1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ

Download Report

Transcript 1. ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ

ี้ จง
กำรประชุมชแ
ระเบียบสำน ักนำยกร ัฐมนตรี
้ ำ่ ยเงินกู ้
ว่ำด้วยกำรบริหำรโครงกำรและกำรใชจ
เพือ
่ กำรวำงระบบบริหำรจ ัดกำรนำ้
และสร้ำงอนำคตประเทศ พ.ศ. 2555
25 เมษายน 2555
www.nesdb.go.th
1
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ
1.1 ว ัตถุประสงค์
ี่ งอั นอาจเกิดขึน
เพื่อวางแนวทางการพั ฒนาประเทศในระยะยาวที่ค านึงถึงการบริหารความเส ย
้ จากภั ยพิบั ต ท
ิ าง
ธรรมชาติด ้านต่างๆ และการยกระดับคุณภาพโครงสร ้างพืน
้ ฐานของประเทศให ้ทัดเทียมมาตรฐานสากล เพือ
่ เสริมสร ้าง
ี่ งของภัยพิบัตแ
ศักยภาพการแข่งขันและลดต ้นทุนการบริหารความเสย
ิ ละวิกฤติการณ์ต่างๆ ของภาคการผลิตและ
บริการของประเทศ
1.2 เป้ำหมำยในกำรดำเนินงำนของ กยอ.
ั้ การสร ้างความมั่นใจให ้กับประชาชนและนักลงทุนว่าก่อนฤดูฝนปี 2555 จะมีการบริหาร
1.2.1 เป้ำหมำยระยะสน
ี หายทีอ
จัดการน้ าเพือ
่ มิให ้เกิดวิกฤตอุทกภัย และมีการลงทุนทีจ
่ าเป็ นในการป้ องกันความเสย
่ าจเกิดขึน
้
ี่ งและมีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมสูง
โดยเฉพาะในพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ค
ี วามเสย
ี่ งของอุทกภัยหรือหลีกเลีย
ี หายทีอ
1.2.2 เป้ำหมำยระยะยำว การพัฒนาประเทศเพือ
่ ลดความเสย
่ งความเสย
่ าจ
เกิดขึน
้ จากอุทกภัยอย่างถาวร โดยพิจารณาการลงทุนในระบบการบริหารจัดการน้ า โครงสร ้างพื้นฐาน
การพัฒนาเมืองและพืน
้ ทีอ
่ ต
ุ สาหกรรม การปรับระบบการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร การปรับปรุง
กฎระเบียบภาครัฐทีเ่ กีย
่ วข ้อง การจัดหาแหล่งเงินทุน
1.3 ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ
การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพือ
่ การฟื้ นฟูและสร ้างอนาคตประเทศ อยู่บนพืน
้ ฐานแนวคิดการบริหารจัดการความ
ี่ งและภาวะวิกฤต และการบริหารจัดการเพือ
เสย
่ ความต่อเนื่องในการดาเนินธุรกิจ (BCM) ซงึ่ ครอบคลุมประเด็นการ
พัฒนาทัง้ การจัดการปั ญหาน้ าและอุทกภัย การจัดการภัยพิบัตจ
ิ ากธรรมชาติ และสถานการณ์วก
ิ ฤตอืน
่ ๆ ทีไ
่ ม่ได ้เกิด
จากธรรมชาติ ประกอบด ้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
25 เมษายน 2555
www.nesdb.go.th
2
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
1.1 ยุทธศำสตร์ปร ับโครงสร้ำงภำคกำรผลิตและบริกำร (อยูภ
่ ำยใต้วงเงิน 10,000 ล้ำนบำท) โดย
1)
ี่ งจำกภ ัยพิบ ัติและสถำนกำรณ์วก
กำรปร ับโครงสร้ำงเพือ
่ กำรป้องก ันภำคกำรผลิตและบริกำรจำกควำมเสย
ิ ฤติ
สนั บสนุ นภาคธุรกิจเพือ
่ การเตรียมระบบการป้ องกัน ปรับตัว และรับมือต่อสถานการณ์ภัยพิบัตแ
ิ ละสถานการณ์วก
ิ ฤตได ้
ิ ธิภาพ โดยสนั บสนุนให ้อุตสาหกรรมต่างๆ ทีส
้
อย่างมีประสท
่ าคัญใชแนวทาง
Business Continuity Management เพือ
่ ลด
ี่ งและปกป้ องห่วงโซอ
่ ุปทานของอุตสาหกรรมให ้ดาเนินการต่อเนื่องได ้ในสถานการณ์วก
ความเสย
ิ ฤต แนวทาง Otagai
ี่ วชาญจาก JICA เสนอ กล่าวคือ สง่ เสริมให ้
Business Continuity (หมายถึง การชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน เมือ
่ เกิดภัย) ทีผ
่ ู ้เชย
ธุรกิจสร ้างเครือข่ายการผลิตสารองในชว่ งเกิดภัยพิบต
ั ิ หรือทีเ่ รียกว่า Sister Clusters: ทีบ
่ ริษัทขนาดใหญ่และกลุม
่ บริษัท
่ ารผลิตเดียวกัน ตัง้ ฐานการผลิตตลอดห่วงโซก
่ ารผลิตในหลายพืน
ี่ ง และมีข ้อตกลง
ทีอ
่ ยูใ่ นห่วงโซก
้ ทีเ่ พือ
่ กระจายความเสย
ิ ค ้าประเภทเดียวกันหรือใกล ้เคียงกัน เพือ
ิ้ สว่ นสาหรับ
ความร่วมมือชว่ ยเหลือกันระหว่างบริษัททีผ
่ ลิตสน
่ ให ้การสนับสนุนชน
การผลิตให ้กันและกัน ในกรณีทเี่ กิดสถานการณ์วก
ิ ฤต
่ งภ ัยพิบ ัติหรือสถำนกำรณ์วก
แผนภำพที่ 1 แนวคิดกำรพ ัฒนำเครือข่ำยกำรผลิตสำรองในชว
ิ ฤติ
Cluster A in Ayuthaya
Cluster B in Nakorn Nayok
Sister Clusters
(supporting
each other in
the crisis)
Back-up Cluster of Cluster A
in Cholburi
25 เมษายน 2555
Back-up Cluster of Cluster B
in Prachinburi
www.nesdb.go.th
3
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
2)
ั
กำรปร ับโครงสร้ำงภำคกำรผลิตและบริกำร เพือ
่ ยกระด ับศกยภำพในกำรแข่
งข ันของอุตสำหกรรม
หล ักอย่ำงยงยื
่ ั น (อยูภ
่ ำยใต้วงเงิน 10,000 ล้ำนบำท) โดยมีกจิ กรรมทีต
่ ้องให ้ความสาคัญ ได ้แก่
้
2.1) ภำคเกษตร ให ้ความสาคั ญกับการดูแลและใชประโยชน์
ทรั พยากรธรรมชาติทเี่ ป็ นฐานการผลิตภาค
เกษตรเพือ
่ ความยั่งยืน
• กำรพ ัฒนำทร ัพยำกรธรรมชำติทเี่ ป็นฐำนกำรผลิตภำคเกษตรให้เข้มแข็ งและยง่ ั ยืน โดย
รักษา ป้ องกัน และคุ ้มครองพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ศ
ี ักยภาพทางการเกษตรและสนั บสนุนให ้เกษตรกรรายย่อยมี
ิ ธิทากินในทีด
ทีด
่ น
ิ เป็ นของตนเองหรือมีสท
่ น
ิ พั ฒนาทรั พยากรธรรมชาติทเี่ ป็ นฐานการผลิตภาค
ิ ธิภาพการใชน้ ้ าภาคเกษตร
การเกษตร การบริหารจัดการน้ าอย่างบูรณาการ และการเพิม
่ ประสท
ั
ิ ธิภำพและศกยภำพกำรผลิ
• กำรเพิม
่ ประสท
ตภำคเกษตร ให ้ความสาคัญกับการวิจัยและพัฒนา
ิ ธิภาพรองรั บการเปลี่ยนแปลงสภาพภู ม อ
ให ้มีประส ท
ิ ากาศโลก ส่งเสริมบทบาทของสถาบั น
เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน องค์กรชุมชน และเกษตรกร ในการพั ฒนาการผลิต พั ฒนาระบบ
่ ารผลิต
เกษตรกรรมยั่งยืน รวมทัง้ สนั บสนุนการบริหารจัดการและการสร ้างนวัตกรรมตลอดห่วงโซก
ิ ค ้าเกษตร เพื่อให ้ประเทศไทยสามารถพึง่ พาตนเองด ้านอาหารและพลังงาน และคงความเป็ น
สน
ผู ้นาด ้านการเกษตรของโลกในอนาคตได ้อย่างยั่งยืน
• กำรสร้ำงมูลค่ำเพิม
่ ผลผลิตทำงกำรเกษตรตลอดห่วงโซ่กำรผลิต โดยสนับสนุนการผลิตและ
ิ ค ้าเกษตร อาหาร และพลังงาน โดยพัฒนาเศรษฐกิจจาก
บริการของชุมชนในการสร ้างมูลค่าเพิม
่ สน
ฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชวี ภาพและภูมป
ิ ั ญญาท ้องถิน
่ บนฐานความรู ้ทีส
่ ร ้างสรรค์เพือ
่
ิ ค ้า ยกระดั บคุณภาพมาตรฐานสน
ิ ค ้า และมาตรฐานระบบการผลิตส น
ิ ค ้า
สร ้างเอกลั กษณ์ของส น
เกษตรให ้เทียบเท่าระดับสากล
2.2) ภำคอุตสำหกรรม เสริมสร ้างจุดแข็งของอุตสาหกรรมทีไ่ ทยให ้สามารถยกระดับความสามารถในการ
่ อุตสาหกรรม
แข่งขันได ้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทีไ่ ทยมีศักยภาพทางการแข่งขันสูง เชน
ยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ์ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โดย
้ ทีอ
• มุง
่ เน้นกำรพ ัฒนำเมืองอุตสำหกรรมเชงิ นิเวศและฟื้ นฟูสงิ่ แวดล้อมในพืน
่ ุตสำหกรรม
หล ัก และสง่ เสริมการสร ้างเครือข่ายวิสาหกิจของอุตสาหกรรมหลัก
25 เมษายน 2555
www.nesdb.go.th
4
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
้ วำมคิดสร้ำงสรรค์ ภู มป
ส่งเสริมให้อุตสำหกรรมสม ย
ั ใหม่พ ฒ
ั นำบนฐำนกำรใช ค
ิ ัญญำ
ท้องถิน
่ และนว ัตกรรมเพือ
่ เพิม
่ มูลค่าและยกระดับคุณภาพมาตรฐาน เป็ นมิตรต่อสงิ่ แวดล ้อม
ิ ธิภำพภำคอุตสำหกรรม และยกระดับมาตรฐานการผลิต สนับสนุนการ
• เพิม
่ ผลิตภำพและประสท
ิ ค ้าอุตสาหกรรม
ประยุกต์ใชวิ้ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร ้างคุณค่าสน
่ เสริมกำรเชอ
ื่ มโยงกำรผลิตภำคอุตสำหกรรมขนำดใหญ่ก ับอุตสำหกรรมท้องถิน
• สง
่ และ
่ ม
กระจำยกำรพ ัฒนำอุตสำหกรรมไปสูภ
ู ภ
ิ ำค
ั ยภาพและเป็ นมิตรกับสงิ่ แวดล ้อมบน
ภำคบริกำร โดยสง่ เสริมการสร ้างมูลค่าเพิม
่ ของสาขาบริการทีม
่ ศ
ี ก
ฐานความคิดสร ้างสรรค์และนวัตกรรม โดย
•
2.3)
•
•
•
•
•
25 เมษายน 2555
ั ยภำพสู่ธุ รกิจเช ง
ิ
เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งข น
ั ของธุ รกิจบริกำรทีม
่ ศ
ี ก
สร้ำงสรรค์ โดยอาศัยความได ้เปรียบของทาเลทีต
่ ัง้ ทางภูมศ
ิ าสตร์ของประเทศ ความหลากหลาย
ทางชวี ภาพและวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็ นไทย
ั ยภำพออกสู่ ตลำด
ขยำยฐำนกำรผลิตและกำรตลำดของภำคธุ รกิจบริกำรที่ม ีศ ก
ต่ำงประเทศ สนั บสนุนมาตรการด ้านการเงินและภาษี ให ้ทัดเทียมกับประเทศคู่แข่ง ส่งเสริมการ
ค ้นหาและบุกเบิกตลาดใหม่ๆ ทีม
่ ศ
ี ักยภาพ เสริมสร ้างเครือข่ายความร่วมมือของธุรกิจทีเ่ กีย
่ วเนือ
่ ง
กับการลงทุนในตลาดต่างประเทศ
้ ต่อกำรลงทุนในภำคบริกำรทงในประเทศและดึ
พ ัฒนำปัจจ ัยแวดล้อมให้เอือ
ั้
งดูดกำรลงทุน
ิ ธิภาพการให ้บริการของโครงสร ้างพืน
จำกต่ำงประเทศในภำคบริกำร ปรับปรุงประสท
้ ฐาน พัฒนา
ระบบฐานข ้อมูลภาคบริการโดยรวมของประเทศและข ้อมูลเชงิ ลึกในสาขาบริการทีม
่ ศ
ี ักยภาพ
ฟื้ นฟูและพ ัฒนำคุณภำพแหล่งท่องเทีย
่ วให้สอดคล้องก ับควำมต้องกำรของตลำด พัฒนา
ื่ มโทรม พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธุรกิจท่องเทีย
แหล่งท่องเทีย
่ วหลักทีเ่ สอ
่ วในกลุ่มพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ี
ศักยภาพสูง
บริหำรจ ัดกำรกำรท่องเทีย
่ วให้เกิดควำมสมดุลและยง่ ั ยืน พัฒนาการท่องเทีย
่ วเชงิ สร ้างสรรค์
ิ ค ้าและบริการ พัฒนา และบูรณาการการท่องเทีย
และเป็ นมิตรต่อสงิ่ แวดล ้อม ยกระดับมาตรฐานสน
่ ว
ื่ มโยงกับวิถช
ให ้เชอ
ี วี ต
ิ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ สาขาการผลิตและบริการอืน
่ ๆ
www.nesdb.go.th
5
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ (อยูภ
1.2 ยุทธศำสตร์กำรพ ัฒนำเชงิ พืน
่ ำยใต้วงเงิน 10,000 ล้ำนบำท) โดย
1) การพัฒนาพืน
้ ทีร่ ะดับประเทศ สง่ เสริมให ้เกิดการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับประเทศและภาค
ื่ มโยงของสาขา
2) การกาหนดบทบาทและทิศทางการพั ฒนาของประเทศทีก
่ ระตุ ้นให ้เกิดการเติบโตและเชอ
ต่างๆ ทางเศรษฐกิจ
ื่ มโยงกับประเทศเพือ
ี ตะวันออก
3) การพัฒนาพืน
้ ทีใ่ นภูมภ
ิ าคต่างๆ ของประเทศให ้เชอ
่ นบ ้านและภูมภ
ิ าคเอเชย
เฉียงใต ้
ื่ มโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพือ
4) การพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนเป็ นประตูเชอ
่ นบ ้าน
ื่ มโยงกับประเทศเพือ
5) การบูรณาการแผนพัฒนาพืน
้ ทีเ่ ชอ
่ นบ ้าน
้ ฐำน (อยูภ
1.3 ยุทธศำสตร์กำรพ ัฒนำโครงสร้ำงพืน
่ ำยใต้วงเงิน 10,000 ล้ำนบำท) ประกอบด ้วย
ิ ธิภาพของระบบ
้ ฐำนด้ำนระบบคมนำคมขนส่ง ควรมุ่งเน ้นการเพิม
1) กำรพ ฒ
ั นำโครงสร้ำงพืน
่ ประส ท
โครงสร ้างพืน
้ ฐานให ้สามารถรองรับความต ้องการในการขนสง่ ได ้อย่างเพียงพอ และปรับรูปแบบการขนส่ง
ไปสู่ระบบรางและการขนส่งทางน้ าที่ประหยั ดพลั งงาน และเป็ นมิตรกับส งิ่ แวดล ้อม รวมทั ง้ การปรั บปรุง
โครงข่ายการขนสง่ เพือ
่ ลดผลกระทบและสามารถแก ้ไขปั ญหาอุทกภัยได ้ในระยะยาว โดยสรุปได ้ดังนี้
1.1)
25 เมษายน 2555
่ เชอ
ื่ มโยงพืน
้ ทีเ่ ศรษฐกิจสำค ัญและเมืองหล ักในภูมภ
กำรพ ัฒนำโครงข่ำยคมนำคมขนสง
ิ ำค
•
ิ ธิภาพการขนส่งระบบรางตามแผนการลงทุ นด ้านโครงสร ้างพื้นฐานของ รฟท.
เพิ่มประส ท
ระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2553 – 2558 (วงเงินลงทุนรวม 176,808 ล ้านบาท) เพือ
่ ให ้ระบบรถไฟเป็ น
ิ ค ้าจากพืน
ื่ มโยงกับท่าเรือแหลม
ระบบหลักในการขนสง่ สน
้ ทีก
่ ารผลิตหลัก ภายในประเทศเชอ
ื่ มโยงการขนสง่ ระหว่าง
ฉบัง รวมทัง้ การพัฒนาศูนย์การขนสง่ ต่อเนื่องหลายรูปแบบ เพือ
่ เชอ
ิ ค ้า และการ
ระบบถนน การขนสง่ ทางน้ า และทางอากาศ และพัฒนาระบบบริหารจัดการขนสง่ สน
ิ ธิภาพและลดต ้นทุนด ้าน
พัฒนาระบบ National Single Window e-Logistics เพือ
่ เพิม
่ ประสท
โลจิสติกส ์
•
ื่ มโยงเมืองหลัก
พัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและทางหลวงสายหลักเชอ
ในภูมภ
ิ าค
www.nesdb.go.th
6
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
้ ฐำน (ต่อ)
1.3 ยุทธศำสตร์กำรพ ัฒนำโครงสร้ำงพืน
่
้ ฐำนด้ำนระบบคมนำคมขนสง
1) กำรพ ัฒนำโครงสร้ำงพืน
่ ในพืน
้ ทีเ่ มือง
1.2) กำรพ ัฒนำโครงข่ำยคมนำคมขนสง
• เร่งรั ดการพั ฒนาโครงข่ายขนสง่ มวลชนในพืน
้ ทีก
่ รุงเทพมหานครและปริมณฑลให ้ครอบคลุมพืน
้ ที่
้
บริการเพิม
่ ขึน
้ และสอดคล ้องกับการขยายตัวของเมืองและการใชประโยชน์
ทด
ี่ น
ิ
• พิจารณาความเหมาะสมในการปรับรูปแบบโครงการทางหลวงสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
้
รอบที่ 3 (แนวเสนทางด
้านตะวันออก) ให ้สามารถรองรับการระบายน้ าเพือ
่ ป้ องกันปั ญหาอุทกภัยใน
ั ้ ใน
พืน
้ ทีก
่ ทม. รวมทัง้ รองรับการขยายตัวของเมือง และบรรเทาปั ญหาการจราจรในพืน
้ ทีเ่ มืองชน
่ เชอ
ื่ มโยงก ับประเทศเพือ
1.3) กำรพ ัฒนำโครงข่ำยคมนำคมขนสง
่ นบ้ำน
เตรียมการพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง และพัฒนาโครงข่ายทางหลวง และทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง
ื่ มโยงกับประเทศเพือ
เชอ
่ นบ ้าน โดยเฉพาะพืน
้ ทีเ่ ศรษฐกิจชายแดนทีส
่ าคัญตามแนวระเบียงเศรษฐกิจฝั่ ง
ื่ มโยงกับพืน
ตะวันออก – ตะวันตก แนวเหนือ – ใต ้ และการเชอ
้ ทีเ่ ศรษฐกิจในประเทศเพือ
่ นบ ้านในฝั่ ง
ตะวันตก (ทวาย) รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเข ้าสู่ AEC ปี 2558
่ ทำงอำกำศและทำงนำ้ เชอ
ื่ มโยงระหว่ำงประเทศ
้ ฐำนกำรขนสง
1.4) กำรพ ัฒนำโครงสร้ำงพืน
• ขยายขีดความสามารถและคุณภาพการให ้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห ้มีความทันสมัย และสามารถรองรับ
ปริมาณการจราจรทางอากาศได ้เป็ นปี ละ 65 ล ้านคน ตามโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ระยะที่ 2 รวมทัง้
พัฒนาระบบ IT ให ้ทัดเทียมกับท่าอากาศยานสากลหลักในต่างประเทศ เพือ
่ ยกระดับท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห ้เป็ น
ท่าอากาศยานสากลหลักในอนุภม
ู ภ
ิ าค
•
25 เมษายน 2555
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการท่าเรือแหลมฉบังให ้มีความทันสมัย และพัฒนา IT ของท่าเรือแหลมฉบังให ้ก ้าวไปสู่
ื่ มโยงเป็ นเครือข่ายการขนสง่ ทางทะเลกับท่าเรือหลักทวีปต่าง ๆ ของ
การเป็ นท่าเรืออิเล็กทรอนิกส ์ (e-Port) ทีเ่ ชอ
โลก และการเตรียมการพัฒนาขยายขีดความสามารถให ้เป็ นประตูการขนสง่ ระหว่างประเทศในอนุภม
ู ภ
ิ าค
www.nesdb.go.th
7
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
2) กำรสร้ำงควำมมน
่ ั คงด้ำนพล ังงำน
แสวงหาและพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ทัง้ ในและต่างประเทศ โดยเฉพาะการสร ้างความร่วมมือด ้านการ
พัฒนาแหล่งพลังงานกับประเทศเพือ
่ บ ้านในฝั่ งตะวันตก (ทวาย) พัฒนาเทคโนโลยีด ้านพลังงานทดแทน
ภายในประเทศ
้ ฐำนด้ำนโทรคมนำคม
3) กำรพ ัฒนำโครงสร้ำงพืน
ื่ สารข ้อมูลความเร็วสูงหรือบริการอินเทอร์เน็ ตความเร็วสูงให ้
พัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมเพือ
่ ให ้บริการสอ
ครอบคลุมพืน
้ ทีท
่ ั่วประเทศ เพือ
่ สร ้างโอกาสในการเข ้าถึงบริการและพัฒนาระบบการให ้บริการภาครัฐผ่าน
ื่ สารความเร็วสูง และสนั บสนุนผู ้ประกอบการ SME ให ้สามารถใชประโยชน์
้
ื่ สาร
โครงข่ายสอ
จากบริการสอ
ความเร็วสูงและเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ
่ ยกระดับความสามารถในการแข่งขัน และสร ้างรายได ้
1.4 ยุทธศำสตร์กำรพ ัฒนำระบบกำรประก ันภ ัย (วงเงิน 50,000 ล้ำนบำท)
การพัฒนาระบบประกันภัยเพือ
่ ให ้เป็ นกลไกสาคัญในการสร ้างหลักประกันความมั่นคงเศรษฐกิจและสังคม
ี่ งจากภัยพิบัตท
ทุกระดับ ในการรองรับความเสย
ิ จ
ี่ ะเกิดขึน
้
ื่ มั่ นและสร ้างความตระหนั กถึงความส าคั ญของการประกันภั ยให ้สังคมและ
1) การเสริมสร ้างความเชอ
ประชาชน โดยสร ้างความรู ้ความเข ้าใจด ้านประกันภัยให ้กับสังคมและประชาชน และต ้องมีการพัฒนา
ี่ งของประชาชนทีเ่ ปลีย
ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให ้สอดคล ้องกับความเสย
่ นแปลงไปตามสภาพแวดล ้อม
รวมทัง้ กาหนดอัตราเบีย
้ ประกันภัยให ้เกิดความเป็ นธรรมกับทุกภาคสว่ น
ิ ธิแก่ผู ้เอาประกันทุกภาคสว่ นร่วม
2) การสร ้างมาตรฐานและการให ้บริการคุ ้มครองสท
25 เมษายน 2555
3) การพัฒนาโครงสร ้างพื้นฐานเพือ
่ พั ฒนาระบบประกันภัยให ้เข ้มแข็ ง โดยการปรั บปรุงกฎหมายและ
ิ ธิภาพ ทั นสมั ย สอดคล ้องกับสภาพการณ์
กฎระเบียบทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการประกันภั ยให ้ให ้มีประส ท
เป็ นไปตามมาตรฐานสากล
ึ ษาความเป็ นไปได ้ในการตัง้ กองทุนมหันตภัย เพือ
4) การศก
่ เป็ นกลไกหลักในการสร ้างความมั่นคงและ
ชว่ ยเหลือทุกภาคสว่ นทีไ่ ด ้รับรับความเดือดร ้อนจากภัยพิบัต ิ
www.nesdb.go.th
8
1. ยุทธศำสตร์เพือ
่ กำรฟื้ นฟูและสร้ำงอนำคตประเทศ (ต่อ)
1.5 กำรบริหำรจ ัดกำรทร ัพยำกรนำ้ (วงเงิน 340,000 ล้ำนบำท)
ี หายทีเ่ กิดขึน
การบริหารจั ดการทรั พยากรน้ า เพือ
่ ป้ องกัน บรรเทา และลดความเสย
้
จากอุทกภัยขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ รวมทัง้ การสร ้างความมั่นใจ ความมั่นคง เพิ่ ม
รายได ้ ในการดารงชวี ต
ิ ของเกษตรกร สงั คมเมือง และเศรษฐกิจของประเทศ บริหาร
จัดการทรัพยากรน้ า ดิน และป่ าไม ้ให ้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
ั ้ : สารองไว ้กรณีฉุกเฉินเมือ
- ระยะสน
่ เกิดอุทกภัย
- ระยะยาว: แผนงาน/โครงการรองรับเพือ
่ ป้ องกันและบรรเทาด ้านภัยพิบต
ั แ
ิ ห่งชาติ เป็ นต ้น
25 เมษายน 2555
www.nesdb.go.th
9
www.nesdb.go.th
25 เมษายน 2555
www.nesdb.go.th
10