World Time อาจารย์สอง Satit UP & Longitude Daylight Saving Time Daylight Saving Time : DST “ Daylight Saving Time " มักใช้เรียกกันในโซนอเมริกา ในโซนยุโรป ใช้คาว่า “ Summer Time "

Download Report

Transcript World Time อาจารย์สอง Satit UP & Longitude Daylight Saving Time Daylight Saving Time : DST “ Daylight Saving Time " มักใช้เรียกกันในโซนอเมริกา ในโซนยุโรป ใช้คาว่า “ Summer Time "

World Time
อาจารย์สอง Satit UP
&
Longitude
Daylight Saving Time
Daylight Saving Time : DST
“ Daylight Saving Time " มักใช้เรียกกันในโซนอเมริกา
ในโซนยุโรป ใช้คาว่า “ Summer Time " มากกว่าคาว่า
“ Daylight Saving Time ”
Daylight Saving Time : DST
การปรับเวลา Saving Time นี้ มกั จะใช้ในประเทศที่มีอยูใ่ นละติจูดมากกว่า
แนว 23.5 เหนื อ/ใต้ (Temperate Zone) แต่กไ็ ม่ใช่ทกุ ประเทศที่อยู่ในแถบนี้
จะประกาศใช้เวลา Daylight saving Time ทัง้ หมด ตัวอย่างประเทศที่อยูใ่ น
ละติจูดสูงแต่ไม่ได้ใช้ Daylight saving Time เช่น จีน ญี่ปนุ่ เป็ นต้น
Daylight Saving Time : DST
หลายประเทศในเขตอบอุน่ หรือที่อยู่บริเวณเส้นรุง้ (ละติจูด)สูง เช่น สหรัฐอเมริกา
แคนาดา เม็กซิโก ยุโรป ออสเตรเลีย อียปิ ต์ ได้กาหนดปรับเวลาในฤดูรอ้ นที่มีช่วงเวลา
แสงอาทิตย์ยาวนาน(กลางวันยาวนาน)เป็ นประจาทุกปี โดยเปลี่ยนเวลาให้เร็วขึ้น
(ประมาณ 1 ชัว่ โมง หรือ มากว่านั้น) และ จะปรับกลับมาเป็ นปกติในฤดูหนาว
Daylight Saving Time : DST
Daylight Saving Time (DST) หรือ Summer Time
เหตุผลของการปรับเวลานั้นมีหลายอย่าง โดยจุดประสงค์หลัก ของ
การปรับเวลา Daylight Saving Time นัน่ ก็คอื
- การใช้ประโยชน์ จากแสงดวงอาทิตย์ ให้มากที่สุด
- การประหยัดพลังงานในช่วงคา่ ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าจะขึ้นอยู่
กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ เวลาพระอาทิตย์ตกดิน และเวลาการเข้า
นอนของคนโดยทัว่ ไป
- เหตุผลอืน่ ๆ ทางเศรษฐกิจและพาณิ ชย์ เช่น เม็กซิโกใช้เวลา
DST ตามสหรัฐอเมริกาเพราะเหตุผลทางเศรษฐกิจ เป็ นต้น
Daylight Saving Time : DST
Daylight Saving Time (DST) หรือ Summer Time
ช่วงเวลา DST จะมีระยะเวลากลางวันนานกว่าระยะเวลากลางคืน (สว่างเร็วกว่าปกติ และคา่
ช้ากว่าปกติ) ซึ่งในทางทฤษฎีแล้ว คนเราจะตื่นเช้าตามพระอาทิตย์ข้ ึน แต่จะใช้เวลาในการนอน
ใกล้เคียงเดิม ดังนั้น ฟ้ าสว่างเร็วขึ้น คนก็จะตื่นเช้าขึ้น และเมื่อมีการเลื่อนเวลาให้เร็วขึ้น คนก็จะ
ออกมาทางานเร็วขึ้น การใช้ชีวิตในช่วงคา่ ก็ยงั ไม่จาเป็ นต้องใช้ไฟฟ้ ามากนัก เพราะฟ้ ายังสว่างอยู่ และ
เข้านอนเร็วขึ้น ทาให้ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าก็จะลดลง
Russia
การใช้ Daylight Saving
Time ในสหรัฐอเมริกา กินเวลา
ทัง้ สิ้นเกือบ 7 เดือน คือเริ่มตัง้ แต่ 2
นาฬกิ าของวันอาทิตย์แรก ของเดือน
เมษายน จนกระทัง่ ถึง 2 นาฬกิ าของ วัน
อาทิตย์สดุ ท้าย ของเดือนตุลาคม โดยการ
ปรับเวลาก็จะแตกต่างกันไปในแต่ละเขต
เวลา (Time zone)
ประเทศในสหภาพยุโรป (EU) จะเริ่ม
ปรับเวลาในเวลา 1 นาฬกิ าของวันอาทิตย์
สุดท้ายของเดือนมีนาคม และปรับคืน ใน
เวลา 1 นาฬกิ า ของวันอาทิตย์ สุดท้าย
ของเดือนตุลาคม
Daylight Saving Time
การปรับใช้เวลา Daylight Saving Time (DST)
ปัจจุบันมีประเทศ
ต่ างๆ ทั่วโลก
กว่ า 70 ประเทศที่มี
การปรับเวลา
Daylight Saving Time
สีฟ้า คือ ประเทศที่ใช้การปรับเวลาแบบ Daylight Saving Time
สีสม้ คือ ประเทศไม่ใช้ระบบ Daylight Saving Time แต่เคยทดลองใช้มาแล้ว
สีแดง คือ ประเทศไม่เคยใช้ระบบ Daylight Saving Time เลย
Daylight Saving Time : DST
เรียก : “ Summer Time “ หรือ “ เวลาออมแสง “
ความหมาย : การปรับเวลาให้เร็วหว่าเวลาปรกติในช่วงฤดูรอ้ น
จุดประสงค์ : เพื่อใช้ประโยชน์จากแสงของดวงอาทิตย์ให้มากที่สดุ ช่วยประหยัดพลังงานจากการลด
การใช้ไฟฟ้ าในการให้แสงสว่าง และอุปกรณ์ไฟฟ้ าอืน่ ๆ และเหตุผลทางเศรษฐกิจ
ประเทศที่ใช้ : ประเทศในแถบละติจูดสูง (ประเทศแถบเขตอบอุน่ และเขตหนาว) ปัจจุบนั มากว่า 70
ประเทศทัว่ โลกที่ใช้
ผูร้ เิ ริ่ม : เบนจามิน แฟรงกลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกนั เป็ นคนแรกที่เกิดความคิดเรื่องการปรับ
เวลา ในปี 1907
นามาใช้ครัง้ แรก : ระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เยอรมันนา DST มาใช้ในปี 1916 ตามด้วยอังกฤษ
(1916) และสหรัฐอเมริกา (1918) พอหมดสงคราม ก็ยกเลิกไป (ใช้อกี ที ตอนสงครามโลกครัง้ ที่ 2)