จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)

Download Report

Transcript จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)

บทที่ 2
เทคโนโลยีการแสดงผล
และจัดเก็บข้ อมูลมัลติมเี ดีย
อ.ชนิดา เรืองศิริวฒ
ั นกุล
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
เทคโนโลยีทใี่ ช้แสดงผล
มัลติมเี ดีย
จอภาพซีอาร์ ที (Cathode Ray Tube : CRT)
จอภาพพลาสม่ า (Plasma Display Panel : PDP)
จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)
จอภาพแอลอีดี (Light Emitting Diode: LED)
การ์ ดแสดงผล (Video Adapter Card)
เทคโนโลยีที่ใช้ แสดงผลมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีจอภาพ (Monitor) แสดงผล
จอภาพ
จอแบบ CRT
จอขาวดา
Monochrome CRT
จอแบบ LCD
จอสี
Color CRT
จอโค้ ง
จอแบน
จอภาพซีอาร์ ที (Cathode Ray Tube : CRT)
โครงสร้ างและหลักการทางาน

จอซีอาร์ ที (CRT : Cathode Ray Tube) เป็ น
จอภาพที่ทางานโดยใช้เทคโนโลยีหลอดภาพที่
เรี ยกว่า “หลอดรังสี แคโทด” เป็ นหลอดแก้ว
สุ ญญากาศ
ใช้หลักการยิงลาแสงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในของจอภาพ ผิวของ
จอภาพดังกล่าวจะฉาบด้วยสารเคมีที่เรี ยกว่า “ฟอสเฟอร์” ทาให้ตาแหน่งที่
มีอิเล็กตรอนวิ่งมาชนเกิดแสงสว่างขึ้น โดยมีขดลวดที่ทาให้ลาแสงหักเห
ไปตามนามตั้งและแนวนอน ทาให้เกิดแสงสว่างที่แต่ละจุดทาให้เห็นเป็ น
ภาพ โดยเรี ยกจุดบนจอภาพว่า “พิกเซล(Pixel)”
จอภาพซีอาร์ ที (Cathode Ray Tube : CRT)
โครงสร้ างและหลักการทางาน

จอซี อาร์ที (CRT :Cathode Ray Tube)
การกวาดลาแสดงอิเล็กตรอนแบบ Raster Scanning
พิกเซลและลาแสงอิเล็กตรอนประกอบด้วย 2 สถานะคือ สถานะ ON ซึ่ง
จะทาให้พิกเซลสว่าง และเมื่อพิกเซลไม่ถูกยิงโดยลาแสงอิเล็กตรอนจะมี
สถานะเป็ น OFF ทาให้จุดบนหน้าจอมืด
การกวาดลาแสดงอิเล็กตรอนแบบ Raster Scanning
การกวาดลาแสดงอิเล็กตรอนแบบ Raster Scanning
Raster Scan Display
เฟรมเรต (Frame rate) และอัตรารีเฟรช (Refresh rate)
• เฟรมเรต (Frame rate) คือ อัตราการแสดงผลบนหน้าจอใน 1 วินาที มี
หน่วยเป็ นเฟรมต่อวินาที (fps)
• อัตรารีเฟรช (Refresh rate) คือ จานวนครั้งในการแสดงภาพบน
หน้าจอใน 1 วินาที โดยคานวณจากการกวาดของลาแสงอิเล็กตรอน
(Raster scanning) ใน 1 วินาที ถ้าอัตรารี เฟรชต่าจะทาให้จุดบนจอภาพมี
ความสว่างลดลงก่อนถูกยิงด้วยลาแสงอิเล็กตรอนซ้ า ส่ งผลให้ภาพเกิดการ
สัน่ โดยทัว่ ไปมีหน่วยเป็ นเฮิร์ต (Hz) โดยทัว่ ไปจอภาพจะมีอตั รารี เฟรช
60-70 Hz
อัตรารีเฟรช (Refresh rate)
อัตรารีเฟรช (Refresh rate)
•Interlaced คือการแสดง(สร้าง)ภาพแบบสลับเส้น เกิดจากการ
Scan ให้เกิดภาพ 2 รอบ โดยที่รอบแรกจะ Scan เส้นคู่ คือ
2,4,6... รอบที่สองจะ Scan เส้นคี่คือ 1,3,5...
•Non-Interlaced คือ Scan ภาพแบบต่อเนื่อง เรี ยงจากเส้นที่ 1
จนจบจอภาพ
อัตรารีเฟรช (Refresh rate)
เฟรมเรต (Frame rate) และอัตรารีเฟรช (Refresh rate)
การสแกนภาพในลั ก ษณะซ้ าๆ ท าให้ ม นุ ษ ย์ ม องเห็ น เป็ น
ภาพต่อเนื่ องบนจอภาพได้ โดยภาพที่ตามนุ ษย์มองเห็นจะค่อยๆ เลือนไป
ปรากฏการณ์น้ ีเรี ยกว่า “Persistence of Vision” เช่น Animation เกิดจาก
การนาภาพมาซ้อนกันด้วยความเร็ ว หลายๆฉาก หรื อเรี ยกว่า Frame [FPS :
frame per second] เช่น 1 ฉากมี 24 เฟรม/วินาที โดยการที่เราเห็นภาพ
เคลื่อนไหว นั้นเกิ ดจากสายตาของเรา ส่ งผ่านไปยังสมองทาให้เกิ ดภาพ
ลวงตา ที่เรี ยกว่า Persistence of vision
จอภาพสีซีอาร์ ที (Color CRT)
•
•
•
ใช้หลักการทางานของจอภาพเหมือนกับจอภาพโมโนโครมซีอาร์ที แต่
ฟอสเฟอร์ของจอภาพจะมีสามสี คือ สี แดง สี เขียว และสี น้ าเงิน เรี ยกว่า
“อารีจีบี (RGB)”
ใช้จุดของฟอสเฟอร์สามสี ในแต่ละตาแหน่งของพิกเซล โดยจุดของ
ฟอสเฟอร์หนึ่งเปล่งสี แดง อีกจุดเปล่งสี เขียว และอีกจุดเปล่งสี น้ าเงิน
จอภาพแบบนี้จะใช้ปืนยิงอิเล็กตรอน 3 กระบอก แสงที่เปล่งออกมาจาก
ฟอสเฟอร์ท้ งั สามสี ทาให้เกิดสี เป็ นจุดเล็ก ๆ ในแต่ละตาแหน่งของ
พิกเซล
จอภาพสีซีอาร์ ที (Color CRT)
หลักการปื นอิเล็กตรอนแม่ สีแสง RGB
จุดสี ของจอภาพจะใช้ความเข้มของลาแสงอิเล็กตรอนที่ต่างกันเป็ นตัวผสมแม่สี
คณ
ุ สมบัติทสี่ าคัญของจอภาพ
• ความละเอียดของจอภาพ Resolution (pixel)
• อัตรารีเฟรช Refresh Rate (Hz)
• จานวนสี ทจี่ อภาพใช้ แสดงผล Color Depth (bit)
• ระยะหางระหว
างจุ
ดแตละจุ
ดที่
่
่
่
แสดงผล Dot pitch (mm)
• ขนาดของจอภาพ Size (inches)
ความละเอียดของจอภาพ Resolution (pixel)
Resolution คือ จานวนจุดทีแ่ สดงได้ บนหน้ าจอ หากจอภาพ
สามารถกาหนดความละเอียดได้ สูง การแสดงผลก็จะมีความละเอียดมาก
ขึน้ แต่ ตัวอักษรบนจอภาพจะมีขนาดเล็กลงเช่ น 800x600 หรือ
1024x768
จานวนสีทจี่ อภาพใช้ แสดงผล Color Depth (bit)
Color Depth หมายถึง จานวนสี ที่จอภาพสามารถใช้ แสดง
ผลได้ โดยจอภาพทีม่ ี Color Depth ขนาด 8 บิต สามารถแสดงผลได้ 256
สี โดยทัว่ ไปจอภาพทีใ่ ช้ ปัจจุบันจะมีจานวนสี อยู่ 24 บิต หรือ 16.7 ล้านสี
เรียกว่ า “จอภาพทรูคลั เลอร์ (True color monitor”)
Bit-Depth
2
4
จานวนสี สูงสุ ด
4 ( CGA )
16 ( EGA )
8
16
256 ( VGA )
65,536 ( High Color, XGA )
24
16,777,216 ( True Color , SVGA )
16,777,216
( True Color + Alpha Channel )
32
ระยะห่ างระหว่ างจดุ แต่ ละจดุ ทีแ่ สดงผล Dot pitch (mm)
Dot pitch คือระยะห่างระหว่างพิกเซล หรื อระยะห่างระหว่างจุดสี ถ้าระยะห่าง
น้อย ด็อดพิชมีขนาดเล็ก ภาพจะคมชัดยิง่ ขึ้น โดยปกติความละเอียดจะอยูท่ ี่
ประมาณ 0.25 mm ถึง 0.4 mm
ขนาดของจอภาพ Size (inches)
• ขนาดของจอภาพปัจจุบนั นิยมขนาด 15 นิว้
หรือ 17 นิว้ ขึน้ ไป
• ขนาดของจอภาพ จะเป็ นค่ าโดยประมาณ
มีหน่ วยเป็ นนิว้ โดยวัดจากเส้ นทแยงมุมด้ าน
บนสุ ดของกรอบจอ ไปยังมุมล่างฝั่งตรงข้ าม
ของกรอบจอ
•
ดังนั้น จอภาพบางจอ ทีผ่ ู้ผลิตบอกว่ าเป็ นขนาด 17 นิว้ อาจจะมีพนื้ ที่
แสดงผล เท่ ากับจอขนาด 15 นิว้ บางยีห่ ้ อก็ได้
จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)
จอแอลซีดี (LCD Monitors)
อาศัยการทางานของโมเลกุลชนิดพิเศษ
ทีเ่ รียกว่ า “ผลึกเหลว (liquid crystal)”
สามารถจัดการกับรังสี ของแสงได้
โดยตรง
 มีคุณสมบัติกา้ กึง่ ระหว่ างของแข็ง และของเหลว ทีอ่ ุณหภูมิห้องผลึก
เหลวจะอยู่ในสถานะของเหลว แต่ เมื่อมีแสงผ่ านมา จะเกิดการจัดเรียง
โมเลกุลใหม่ ทมี่ ีคุณสมบัติเป็ นของแข็งแทน เมื่อแสงผ่ านไปเรียบร้ อย
แล้ว จะกลับมา มีคุณสมบัติเป็ นของเหลวเหมือนเดิม
 มีขนาดบางและสะดวกในการเคลือ
่ นย้ าย เหมาะกับอุปกรณ์ พกพา
 ไม่ เปลืองพืน
้ ทีส่ าหรับการทางาน
 ปั จจุบันยังมีราคาทีแ
่ พงกว่ าจอแบบซีอาร์ ทมี าก

จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)
• การทางานของจอภาพ LCD (Liquid Cystal isplay)
จอภาพ LCD (Liquid Cystal isplay) มีหลักการทางานคือ ภายในจะมี
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ทาหน้าที่ใช้แสงสว่างออกมาผ่านชั้นของผนึกเหลวที่
เรี ยกว่า Liquid Crystal เป็ นผลึกแข็งกึ่งเหลว 3 สี ได้แก่ สี แดง น้ าเงิน เขียว
ผ่าน polarizer เพื่อให้แสงในแนวต่างๆ ผ่านมาตามการบิดตัวของแสงโดยผ่าน
ฟิ ลเตอร์ สี อีกชั้นหนึ่ง ทาให้เกิดเป็ นจุดสี แดงต่อเนื่องกัน ออกมาเป็ นภาพสี บน
หน้าจอ
จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)
• จุดเด่นของ LCD แอลซีดี ก็คือ ลดแสงสะท้อนที่เกิดจากเงา เหมาะกับการ
วางในห้องนัง่ เล่น ห้องที่มีแสงมาก และเหมาะสมอย่างยิง่ ในการนาไป
เป็ นจอของคอมพิวเตอร์
• ภาพของจอ LCD แอลซีดี นั้นเหมาะกับกราฟฟิ คประเภท การ์ตูน สารคดี
และละครมากกว่าประเภทอื่นๆ
• จุดด้อยของ LCD แอลซีดี ก็คือ ไม่สามารถแสดงภาพเคลื่อนที่เร็ วๆ ได้ดี
เท่าพลาสมา Plasma และมีความเพี้ยนของสี เกิดขึ้นโดยเฉพาะสี แดง โทน
สี ผวิ สี ของท้องฟ้ า และทะเล เป็ นต้น
จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)

จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) เทคโนโลยีจอ LCD ใน
ปัจจุบนั จะมี 2 แบบคือ
 Passive Matrix
 Active Matrix
จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)


Active Matrix Display อาศัยหลักการทางานของ TFT (thin film
transistor) เป็ นจอภาพที่ให้มุมมองที่กว้าง มีความสว่างและความคมชัดสู ง ซึ่ ง
หน้าจอแบบ TFT นี้ ปกติจะพบได้ในอุปกรณ์ราคาแพง เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค
หรื อกล้องดิจิตลั จอ TFT จะใช้พลังงานในการทางานค่อนข้างมาก ซึ่ งส่ งผลทา
ให้จานวนครั้งในการชาร์ จ และเปลี่ยนแบตเตอรี่ สูงตามไปด้วย
Passive Matrix เรียกอีกอยางหนึ
่งว่า STN (Super Twist Nematic) จุด
่
ด้อยของจอภาพแบบ Passive-matrix คือจะให้แสงสว่างน้อยเมื่อเทียบกับ activematrix และมุมทีม
่ องก็มข
ี อจ
้ ากัด และตอบสนองขอน
้
ขางช
ั หาในการดูภาพทีเ่ คลือ
่ นไหวเร็ว
้
้า ทาให้มีปญ
ๆ หรือแมแต
อยางรวดเร็
ว เป็ นจอเกรดต่ากว่า
้ การกดเมนู
่
่
แบบแรก แต่ทาความสะอาดเช็ดถูได้ง่ายและปลอดภัยกว่าจอภาพแบบแรก
จอภาพพลาสม่ า (Plasma Display Panel : PDP)
•
•
•
•
•
จอพลาสมา (Plasma Panel) หรื อบางครั้งเรี ยกจอแบบนี้วา่ จอ gasdischarge เป็ นจอที่สร้างโดยการใส่ ส่วนผสมของแก็สกับนีออนเข้าไป
ในส่ วนที่เป็ นช่องว่างระหว่างแผ่นแก้ว 2 แผ่น
ระหว่างแผ่นแก้ว 2 แผ่นจะประกอบด้วยจุดหรื อพิกเซลที่ใช้แสดงผล
จานวนมาก และภายในแต่ละจุดประกอบด้วยจุดย่อย (Subpixel) 3 จุดที่
บรรจุก๊าซนีออน
ก๊าซในเซลล์เหล่านี้เมื่อถูกกระตุน้ ด้วยแรงดันไฟฟ้ าจะเกิดการไอออน
ไนซ์ข้ ึนทาให้ก๊าซแตกประจุและปล่อยแสงอุลตราไวโอเล็ตออกมา สาร
เรื องแสงจะดูดซับอุลตราไวโอเล็ตและสร้างสี ที่มองเห็นได้ดว้ ยตา ทา
ให้เรามองเห็นเป็ นภาพได้
ใช้สารฟอสเฟอร์เพื่อควบคุมสี แดง เขียว น้ าเงิน
มีขนาดใหญ่และคมชัดกว่าจอ LCD และมีราคาแพงกว่า
จอภาพพลาสม่ า (Plasma Display Panel : PDP)
โครงสร้างของจอพลาสมา
ตัวอย่างจอพลาสมาที่นามาใช้งาน
จอภาพพลาสม่ า (Plasma Display Panel : PDP)
•
•
จุดเด่น ของจอพลาสมา (Plasma) คือสามารถแสดงภาพเคลื่อนที่เร็ วๆ
ได้ดีกว่าจึงเหมาะกับการรับชมภาพยนตร์แอคชัน่ (Action)และการชม
กีฬาเป็ นอย่าง มาก เพราะสามารถแสดงระดับพื้นสี ดาได้ดีกว่า มี
คอนทราสต์(Contrast) ที่สูงกว่า ทาให้มองเห็นมิติของภาพได้ดีกว่า มี
มุมมองของจอภาพที่กว้างกว่า LCD และให้สีที่ถูกต้องเป็ นธรรมชาติ
มากกว่า สี ออกอบอุ่น
จุดด้อย คือ ไม่เหมาะสาหรับห้องที่มีความสว่างสูง เช่น ห้องนัง่ เล่น
หรื อกลางแจ้ง หรื อหน้ากระจก เนื่องจากอาจเกิดการสะท้อนเป็ นเงาได้
และยังกินไฟมากกว่าทั้งจากตัวทีวีเอง และนอกจากนี้ยงั ทาให้การ
ทางานของเครื่ องปรับอากาศมากขึ้น เพราะพลาสมาทีวีมีความร้อน
ออกจากตัวเครื่ องมากกว่า
จอภาพแอลอีดี (Light Emitting Diode)
เป็ นจอผลึกแข็งกึง่ เหลว ใช้ หลอดไฟขนาดจิ๋วแต่ แจ๋ วทีว่ างเรียงกันอยู่ทหี่ ลังจอ การ
วางเรียงแยกได้ อกี 3 แบบคือ วางเฉพาะขอบ, วางเต็ม, และวางเป็ นกลุ่ม ซึ่งใช้
หลอด LED เป็ นตัวกาเนิดแสง และมี Liquid Crystal เป็ นผลึกแข็งกึง่ เหลว 3 สี
R=Red G=Green B=Blue คอยบิดตัวเป็ นองศาเพือ่ ให้ แสงจากหลอด LED ส่ อง
ลอดผ่านออกมาเป็ นสี สันต่ างๆ พัฒนาต่ อยอดมาจาก พลาสมาและแอลซีดี
ข้ อดี - กินไฟน้ อยกว่ า, เป็ นมิตรกับธรรมชาติ (ไม่ มีสารปรอท), ความเข้ มของภาพ
ชัดเจน, สี สันดีกว่ า
ข้ อเสี ย - ราคาแพง
จอภาพแอลอีดี (Light Emitting Diode)
จุดเด่น ของการใช้จอแอลอีดี LED ก็คือ การแสดงแสงที่สว่างสดใส
มากกว่า มีความคมชัดมากกว่า ทางานเร็ วและประหยัดไฟมากกว่า
น้ าหนักเบากว่า สามารถมองจากมุมมองด้านต่างๆได้ท้ งั สี่ ดา้ นของจอ
แม้วา่ จะมองมุมไหน ก็ยงั สามารถเห็นภาพที่คมชัดและสมจริ งได้อยูด่ ี
นัน่ เอง
High Definition Television
What are HDTVs ? (บริการส่ งสัญญาณโทรทัศน์ ประเภทภาพความคมชัดสู ง )
 HDTV ย่อมาจาก High Definition Television
 เป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่ทาให้ภาพสัญญาณโทรทัศน์มีความคมชัดสู ง
 มีวธิ ี การแบ่งช่องสัญญาณแบบใหม่ เทคโนโลยีในการเข้ารหัสสัญญาณแบบใหม่
และวิธีการส่ งสัญญาณแบบใหม่
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
OLED (Organic Light-Emitting Diode) เป็ นเทคโนโลยีที่ถกู นามาใช้ในการ
แสดงผลแบบดิจิตอล ผูใ้ ช้มกั จะพบ OLED ที่มีชื่อเรี ยกในการตลาดว่า AMOLED
ซึ่ ง "AM" มาจากคาว่า Active Matrix จอแสดงภาพแบบ OLED นั้นแบ่งตามชนิด
ได้ 2 ประเภทคือ
Passive matrix OLED Displays (PMOLED) มักพบในจอ PDA แบบเก่าและ
เครื่ องเล่น MP3 ขนาดเล็ก จอมือถือใหม่ๆ
Active matrix OLED Displays (AMOLED) ถูกนาไปใช้ในสมาร์ทโฟนและ
แท็บเล็ตในปั จจุบนั หลายๆ รุ่ น ภายในมีลกั ษณะเป็ นแผ่นฟิ ล์มบาง มีวงจรในตัวเอง
สามารถควบคุมการเกิดภาพได้เองภายในชั้นฟิ ล์ม
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
AMOLED : Active-Matrix Organic Light-Emitting Diode และมีชื่อ เรี ยกอีก
อย่างหนึ่งว่า Dream Display
ข้ อดีคอื มีความคมชัดมาก ให้สีสันสดใส แสดงผลสี ดาได้คมชัด มีเวลาตอบสนอง
ที่รวดเร็ ว มีองศาในการมองที่กว้าง และประหยัดพลังงานโดยใช้พลังงานน้อยกว่า
แบบแรกและยังสามารถขยายให้มีขนาดใหญ่ได้ จึงถูกนาไปใช้ทาจอวิดีโอ
คอมพิวเตอร์ ทีวขี นาดใหญ่ หรอป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ดว้ ย
ข้ อเสี ยคือ ค่าใช้จ่ายมีราคาแพงกว่าจอ LCD หรื อ plasma ใช้งานกลางแจ้งได้ไม่ดี
และยังมีปัญหากับสี ฟ้าอยูบ่ ่อยครั้ง ซึ่ งเมื่อใช้งานไปนานๆ ไดโอดสี น้ าเงินจะมี
ประสิ ทธิ ภาพน้อยลง แต่กไ็ ด้รับการแก้ไขให้ดีข้ ึนเรื่ อยๆ จอแบบ AMOLED จะกิน
ไฟมากกว่า LCD เมื่อต้องแสดงผลสี ขาว
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
Super AMOLED และ Super AMOLED Plus เป็ นชื่อในการตลาด
สาหรับการพัฒนามาตรฐานเทคโนโลยี OLED ซึ่งอาจมีการ
เปลี่ยนแปลงรู ปแบบที่แตกต่างกันของสี แดง สี ฟ้า สี เขียว หรื อ subpixels
หรื อ การเพิ่มความไวต่อการสัมผัส แต่อย่างไรก็ตามยังคงอยูบ่ นพื้นฐาน
ของ OLED
แสดงเทคโนโลยี OLED ที่ใช้โพลิเมอร์อินทรี ยเ์ รื องแสงในการผลิตแสงสี
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
TFT LCD (Thin Film Transistor – Liquid Crystal Display) เป็ น
หน้าจอแบบเก่าที่ใช้กนั มานาน
ข้ อดี มีราคาถูก ต้นการผลิตต่ากว่า สี สนั และความคมชัด อยูใ่ นระดับ
ปานกลาง
ข้ อเสี ย มุมมองจากัดในการใช้งานมาก และบริ โภคพลังงานสูงกว่า
แบบอื่น
การใช้งานหน้าจอ LCD เครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์ทวั่ ไป ที่ได้
ไม่ได้เน้นความคมชัดมาก และมือถือกลุ่มราคาย่อมเยา โดยมีการเพิ่ม
ความละเอียดเข้าไป
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
LCD: In-Plane Switching (IPS) บริ ษทั Hitachi พัฒนาเทคโนโลยี IPS
มาตั้งแต่ปี 1996 เพื่อต่อสูก้ บั ปัญหาเครื่ องซักผ้าที่มองไม่ค่อยเห็นแผง
ควบคุม โดยเพิ่มเติมความสว่างให้ชดั เจนมากขึ้น ทาให้ไม่ตอ้ งไปใช้
เทคนิคการไล่สีดว้ ยช่วงสี ที่กว้างเพียงพอ จอแบบ IPS ยังถูกนาไปใช้งาน
การพิมพ์และงานอื่นๆ มากมาย ด้วยองศาในการมองที่กว้างมาก ผูใ้ ช้จะ
เห็นสี ที่เหมาะสมและคมชัดแม้วา่ มองจากมุมไหนก็ตาม ข้อดีน้ ีทาให้จอ
IPS นาไปใช้ในสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตอย่างเช่น iPhone 4, iPhone
4S, iPad 2, new iPad ฯลฯ
ข้ อดี สี สนั และความคมชัดแม่นยา ใช้งานกลางแจ้งได้ดี มีความสว่าง
มากที่สุดกว่าแบบอื่น มองสบายตา มีมุมมองการใช้งานดีสุด
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
ข้ อเสี ย จอ IPS มีอตั รา refresh ไม่ค่อยดีนกั ซึ่งคุณสมบัติดงั กล่าวเป็ น
สิ่ งจาเป็ นมากที่สุดสาหรับการแสดงผลในแบบ 3D ทาให้กราฟิ กที่
เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ วในบางครั้งอาจจะมีสีผดิ เพี้ยนหลุดออกมาให้
เห็นบ้าง แต่จอแบบ IPS ก็ได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหา
ดังกล่าว แต่นนั่ ก็ทาให้มีราคาแพงขึ้นตามเช่นกัน
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
LCD: Vertically Aligned (VA) จอแบบ VA สามารถแสดงความสว่าง
ได้ 8 บิทต่อ subpixel แต่ไม่มีความกว้างของสี เท่าแบบ IPS จอแบบ
LCD VA ถูกแบ่งย่อยอีกเป็ นหลายชนิด แต่โดยภาพรวมคือให้ภาพสี ดาที่
ดามืดสนิทและมีอตั ราส่ วนความคมชัดที่ดีมาก
จอแสดงผลแบบดิจิตอลทีใ่ ช้ อุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน
Nokia Asha ใช้หน้าจอแบบ TFT LCD
Samsung Galaxy SIII ใช้หน้าจอ Super AMOLED
Iphone 4s ใช้หน้าแบบ IPS LCD
Sony Xperia ใช้หน้าจอแบบ Reality Display
สรุ ป ที่กาลังมาแรงตอนนี้คือ IPS LCD และตามด้วยกลุ่ม AMOLED
การ์ ดแสดงผล (Display Card)
การ์ ดแสดงผล หรือ Display Card เป็ นอุปกรณ์ ทใี่ ช้ แปลงสั ญญาณภาพแบบ
digital ไปเป็ น analog เพือ่ แสดงผลที่จอภาพ โดยมีชื่อที่เรียกแตกต่ างกันดังนี้
 Video Card/Board
 Display Card/Board
 Graphic Card
 Graphic Adapter Card
 Video Adapter Card
 VGA Card
การแสดงผลทีม่ ีสีสวยงาม โดยเฉพาะในภาพเคลือ่ นไหว หรือภาพ 3 มิติ จะ
ขึน้ กับความสามารถในการประมวลผลอย่ างมาก การ์ ดแสดงผลรุ่ นใหม่ ๆ
มักจะมีหน่ วยประมวลผลกราฟฟิ กในตัวเพือ่ ช่ วยแบ่ งเบาการทางานของ CPU
40
ประเภทของการ์ ดแสดงผล
VGA - Video Graphics Array
เป็ นมาตรฐานทีถ
่ ก
ู พัฒนาจาก IBM จะให้ตัวอักษร
ทีม
่ รี ะดับความคมชัดและแสดงกราฟฟิ กได้ 256 สี ท ี่
ความละเอียด 320 x 220 พิกเซล และแบบ 16 สี ความละเอียด
ของภาพ 640 x 480 พิกเซล
SVGA - Super Video Graphics Array
เป็ นการเพิม
่ ความสามารถให้กับมาตรฐานวีจเี อ
สามารถรองรับภาพทีม
่ ค
ี วามละเอียด 800x600 และ 1024 x 768
พิกเซล (ปัจจุบน
ั แสดงไดถึ
้ ง 1280 x 1024 พิกเซล)
XGA - Extended Graphics Array
สาหรับการแสดงผลทีม
่ ค
ี วามละเอียดสูง ตัง้ แตภาพ
่
ทีม่ ค
ี วามละเอียด 1024 x 768 พิกเซล และนามาปรับปรุง
จอภาพแบบ Wide screen
ตัวอย่ างของการ์ ดแสดงผลแบบต่ าง ๆ
AGP
PCI
VESA (VL-BUS)
เทคโนโลยีทใี่ ช้จัดเก็บข้อมูล
มัลติมเี ดีย
ซีดี (Compact Disc)
ดีวดี ี (Digital Versatile Disc)
บลูเรย์ (Blu-Ray disc)
ซีดี (Compact Disc)
CD นับว่าเป็ นสื่ อบันทึกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบนั ทั้งการ
จัดเก็บ Audio , Video , Data , Software หรื อเก็บทุกอย่างในแผ่นเดียว
CD ทัว่ ไปมีความจุ 650 Mb สามารถบันทึกเสี ยงต่อเนื่องได้ 74 นาที
เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 CM หนา 1 มิลลิเมตร
 Mini CD เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 Cm ความจุ 185 Mb
 CD-R สามารถเขียนได้ 1 ครั้ง(เขียนซ้ าที่เดิมไม่ได้)
 CD-RW สามารถเขียนซ้ าได้หลายครั้ง
ซีดี (Compact Disc)
ในปัจจุบนั ตัวแผ่นซีดี-รอม เป็ นดิสก์หน้าเดียว ไม่มีแบบ 2 หน้า
เหมือนดิสก์ทวั่ ๆ ไป ขนาดของแผ่นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.72 นิ้ว หรื อ 120
มม. มีรูศูนย์กลางแผ่นกว้าง 0.59นิ้ว หรื อ 15 มม. ตัวแผ่นจานจะทาด้วย
อลูมิเนียม และเคลือบผิวด้วยพลาสติก โพลีคาร์บอเนต
ซีดี (Compact Disc)
ใช้แสงเลเซอร์ในการบันทึกข้อมูลแทนการใช้สารแม่เหล็กที่ผวิ ดิสก์
เหมือนแผ่นดิสก์ทวั่ ไป
 ข้อมูลจะบันทึกอยูใ่ นลักษณะของ Land และ Pitch หลุมซึ่ งจะทา
การสะท้อนหรื อดูดซับแสงเลเซอร์เพื่อแทนรหัส 0 และ 1

ซีดี (Compact Disc)
แสดงการเก็บข้อมูล
ในฮาร์ดดิส
การอ่านข้อมูล
ของซีดี
CD-R / RW
 CD-R (Compact Disk-Recordable) เป็ นแผ่นซีดีที่สามารถ
บันทึกข้อมูลได้ แต่ตอ้ งใช้ไดรฟ์ แบบ CD-R ถึงจะบันทึกข้อมูลได้
และเมื่อบันทึกข้อมูลแล้ว จะไม่สามารถลบข้อมูลที่ได้บนั ทึกไปได้
 CD-RW เป็ นแผ่นซีดีที่สามารถบันทึกข้อมูลได้และสามารถลบ
ข้อมูลเดิม ได้ดว้ ย ทาให้มีประสิ ทธิภาพสู งกว่าแผ่น CD-R ธรรมดา
แต่กม็ ีราคาแพงกว่า ด้วย
**โดยทัว่ ไป ซีดีรอมไดรฟ์ จะสามารถอ่านทั้งแผ่นซีดีรอมธรรมดา แผ่น
CR-R และ แผ่น CD-RW ได้ แต่ถา้ ต้องการให้สามารถบันทึกข้อมูล
ลงไปในแผ่น CD-R และ CD-RW จะต้องใช้ไดรฟ์ ที่เป็ นไดรฟ์ CDRW ด้วย
48
CD-R / RW
การสร้ างข้ อมูลของ CD-RW จะใช้ วธิ ีเปลีย่ นสถานะของสารเคมีซึ่งจะมีผลึก
คริสตัลทาหน้ าที่เรียงตัวแบบขัดขวางหรือยอมให้ แสงผ่ านแล้ วสะท้ อนกลับจากชั้น
สะท้ อนแสง
DVD (Digital Versatile Disc)
 DVD (Digital Versatile Disk) จะมีตวั แผ่นหน้าตาเหมือน CD –
ROM แต่ใช้เทคโนโลยีการบีบตัด file ที่แตกต่าง ทาให้แต่ละด้านจุ
ข้อมูลได้ 4.7 GB
แผ่น DVD ไม่สามารถอ่านโดย CD-ROM Drive ได้ เพราะ
เทคโนโลยีของหัวอ่านแตกต่างกัน หัวอ่านของ DVD จะมีการ
สะท้อนแสงต่ากว่าแผ่น CD-ROM แต่ DVD-ROM Drive สามารถ
อ่านแผ่น CD ได้
Single speed DVD-ROM drives มี data transfer rate ประมาณ1.3
Mb/s ซึ่งเร็ วพอ ๆ กับ 9x CD-ROM
50
รูปแบบของแผ่ น DVD
DVD-ROM เป็ นแผ่นดี วีดีที่บนั ทึ กข้อมูลเพียงอย่างเดี ยวเหมื อนกับซี ดีรอมโดยการ
บันทึกข้อมูลจากโรงงานเราไม่สามารถบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมได้
DVD-R (DVD-Recordable) เป็ นแผ่นดีวีดีที่สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว โดย
สามารถบันทึกได้ท้ งั ข้อมูลเพลงและวิดีโอ ขึ้นอยูก่ บั โปรแกรมที่ใช้เขียนแผ่น
DVD-RW (DVD-Rewritable) สามารถเขียนข้อมูลซ้ าได้หลายครั้งจะเล่นได้กบั ไดร์ ฟ
DVD-R/RW บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น
DVD+R/RW เป็ นแผ่นที่ใกล้เคียงกับ DVD-RW เป็ นมาตรฐานที่ทาให้แผ่นที่สามารถ
เขี ย นซ้ า ได้ส ามารถน าไปใช้ง านได้กับ เครื่ อ งเล่ น ดี วี ดี อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ไ ดร์ ฟ ของดี วี ดี บ น
คอมพิวเตอร์
DVD-RAM (DVD-Random Access Memory) เป็ นดิสก์แบบใหม่ที่กาลังได้รับความ
นิ ยม สามารถบันทึกซ้ าได้เช่นเดียวกับ DVD-R, DVD+R/RW การบันทึกข้อมูลจะเป็ นแบบ
ฮาร์ ดดิสก์ สามารถบันทึกข้อมูลซ้ าได้มากกว่า 100,000
ประเภทของแผ่ น DVD
ปัจจุบันแบ่ งเป็ น 4 รู ปแบบตามความจุดงั นี้
1. Single-Side, Single Layer หรือ DVD5 เป็ นแผ่นที่ทาการจัดเก็บภาพได้เพียงชั้นเดียว
และหน้าเดียว โดยสามารถบันทึกข้อมูลได้ 4.7 กิกะไบต์
2. Single-Side, Dual Layer : หรือ DVD9 จะคล้ายกับ DVD5คือการบันทึก ข้อมูลลงใน
หน้าเดียว บันทึก ข้อมูลได้ประมาณ 8.5 กิโลไบต์
3. Double-Sided, Single Layer : หรือ DVD10 สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแผ่นได้
ทั้งสองหน้า บันทึกข้อมูลได้ 9.4 กิกะไบต์
4. Double-Sided, Dual Layer : หรือ DVD18 สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในแผ่นได้ท้ งั
สองด้าน และแต่ละด้านสามารถบันทึกได้มากถึงสองชั้น บรรจุขอ้ มูลได้ถึง 17 กิกะไบต์
DVD แบบความจุต่าง ๆ
Name Capacity(GB)
DVD-5
4.7
Layer Sides
1
1
Comments
Read from one side only
DVD-9
8.54
2
1
Read from one side only
DVD-10
9.4
1
2
Read from both side
DVD-18
17.1
2
2
4 layers, Read from both side
DVD-R
4.7/9.4
1
1 or 2
Recordable DVD
4.7
1
1 or 2
Re-Recordable DVD
DVD-RW
เครือ
่ งอ่านซีดรี อม (CD-ROM
Drive)
มีความเร็ วในการเข้าถึงข้อมูล (Average Seek Time) อัตราการถ่าย
ข้อมูล (Data Transfer Rate) เพื่อสามารถนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
ภาพเคลื่อนไหวแต่ละภาพอย่างต่อเนื่อง โดยไม่เกิดการกระตุก เช่น
เครื่ องอ่านซีดีรอมมีอตั ราเร็ วในการอ่านข้อมูล 50x หมายถึงสามารถส่ ง
ถ่ายข้อมูลได้ 50 เท่า
Blue-Ray Disc
Blu-ray เกิดจากความร่ วมมือ และพัฒนาโดยบริษัทยักษ์ ใหญ่ 9 บริษัท ทีเ่ รียก
ตัวเองว่ า “The Blu-ray Disc Founders” ซึ่งประกอบไปด้ วย Hitachi Ltd., LG
Electronics Inc., Matsushita Electric Industrial Co., Ltd., Pioneer
Corporation, Royal Philips Electronics, Samsung Electronics Co. Ltd.,
Sharp Corporation, Sony Corporation และ Thomson Multimedia
 เป็ นมาตรฐานใหม่ของการบันทึกข้อมูลบนแผ่นดิสก์
 สามารถจัดเก็บข้อมูลทัว
่ ไปและมัลติมีเดียคุณภาพสู งกว่า CD และ DVD แต่มี
ขนาดเท่ากับแผ่น CD และ DVD ทัว่ ไป
 ตั้งชื่อตามแสงเลเซอร์ ที่ใช้อ่านข้อมูล ซึ่ งเป็ นแสงสี น้ าเงิ น
Blue-Ray Disc





บันทึกวีดีโอความคมชัดสูง (High Definition) ได้นานกว่า 2 ชัว่ โมง
แผ่น BD-R (SL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้า
เดียว มีความจุ 25 GB
แผ่น BD-R (DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบ
หน้าเดียว มีความจุ 50 GB
แผ่น BD-R (2DL) หมายถึง BLU-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบ
สองหน้า มีความจุ 100 BG
หัวอ่าน CD และ DVD ไม่สามารถอ่านข้อมูลร่ วมกันได้ เนื่องจากใช้แสงเลอ
เซอร์สีแดงในการอ่านแผ่น
Laser Beam
ด้วยขนานเส้นผ่านศูนย์กลางของแสงที่เล็กกว่าทาให้ขอ้ มูลมีขนาดเล็กกว่า
แบบฝึ กหัด
1. ให้นกั ศึกษาพิจารณาอาการของจอคอมพิวเตอร์ต่อไปนี้
1.1 ปัญหาสี เพี้ยนของหน้าจอ น่าจะเกิดจากสาเหตุใด และมีวิธีแก้ปัญหา
อย่างไร
1.2 ปัญหาจอภาพสัน่ หรื อกระพริ บอยูต่ ลอดเวลา น่าจะเกิดจากสาเหตุใด และ
มีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร
2. จงบอกความแตกต่างระหว่างจอ LCDกับ จอ PLASMA และหากนักศึกษา
จะต้องเลือกซื้อจอสองประเภทนี้ จะเลือกซื้อประเภทใด เพราะเหตุผลใดจง
อธิบาย
3. จงอธิบายจอ LCD ประเภท Passive Matrix และ Active Matrix
4. จอ LED (Light-Emitting Diodes) คืออะไร
5. ซอฟแวร์สาหรับบันทึกข้อมูลลงซีดีและดีวีดีมีอะไรบ้าง จงตอบมา 5 ชนิด