PRESENTATION NAME - Lampang Rajabhat University

Download Report

Transcript PRESENTATION NAME - Lampang Rajabhat University

รายวิชา 5652302
อัลกอริทมึ และการเขียนโปรแกรม
(Algorithm and Programming)
ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Languages)
Outline
• ความหมายและประเภทของ
ภาษาคอมพิวเตอร์
– ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์
– ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
• ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ควรรู้ จักและใช้ ในการ
จัดการสารสนเทศ
ความหมายของภาษา
ภาษา คือ วิธีการที่มนุษใ์ ช้สื่อสารถึงกัน
ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์
• ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
คือ “คาสั่ งทีใ่ ช้ สั่งให้ คอมพิวเตอร์ ทางาน”
• ผูเ้ ขียนโปรแกรม (Programmer)
– ต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับงาน
– ต้องเข้าใจถึงกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ของคาสัง่
– วิธีการเขียนโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้
ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์
• ปัจจุบนั ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายภาษา และ
หลายรู ปแบบให้เลือกใช้
– เช่น ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล
(COBOL) อาร์พีจี (RPG) เบสิ ก (BASIC) ซี (C)
ซีพลัสพลัส (C++) ปาสคาล (Pascal) วิชวลเบสิ ก
(Visual Basic)
ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์
•
•
•
•
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
ภาษาสั ญลักษณ์ (Symbol Language)
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
ภาษาระดับสู งมาก (Very High Level Language)
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
• เป็ นภาษาเครื่ อง ใช้สัญลักษณ์ 0 และ 1 (คาสั่ งเป็ นตัว
เลขฐานสอง)
• ผูเ้ ขียนต้องมีความรู ้ความชานาญในด้านของฮาร์ดแวร์
• คอมพิวเตอร์แต่ละประเภทที่มีสถาปัตยกรรมแตกต่าง
กัน จะใช้คาสัง่ ภาษาเครื่ องที่แตกต่างกัน
• ภาษาเครื่ องเขียนได้ยากกว่าภาษาอื่น แต่มีความรวดเร็ ว
ในการทางานมากกว่าภาษาอื่น เนื่องจากคอมพิวเตอร์
เข้าใจคาสัง่ ได้โดยตรง ไม่ตอ้ งผ่านการแปล (Compile)
ภาษาสั ญลักษณ์ (Symbol Language)
• เป็ นภาษาที่เริ่ มพัฒนา สัญลักษณ์แทน 0 และ 1 ใน
คาสัง่ ที่ตอ้ งใช้บ่อยๆ ได้แก่ ภาษา Assembly มีตวั แปร
ชื่อว่า Assembler
• เช่น ใช้ IMP แทน รหัส 11000011 ซึ่งหมายถึง JUMP
หรื อให้กระโดดไปทางานที่กาหนด
• ภาษาแอสแซมบลียงั คงเป็ นภาษาที่เฉพาะกับ
โปรเซสเซอร์แต่ละตัวเท่านั้น หากโยกย้ายไปใช้กบั
เครื่ องที่มีโปรเซสเซอร์ไม่เหมือนกันไม่ได้ ต้องเขียน
คาสัง่ ใหม่
ภาษาสั ญลักษณ์ (Symbol Language)
• ภาษาแอสแซมบลี มีความยาว และอ่านยากกว่า
โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา C หรื อ BASIC แต่ทางาน
ได้เร็ ว และใช้เนื้อที่นอ้ ยกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา
อื่น
ภาษาสั ญลักษณ์ (Symbol Language)
• เหตุผลทีต่ ้ องใช้ ภาษาแอสแซมบลีมีเพียง 2 ประการ
– ต้องการเค้ นเอาประสิ ทธิภาพทั้งหมดที่
โปรเซสเซอร์ มีออกมาให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
(โปรแกรมภาษาแอสแซมบลี มักจะทางานได้
รวดเร็ วกว่าภาษาระดับสูงที่ทางานแบบเดียวกัน)
– เพื่อเพิม่ ความสามารถในการเข้ าใช้ งานฮาร์ ดแวร์ ที่มี
คุณสมบัติเฉพาะ ซึ่งภาษาระดับสูงทาไม่ได้
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• เป็ นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เต็มรู ปแบบ
• คาสั่ งเป็ นรูปแบบของอักษรภาษาอังกฤษ ใกล้เคียงกับ
ข้ อความในภาษามนุษย์ (อังกฤษ)
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• องค์ ประกอบหลักของ
ภาษาระดับสู ง
– คาศัพท์
(Vocabulary /
Keyword) อาจอยู่
ในรู ปคาศัพท์
เฉพาะ ในรู ปของ
ฟังก์ชนั หรื อ
Procedure
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• องค์ ประกอบหลักของภาษาระดับสู ง
– ไวยากรณ์ (Syntax) การนาคาศัพท์มาเขียนคาสัง่
จะอยูใ่ นรู ปประโยคคาสัง่
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• องค์ ประกอบหลักของภาษาระดับสู ง
– โครงสร้ างภาษา (Structure) เมื่อนาภาษาไปเขียน
โปรแกรม โครงสร้างของโปรแกรมเป็ นอย่างไร
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• องค์ ประกอบหลักของภาษาระดับสู ง
– ตัวแปลภาษา (Translator) เพื่อให้คอมพิวเตอร์
เข้าใจและทาการประมวลผลได้
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• องค์ ประกอบหลักของภาษาระดับสู ง
– ตัวแปลภาษาสามารถแบ่งตามลักษณะการแปลได้
ดังนี้
• แอสเซมเบลอ (Assembler) ใช้แปลภาษา
Assembly
• อินเทอพรีเตอร์ (Interpreter) ใช้หลักการแปล
ในขณะทางาน เป็ นการแปลทีละประโยค
• คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นการแปลทั้ง
โปรแกรม ผลการแปลทั้งฉบับเราเรี ยกว่า ออบเจ็ค
โคด (Object code)
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction Code) เพื่อใช้ในการเรี ยนการ
สอน เพื่อฝึ กทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมการ
ทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลังจากระบบปฏิบตั ิ
วินโดวส์ ซึ่งติดต่อกับผูใ้ ช้แบบกราฟิ ก (GUI :
Graphic User Interface) ได้รับความนิยม และเป็ นที่
แพร่ หลาย บริ ษทั ไมโครซอฟต์จึงพัฒนาภาษาวิชวล
เบสิ กขึ้นแทน
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาเบสิก (BASIC : Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction Code)
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN : FORmula
TRANslation) ใช้แก้ปัญหางานทางวิทยาศาสตร์
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาโคบอล (COBOL : COmmon Business
Oriented Language ) ภาษาที่เน้นคาสัง่ ด้านการพิมพ์
รู ปแบบรายงาน เพื่อใช้ในงานทางธุรกิจ
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาปาสคาล (Pascal) ใช้ในงานด้านการคานวณ
ทัว่ ไป ทั้งงานทางวิทยาศาสตร์ ธุรกิจ หรื อวิศวกรรม
พัฒนาในยุค 1970 ตอนต้น
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาเอดา (Ada) เป็ นภาษาที่สร้างให้เกียรติแก่ นาง
ออกัสตา เอดา ใช้เป็ นภาษาหลักในงานทางทหาร
ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
• ตัวอย่ างของภาษาระดับสู ง
– ภาษาซี (C) ใช้ในงานด้านการคานวณทัว่ ไป ทั้งงาน
ทางวิทยาศาสตร์ ธุรกิจ หรื อวิศวกรรม เช่นเดียวกับ
ภาษาปาสคาล นิยมใช้กบั ระบบปฏิบตั ิการยูนิกส์
(UNIX)
ภาษาระดับสู งมาก
(Very High Level Language)
• เป็ นภาษายุคที่ 4 (Fourth Generation Language =
4GLs) ผูเ้ ขียนเพียงกาหนดความต้องการว่าจะให้
โปรแกรมทาอะไรบ้าง โดยไม่ตอ้ งรู ้วา่ ทาอย่างไร
• เช่น ภาษา SQL (Structured Query Language) และ
ภาษา QBE (Query By Example)
แนวทางการเขียนโปรแกรม
• การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้ าง (Structured
Programming or Function Oriented Programming )
• การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented
Programming :OOP)
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้ าง
• เป็ นการเขียนโปรแกรมแบบแยกการทางานเป็ นโมดูล
หรื อฟังก์ชนั แล้วนามารวมกันเป็ นโปรแกรมระบบงาน
การเขียนโปรแกรมแบบนี้ เป็ นการสัง่ ให้คอมพิวเตอร์
ทางานเป็ นลาดับของคาสัง่
• ได้รับความนิยมเนื่องจากเขียนโปรแกรมได้ง่ายและ
รวดเร็ ว
• เก็บข้อมูลเป็ นไฟล์หรื อฐานข้อมูลแยกกันกับโปรแกรม
• ข้ อจากัด คือ ถ้าใช้งานไปนานๆ การนาโปรแกรมมา
พัฒนาต่อนั้นทาได้ยาก
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
• เป็ นการเขียน โปรแกรมที่รวมข้อมูลและชุดคาสัง่ เข้า
ไปไว้ดว้ ยกัน เรี ยกว่า “ออบเจ็กต์” (object)
• การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุไม่ตอ้ งเริ่ มต้นเขียน
โปรแกรมใหม่ เพียงนาชุดคาสัง่ หรื อ “ออปเจ็กต์” เดิม
มาใส่ ชุดของรหัสคาสัง่ ที่จะทาให้ “ออปเจ็กต์” ทางาน
ตามรู ปแบบใหม่ที่ตอ้ งการ โปรแกรมก็จะทางานได้
ทันที ถือว่าเป็ นความคล่องตัว (Reusable)
ภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
• เป็ นภาษารุ่ นใหม่ที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายในปัจจุบนั
มีลกั ษณะการทางานเชิงวัตถุ มีระบบช่วยเหลือต่างๆ
มากมาย
• เช่น JAVA, Visual Basic, Visual FoxPro, C++ เป็ นต้น
ตัวอย่ างภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ทีน่ ิยมใช้ งานในปัจจุบัน
• ภาษาวิชวลเบสิ ก (Visual Basic)
– พัฒนาโดยบริ ษทั ไมโครซอฟท์ ใช้พฒั นา
โปรแกรมเชิงวัตถุได้โดยง่าย เพราะมีคาสัง่ ใน
รู ปแบบของเครื่ องมือช่วยงาน (Tools) ที่เป็ น
ออบเจ็กต์ (Object) ต่างๆ ให้เลือกใช้ได้โดยง่าย
เพียงเขียนรหัสคาสัง่ เพื่อให้ออบเจ็กต์ทางาน
– ปัจจุบนั มีการพัฒนาจนถึงรุ่ น .NET ที่ทางานได้ดี
ในระบบปฏิบตั ิการ 64 บิต WindowsXP, 2000,
2003
ตัวอย่ างภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ทีน่ ิยมใช้ งานในปัจจุบัน
• ภาษาวิชวลเบสิ ก (Visual Basic)
Private Sub Timer1_Timer()
Text1 = Format(Time, "long time")
End Sub
ตัวอย่ างภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ทีน่ ิยมใช้ งานในปัจจุบัน
• ภาษาซีพลัสพลัส (C++ language)
– เป็ นภาษาซีรุ่นที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมา โดยเพิม่
คุณสมบัติการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเข้าไป
(object-oriented)
– เริ่ มเป็ นที่นิยมเพราะโปรแกรมซีเรี ยนรู ้ได้ง่าย ใช้
งานเชิงวัตถุได้ จึงทาให้เขียนโปรแกรมในโครงการ
ขนาดใหญ่ได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่ างภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ทีน่ ิยมใช้ งานในปัจจุบัน
• ภาษาจาวา (Java)
– พัฒนาโดย บริ ษทั ซัน ไมโครซิสเต็มส์
– จุดประสงค์ ให้สามารถทางานได้กบั ระบบการ
ทางานของเครื่ องทุกชนิด ทุกระบบปฏิบตั ิการ ทา
ให้จาวามีจุดเด่นที่เหนือกว่าภาษาอื่นๆ
– สามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์
ประเภทฝัง เช่น ระบบโทรศัพท์
– ปัจจุบนั พัฒนาเป็ นโปรแกรมที่ใช้งานผ่านเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่ หลาย
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษา Assembly
– รู ปแบบคาสัง่ เป็ นสัญลักษณ์อกั ษรภาษาอังกฤษ
และการใช้งานเลขฐานอื่นๆ คือ เลขฐานแปด
เลขฐานสิ บหก และเลขฐานสิ บ(ไม่ใช่เลขฐานสอง)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษา Assembly
– ข้ อดี: เหมาะกับการเรี ยนการสอนระบบการทางาน
ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของคอมพิวเตอร์ ฝึ ก
ทักษะการเขียนคาสัง่ ควบคุมการทางานของ
อุปกรณ์
– ข้ อจากัด: ต้องจดจาสัญลักษณ์เฉพาะที่ใช้แทนคาสัง่
ต่างๆ ต้องมีพ้นื ฐานความรู ้ดา้ นอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อ
เปลี่ยนเครื่ องใช้งาน ต้องปรับรู ปแบบการเขียน
คาสัง่ ไปตามชนิดของเครื่ องด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN Language)
– เป็ นภาษาระดับสูง ใช้ในช่วงแรกของการมีเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ใช้งานแพร่ หลาย ใช้เขียนคาสัง่ งาน
เพื่อควบคุมการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ ที่เรี ยกว่า เมนเฟรม (Mainframe
Computer)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN Language)
– ข้ อดี : มีคาสัง่ งานเน้นประสิ ทธิภาพด้านงาน
คานวณ เหมาะสาหรับเขียนคาสัง่ ควบคุมการ
ทางานของอุปกรณ์เครื่ องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม
– ข้ อจากัด : หากมีการปรับเปลี่ยนเครื่ องประมวลผล
เป็ นเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ รู ปแบบคาสัง่ ที่ตอ้ ง
ปรับเปลี่ยนรู ปแบบคาสัง่
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาเบสิ ค (Basic Language)
– เป็ นภาษาระดับสูงที่พฒั นาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการใช้
ภาษาฟอร์แทรน ที่ตอ้ งการใช้งานกับเครื่ อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการเรี ยนการสอน
สาหรับห้องเรี ยน เพื่อฝึ กทักษะการเขียน
โปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ให้สามารถเขียนคาสัง่ งานง่ายขึ้น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาเบสิ ค (Basic Language)
– ข้ อดี : คาสัง่ มีรูปแบบการใช้งานง่าย และสั้น นาไป
ประยุกต์พฒั นาระบบงานคานวณทัว่ ไป งานทาง
ธุรกิจ หรื อด้านวิทยาศาสตร์ เหมาะสาหรับผูเ้ ริ่ มฝึ ก
ทักษะการเขียนโปรแกรมในขั้นเบื้องต้น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาเบสิ ค (Basic Language)
– ข้ อจากัด : ประสิ ทธิภาพการทางานของคาสัง่ งานมี
ไม่มาก หากเทียบกับภาษาอื่น และลักษณะของ
ภาษามีรูปแบบของโปรแกรมลักษณะที่เรี ยกว่า “ไม่
เป็ นโครงสร้าง” ไม่เหมาะสมในการนาไปใช้ใน
การเขียนโปรแกรมระบบงานฐานข้อมูล
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาโคบอล (Cobal Language)
– เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงยุคแรกๆ ที่มีการ
เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง (Structure Program)
เน้นการนาไปเขียนคาสัง่ ควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรม และมินิ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาโคบอล (Cobal Language)
– ข้ อดี : เหมาะสมในการนาไปใช้พฒั นาระบบงาน
ทางธุรกิจที่ตอ้ งใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
โดยเฉพาะระบบงานที่ตอ้ งมีการพิมพ์รายงานเป็ น
ประจา หรื อใช้กบั ระบบการทางานที่มีการเชื่อม
ประสานการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์หลาย
ตัว
– ข้ อจากัด : ไม่เหมาะกับการใช้ในเครื่ อง
ไมโครคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาปาสคาล (Pascal Language)
– เป็ นภาษาระดับสูงภาษาหนึ่งที่ได้รับการพัฒนามา
อย่างต่อเนื่อง ใช้กบั เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ได้
นิยมนาไปใช้ในการพัฒนาระบบงานทัว่ ไปอย่าง
กว้างขวาง มีการเขียนคาสัง่ งานที่ง่าย ใช้เวลาน้อย
ในการศึกษาวิธีการเขียนคาสัง่ งาน
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาปาสคาล (Pascal Language)
– ข้ อดี : เป็ นภาษาโครงสร้าง ทาให้ง่ายในการศึกษา
เหมาะสาหรับงานทัว่ ไป ทั้งด้านธุรกิจ การคานวณ
ทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม จึงนิยมนาไปใช้ในการ
เรี ยนการสอนสาหรับผูเ้ ริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
– ข้ อจากัด : เมื่อนาไปเปรี ยบเทียบกับภาษาโปรแกรม
เชิงวัตถุ การพัฒนาระบบงานเป็ นลักษณะที่ยาก
และไม่เหมาะสม รวมทั้งต้องใช้เวลาในการ
ดาเนินงานมากกว่า
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาซี (C Language)
– เป็ นภาษาระดับสูงที่มีลกั ษณะโปรแกรมแบบเป็ น
โครงสร้าง ที่ได้รับการนิยมนาไปใช้ในงานพัฒนา
ระบบงานอีกภาษาหนึ่ง เพราะมีคาสัง่ ในการเข้าถึง
การทางานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของ
คอมพิวเตอร์โดยตรง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาซี (C Language)
– ข้ อดี : มีคาสัง่ ควบคุมการทางานที่เข้าถึงอุปกรณ์
ของคอมพิวเตอร์โดยตรง มีคาสัง่ สามารถใช้งาน
เชื่อมโยงกับโปรแกรมแอสแซมบลีได้ จึงเป็ นส่ วน
หนึ่งของประสิ ทธิภาพการทางานของภาษาซี ให้
สามารถประมวลผลได้เร็ ว เหมาะสาหรับผูม้ ีอาชีพ
ผลิตซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาซี (C Language)
– ข้ อจากัด : มีคาสัง่ บางคาสัง่ ที่คล้ายภาษาสัญลักษณ์
จึงยากในการจดจา มีรายละเอียดปลีกย่อยของ
กฎเกณฑ์การใช้งานคาสัง่ มาก ไม่เหมาะสาหรับผู ้
เริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
ตัวอย่างเช่น Visual Basic, Delphi, JAVA, C++
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
– ข้ อดี : มีลกั ษณะการเขียนโปรแกรมแบ่งเป็ น
ส่ วนย่อย หรื อเรี ยกว่า “โมดูล” (Module) มี
เครื่ องมืออานวยความสะดวก ที่เรี ยกว่า “ทูล”
(Tool) ผูพ้ ฒั นาโปรแกรมสามารถคลิกเพื่อเลือก
คาสัง่ งานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ ว ไม่ตอ้ งจดจา
คาสัง่ เพื่อพิมพ์ที่จอภาพ และคาสัง่ งานเอื้อต่อการ
แสดงผลลักษณะกราฟิ กได้อย่างสวยงาม และมี
ประสิ ทธิภาพ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทคี่ วรรู้จัก
และใช้ ในการจัดการสารสนเทศ
• ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
– ข้ อจากัด : คาสัง่ งานเชิงกราฟิ ก ทาให้คาสัง่ มี
ข้อความการสัง่ งานที่ยาวมาก รายละเอียดรู ปแบบ
การนาคาสัง่ งานไปใช้งานมีมาก และหลายลักษณะ
การวิเคราะห์ระบบงานพัฒนาโปรแกรมเปลี่ยนไป
เป็ นการมองเชิงวัตถุ ผูใ้ ช้ควรมีพ้นื ฐานความรู ้ใน
ทักษะการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงมา
ก่อน
การพิจารณาเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อ
พัฒนาเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการสารสนเทศ
มีขอ้ เสนอแนะ คือ
• หากพัฒนาระบบงานในลักษณะของงานคานวณ ควร
เลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทภาษาระดับสูง ที่มี
ลักษณะเป็ นภาษาโครงสร้าง เช่น ภาษาซี ภาษา
ปาสคาล
• หากระบบงานในลักษณะฐานข้อมูล การแสดงผลเชิง
กราฟิ ก ควรเลือกใช้ภาษาประเภทโปรแกรมเชิงวัตถุ
เช่น ภาษาวิชวลเบสิ ก เพราะมีคาสัง่ ให้เลือกใช้งานได้
อย่างสะดวก และรวดเร็ ว
การพิจารณาเลือกใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อ
พัฒนาเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการสารสนเทศ
มีขอ้ เสนอแนะ คือ
• การจะพิจารณาเลือกใช้ภาษา คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนา
ระบบงานใดก็ตาม สิ่ งทีต่ ้ องพิจารณาเป็ นอันดับแรก
คือ ความสามารถของผู้พฒ
ั นาโปรแกรมที่สามารถใช้
งานภาษานั้นๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพด้วย