Transcript reviewer

รศ.ดร.มนต์ชยั ดวงจินดา
บรรณาธิการวารสารแก่นเกษตร


Overload information ::
กราฟช่วยแสดงให้เห็นประเด็นสาคัญ ไม่ใช่เพือ่ แสดงข้อมูลดิบหรืออธิบายผล
ซับซ้อน
Unnecessary use of graph ::
หากนาเสนอข้อมูลในรูปตารางแล้วไม่ตอ้ งนาเสนอด้วยกราฟอีก, ไม่ใช้กราฟ
เพือ่ พรรณนาลักษณะตัวอย่างที่สมุ


Inappropriate graph type ::
กราฟเส้นใช้แสดงแนวโน้มการตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงของสิง่ ที่ศกึ ษาไป
ตามเวลา, แกน X ต้องเป็ นตัวแปรต่อเนื่ อง
Bad scale, bad labels ::
ใช้สเกลของกราฟไม่เหมาะสม, หน่ วยไม่เหมาะสม, ลืม label กราฟหรือทาไม่
สมบูรณ์




ถ้าต้องการแสดงให้เห็นแนวโน้ม (trend) จึงเลือกใช้กราฟเส้น (line graph)
นอกนั้นควรใช้กราฟแท่ง (bar graph)
ถ้าต้องการแสดงการจาแนกในรูปสัดส่วนร้อยละที่ภาพรวมเท่ากับ 100% จึง
ใช้กราฟวงกลม
ไม่ควรมีเส้นกราฟมากกว่า 6 เส้นในกราฟเดียวกัน ในขณะกราฟแท่งที่มี
ข้อมูลเพียง 2-3 แท่งก็ไม่จาเป็ นเช่นกัน
ควรแสดง error bar เพือ่ แสดง confidence interval และช่วยตรวจสอบ
นัยสาคัญได้คร่าวๆ
# Example I
ควรใช้กราฟเส้นหรือกราฟแท่ง?
ทรีทเมนต์ I และ IH มีผลต่อค่าเฉลี่ย
CH4 ต่างกันทางสถิตหิ รือไม่?
 ทรีทเมนต์ CI และ CIH มีผลต่อ
ค่าเฉลี่ย CH4 ต่างกันทางสถิตหิ รือไม่?


# Example II
เห็นความแตกต่างระหว่างทรีทเมนต์ A,
B, C ชัดเจนหรือไม่?
 เห็นความแตกต่างระหว่างการใส่ปยุ๋ 4
ระดับชัดเจนหรือไม่?
 เห็นการเปลี่ยนแปลงในแต่ละสัปดาห์
ชัดเจนหรือไม่?
 เห็นอิทธิพลร่วมระหว่างทรีทเมนต์กบั
ระดับการใช้ปยหรื
ุ๋ อไม่?

# Example III

21.2
20.8
20.4
20.0
19.6
19.2
18.8
T1
T2
T3
T4
T1
T2
T3
T4
25
20
15
10
5
0
กราฟทัง้ สองใช้ขอ้ มูลชุดเดียวกันในการ
นาเสนอ แต่ให้ความหมายต่างกัน
อย่างไร ?
 กราฟใดถูกต้อง ?
 หากผลการวิจยั ได้ผลดังแสดงในกราฟที่
2, จาเป็ นต้องนาเสนอในบทความ
หรือไม่ ?
# Example IV

การนาเสนอกราฟในลักษณะนี้ เพียงพอ
แล้วหรือไม่ ?
 สามารถนาเสนอกราฟที่ทาให้งานวิจยั นี้
มีความน่ าสนใจขึ้นได้อย่างไร ?


Presenting raw data ::
ไม่ควรใช้ตารางในการนาเสนอข้อมูลดิบ หรือแสดงรายละเอียดของตัวอย่างที่
สุม่ ควรใช้ช่วยในการอธิบายผล แสดงประเด็นที่ได้จากการศึกษา
Too complicate ::
ไม่ควรทาให้ตารางมีความซับซ้อนหรือมีขนาดใหญ่เกินไป
As much as is needs and not more than is necessary!


Incomplete statistics ::
แสดงค่าเฉลี่ยโดยไม่บอกค่าแสดงความผันแปร SD, %CV, etc.
แสดงความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (กากับอักษร a,b) แต่ไม่ระบุค่า standard
error, SEM, หรือค่า lsd, etc.
ไม่ชดั เจนว่าเปรียบเทียบตามแนวคอลัมน์ หรือในแถว ฯลฯ
ไม่ระบุหน่ วย จานวนทศนิ ยมมากเกินจาเป็ น
Redundant ::
ไม่ควรแสดงข้อมูลซ้าๆ แสดงเป็ นกรัม, กก., ทาเป็ น % ด้วยข้อมูลเดียวกัน
# Example I

ตารางนี้ ยังไม่สมบูรณ์ เพราะเหตุใด ?
# Example II
• การตรวจสอบนัยสาคัญคร่าวๆจาก SEM?




การเสนอตารางเป็ นส่วนสาคัญของการเขียนบทความวิจยั ดังนั้นต้องออกแบบ
ตารางให้เหมาะสม
ทุกตารางที่เสนอต้องมีการอ้างอิงในเนื้ อหา
ถ้านาเสนอในรูปตารางแล้ว ไม่จาเป็ นต้องอธิบายตารางซ้าในเนื้อหาอีก
ควรจับเฉพาะประเด็นสาคัญที่วเิ คราะห์ได้จากตารางไปอธิบายในเนื้อหา
ข้อวิจารณ์บทความวารสารจากผูท้ รงคุณวุฒิ
At A Glance
• บทความยาวเกินไป
• บทคัดย่อยาวหรือ Abstract ภาษาอังกฤษมี
ข้อผิดพลาดมาก
• ชื่อเรื่องกับเนื้ อหาโดยรวมไม่สอดคล้องกัน
• Format ไม่ตรงกับวารสาร บางครัง้ format ยังอยู่
ในรูปวิทยานิ พนธ์หรือรายงานฉบับสมบูรณ์
• ตรวจสอบ Check list ของวารสารให้ชดั เจนก่อน
submit
ปัญหาพบบ่อยในส่วนบทนา
• การตรวจเอกสารไม่ทวั ่ ถึง ไม่มีการอ้างถึงงานวิจยั ที่มี
การทาและตีพพิ ม์มาก่อนแล้ว
• งานวิจยั ไม่มีประเด็นใหม่
• ที่มาของปัญหาและการทางานวิจยั ไม่ชดั เจน
ปัญหาพบบ่อยในส่วนวิธีการ
•
•
•
•
•
ใช้ตวั สถิติไม่ถกู ต้อง
จานวนซ้าไม่พอเพียง
Plot size ไม่ได้มาตรฐาน
ใช้เครื่องมือไม่ได้มาตรฐานหรือไม่เป็ นที่ยอมรับ
แผนการทดลองไม่ถกู ต้อง หรือไม่ให้รายละเอียด
อย่างชัดเจน
• ผูอ้ น่ื ทาซ้าได้หรือไม่ หน่ วยทดลองหาอีกได้หรือไม่
ปัญหาพบบ่อยในส่วนผลและวิจารณ์
•
•
•
•
ขาดการวิจารณ์ผลที่ได้จากตารางหรือกราฟ
ไม่แสดงค่าสถิติในตาราง
ใช้กราฟผิดประเภท ใช้ scale ไม่ถกู ต้อง
มองไม่เห็นประเด็นสาคัญที่ได้จากผลงานวิจยั ทาให้
งานวิจยั ไม่สมบูรณ์
• ขาดการนาเสนอให้เห็นภาพการนาไปใช้
Example
Serious problem for common rejection
•
•
•
•
•
Wrong journal format
Wrong statistics use, interpretation
Wrong methodology, under standard
Incomplete study, sampling, etc.
Plagiarism
Plagiarism
• ตีพมิ พ์ซ้าซ้อน ส่งตีพมิ พ์หลายวารสารพร้อมกัน
• ใช้ตน้ ฉบับเดิมเป็ นฐาน ปรับปรุง/เพิม่ เติมเนื้ อหา
เพียงเล็กน้อยแล้วส่งวารสารใหม่
• ตัดต่อทรีทเมนต์
• คัดลอกกราฟ/ภาพ/ตาราง หรือนาข้อมูลตัวเลขจาก
บทความผูอ้ น่ื มาดัดแปลง
ส่งท้าย
• เขียนบทความวิจยั เพือ่ ตีพมิ พ์ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ ไม่ใช่ทาไม่ได้
• การทาวิจยั คือโลกแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ดังนั้นเรียนรูโ้ ดยใช้
peer review ของวารสารเป็ นผูช้ ้ ีนา
• การเขียนบทความเป็ นทักษะ (skill) ทามาก คล่องมาก ใน
ขณะเดียวกันเป็ นเรื่องของการแสดงแนวคิดของผูว้ จิ ยั
ส่งท้าย (จริงๆ)
• นักวิจยั ที่ดี – generate บทความดีๆ – มีประเด็นชัดเจน – มีผูอ้ า้ งอิง
มาก – มีคนต่อยอดนาไปใช้ – เป็ นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ
หรือ
• นักวิจยั ที่ดี – generate บทความมากๆ – มีแต่ประเด็นเล็กๆ หรือไม่
ชัดเจน – อ้างอิงแต่ในทีมนักวิจยั เอง – คนนาไปต่อยอดไม่ถกู – เป็ น
ประโยชน์ต่อใคร ???