โดย. นายสรศักดิ์ หวังดี การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝีมือ

Download Report

Transcript โดย. นายสรศักดิ์ หวังดี การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝีมือ

การพัฒนาหลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
สาขาอาชีพ ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
The Development of Competency Based
Curriculum
Conforming to
National Skill Standard on Occupation
Microcomputer Repair Technical Level 1
โดย. นายสรศ ักดิ ์ หว ังดี
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
สาขาอาชีพ
ช่างซ่อม
ไมโครคอมพิวเตอร ์
ระดับ 1
ปั ญหาในการวิจย
ั
ข้อ ก าหนดทางวิ ช าการที่ ใช้เ ป็ น
เกณฑ ว์ ด
ั ระดับ ฝี มื อ ความรู ้ ทัก ษะแล ะ
ทั ศ น ค ติ ต่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ยใ น ก า ร
ปฏิบต
ั งิ าน ในการซ่อมไมโครโปรเซสเซอร ์
สา ม า ร ถ ป ร ะ ก อ บ ติ ด ตั้ง อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ
โปรแกรมในระบบคอมพิว เตอร ์ ที่ต้อ งมี
หัว หน้ า งานช่ ว ยให้ค าแนะน าหรือ ช่ ว ย
่ ด สาคั
ศู น ย ์ทองส
อ บญ
มเมื
า ต่ อจ
ร ฐาเป็
า นนตาม
ฝี มื อ
ตัด สิ นใจในเรื
แรงงาน โรงเรี
์จอห ์นโปลีเ(ฉบั
ทคนิบค
พระราชบั
ญญัย
ตนเซนต
ค
ิ ุม
้ ครองแรงงาน
ที่
กรุพ.ศ.
ง เทพ2551
ที่เปิ ดทดสอบมาตรฐานฝี มื อ
3)
แรงงาน กลุ่ ม สาขาอาชีพ ช่ า งไฟฟ้ า
อิเ ล็ ก ทรอนิ กส แ
์ ละคอมพิว เตอร ์ สาขา
อาชีพ ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ
1
มีผูส
้ มัค รเข้า ร่วมทดสอบมาตรฐาน
่ ด คือจานวนผู ส
ฝี มือแรงงานมากทีสุ
้ มัคร
สอบ 76 คน จานวนผู เ้ ข้าสอบ 76 คน
จานวน ผู ผ
้ ่านการทดสอบ 31 คน คิดเป็ น
ร ้อยละ 40.79 % จานวนผู ไ้ ม่ผ่านการ
ทดสอบ 45 คน คิดเป็ นรอ้ ยละ 59.21%
จากการเก็ บ ข้อ มู ลรายละเอีย ดผลการ
ทดสอบมาตรฐานฝี มือ แรงงาน ณ ศู น ย ์
ทดสอบโรงเรีย นเซนต ์จอห ์นโปลีเ ทคนิ ค
มาตรฐานอาชีพ
(Occupational
Standards)
มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards) เป็ น
มาตรฐานที่ก าหนดในรู ปสมรรถนะของกลุ่ ม อาชีพ
้
่ อใช้ใ นการ
ต่ า งๆ ที่ สมาคมวิ ช าชีพ พัฒ นาขึ นเพื
พัฒนาบุคลากรในกลุ่มอาชีพของตน ให้เกิดสมรรถนะ
ก า ร ป ฏิ บ ัต ิ ง า น ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด ขึ ้นโ ด ย
มาตรฐานอาชีพมีองค ์ประกอบ ได้แก่ กรอบมาตรฐาน
สมรรถนะ แผนภาพหน้ า ที่ แผนผังสมรรถนะ ตาราง
วิ เ ค ร า ะ ห ห
์ ลัก สู ต ร ห น่ ว ย ส ม ร ร ถ น ะ ซึ่ง ห น่ ว ย
สมรรถนะประกอบด้วย คาอธิบายหน่ วยสมรรถนะ การ
น าหน่ วยสมรรถนะมาประยุ ก ต ใ์ ช้ การร บ
ั ใบร บ
ั รอง
มาตรฐานฝี มือ แรงงาน หน่ วยสมรรถนะที่ต้อ งผ่ า น
่ าเป็ นสาหร ับการจ้างงาน สมรรถนะย่อยและ
ข้อมู ลทีจ
เกณฑ ก
์ ารปฏิบ ต
ั ิง าน ทัก ษะและความรู ท
้ ี่ต้อ งการ
หลักฐานการประเมิน สมรรถนะ ขอบเขตของเนื ้อหา
่
และทัก ษะชีว ต
ิ เพือให้
บุ ค ลากรสามารถปฏิบ ต
ั งิ านได้
ตามมาตรฐานสมรรถนะนิ ยามโดย จะเด็ด เปาโสภา.
(2547:2-14)
วัตถุประสงค ์ของ
การวิจ ัย
่ ฒนาหลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือแรงงาน สาขาอาชีพ
1. เพือพั
ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
่ ก ษาผลประเมิน หลัก สู ต รฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือ แรงงาน
2. เพือศึ
สาขาอาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
สมมติฐานการ
วิจยั
1. หลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือแรงงาน สาขาอาชีพช่างซ่อม
ไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1 มีความสอดคล้องและมีความเหมาะสมอยู ่ในระดับ
้
มากขึนไป
2. คะแนนการทดสอบสมรรถนะของผู เ้ ข้าร ับการฝึ กอบรมของกลุ่มทดลองหลัง
การฝึ กอบรมสู งกว่าก่อนฝึ กอบรมอย่างมีนย
ั สาคัญทางสถิตท
ิ ระดั
ี่ บ 0.05
่ เป็ นไปตาม
โอกาสทีไม่
ข ้อสรุปมีเพียง .05 ใน
1.00 หรือ 5 ส่วนใน 100
่
ส่วน นั่นคือคลาดเคลือน
่ อ
่
ไม่เกิน 5% นั่นเอง ซึงเมื
่ ้
มองในมุมกลับก็คอื เชือได
ไม่ต่ากว่า 95%
ขอบเขตด้าน
ประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่าง
ประชากรวิจ ย
ั ได้แ ก่ ผู ส
้ มัค รเข้า ร บ
ั การทดสอบมาตรฐานฝี มือ แรงงาน สาขา
อาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
ณ ศู นย ์ทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงาน โรงเรียนเซนต ์จอห ์นโปลีเทคนิ ค กรุงเทพ
จานวน 52 คน
กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ใช้ใ นการวิจ ย
ั ได้แ ก่ ผู ส
้ มัค รและสนใจเข้า ร บ
ั การฝึ กอบรม
หลัก สู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือ แรงงาน สาขาอาชีพ ช่ า งซ่อ ม
ไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1 ณ ศู นย ์ทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงาน โรงเรียน
เซนต จ
์ อห น
์ โปลี เ ทคนิ ค กรุ ง เทพ โดยใช้ก ารสุ่ ม ตัว อย่ า งแบบง่ าย (Simple
Random Sampling) จานวน 10 คน
่
ขอบเขตด้านสถานทีในการทดลอง
ได้แก่ ศู นย ์ทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงาน
โรงเรียนเซนต ์จอห ์นโปลีเทคนิ ค กรุงเทพ สาขาอาชีพช่างซ่อม
่ ชด
ไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1 ซึงมี
ุ ฝึ ก ประกอบด้วย
้ ปกรณ์ของเครืองไมโครคอมพิ
่
1.ชุดฝึ กประกอบและติดตังอุ
วเตอร ์จานวน 10 ชุด
้
้
2.ชุดฝึ กติดตังระบบปฏิ
บต
ั ก
ิ ารและการติดตังโปรแกรมฟรี
แวร ์ จานวน 10 ชุด
ตวั แปรที่
ทาการศึกษา
ต ัวแปรต้น :
หลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือ
แรงงาน
สาขาอาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์
ระด ับ 1
ต ัวแปรตาม :
สมรรถนะก่อนฝึ กอบรมและหลังฝึ กอบรม ตาม
มาตรฐานฝี มือแรงงาน สาขาอาชีพช่างซ่อม
ไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
กรอบแนวคิดใน
การทาวิจ ัย
(Conceptual
Framework)
ระบบในการทา
วิจยั
systematic
app
วิธก
ี ารดาเนิ นการ
วิจยั
การศึกษาผลประเมินการฝึ กอบรมหลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน สาขาอาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
วิเคราะห ์ข้อมู ลโดยใช้
กระบวนการทางสถิต ิ
่
1. ค่าเฉลีย
่
2. ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
3. ค่าที (t – test Dependent)
4.การวิเคราะห ์ดัชนี ความสอดคล้อง (Index
of Congruence : IOC)
SX.D.
x
ผลการวิเคราะห ์
ข้อมู ล
ผลประเมินการฝึ กอบรมหลักสู ตรฝึ กอบรมสมรรถนะมาตรฐานฝี มือแรงงาน
สาขาอาชีพช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร ์ ระดับ 1
่ ส่วนเบียงเบนมาตรฐานและการเปรี
่
่
ผลค่าเฉลีย
ยบเทียบค่าเฉลียระหว่
าง
คะแนนประเมินสมรรถนะก่อนการฝึ กอบรม (Pre test) และหลังการ
ฝึ กอบรม (Post test) ตามเกณฑ ์การประเมินสมรรถนะ
คะแนน
ก่อนฝึ ก
n
10
หลังฝึ ก
10
SD.
t
Sig.
113.60 20.468 7.941 .000
**
165
0.000
คะแนนประเมินสมรรถนะก่อนการฝึ กอบรม (Pre test) และหลัง
การฝึ กอบรม (Post test) พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนย
ั สาคัญมี่
่
ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลียหลั
งการฝึ กอบรมสู งกว่าก่อน
ฝึ กอบรม
ขอน้อมร ับข้อเสนอแนะ
จากกรรมการสอบทุกท่านด้วยความ
เคารพยิง่
นายสรศักดิ ์ หวังดี