง ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู ้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนา
ใช้งาน และประสิ ทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้
อีก
นักเขียนโปรแกรม
• นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็ นผูเ้ ชียวชาญทาง
คอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็ น
เส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
• การพัฒนาและบารุ งรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พฒั นาโปรแกรมประยุกต์
(Application Programmer) เจ้าหน้าที่พฒั นาโปรแกรม
(System Programmer) เป็ นต้น
เจ้ าหน้ าทีบ่ ันทึกข้ อมูล
• ทาการดาเนินงานและจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น การบันทึก
ข้อมูลลงสื่ อ หรื อส่ งข้อมูลเข้าประมวล หรื อควบคุมการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บนั ทึกข้อมูล (Data Entry Operator)
เป็ นต้น
เจ้ าหน้ าทีว่ เิ คราะห์ และออกแบบระบบงาน
• ทาหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst
and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer)
เจ้าหน้าที่จดั การฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็ นต้น
เจ้ าหน้ าทีค่ วบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์
• ทาหน้าที่พฒั นาและบารุ งรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการ
ทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator
ผู้บริหารศูนย์ ประมวลผลข้ อมูลด้ วยคอมพิวเตอร์
• ทาหน้าที่บริ หารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผูบ้ ริ หารศูนย์ประมวลผล
ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็ นต้น
ข้ อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
• ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีขอ้ มูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
งานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็ นประโยชน์ต่อ
ผูใ้ ช้ ซึ้งในปัจจุบนั มีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็ นข้อมูลในการ
ดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิ ทธิภาพ
• ข้ อมูล คือ ได้จากการสารวจจริ ง แต่
• สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผา่ นกระบวนการหนึ่งก่อน
คุณสมบัตขิ องสารสนเทศ
มีความสั มพันธกั
์ น
(relevant)
มีความทันสมัย
(timely)
มีความถูกตอง
้
แมนย
่ า
(accurate)
มีความกระชับ
รัดกุม (concise)
สามารถนามาประยุกตใช
์ ้ได้
อยางเหมาะสมกั
บสถานการณ์
่
ปัจจุบน
ั
ตองมี
ความทันสมัยและพรอมที
่
้
้
จะใช้งานไดทั
่ ตองการ
้ นทีเมือ
้
เมือ
่ ป้อนขอมู
้ ลเขาสู
้ ่ คอมพิวเตอร ์
และผลลัพธที
องถู
กตอง
้
้
้
์ ไ่ ดจะต
ในทุกส่วน
ขอมู
กยนให
้ ลจะตองถู
้
่
้มีความ
ยาวทีพ
่ อเหมาะ
กระบวนการทางาน (Procedure)
• กระบวนการทางานหรื อโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผใู ้ ช้จะต้องทาตาม
เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซ่ ึงผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู ้
การทางานพื้นฐานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่าง
ถูกต้อง
เช่น กระบวนการฝาก-ถอนเงินตู้ ATM
•
•
•
•
•
•
จอภาพแสดงข้อความเตรี ยมพร้อมที่จะทางาน
สอดบัตร และพิมพ์รหัสผูใ้ ช้
เลือกรายการ
ใส่ จานวนเงินที่ตอ้ งการ
รับเงิน
รับใบบันทึกรายการ และบัตร