การกำหนดตำแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์

Download Report

Transcript การกำหนดตำแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์

หน่ วยที่ 4
การกาหนดตาแหน่ งในงานเอ็นซีโปรแกรม
*******************************
สาระสาคัญ
เครื่องจักรซีเอ็นซีจะใช้ แนวแกน X Y Z เป็ นหลักโดยแกนที่ 3 จะตั้งฉากซึ่ง
กันและกัน โดยมีจุด O คือ จุดศูนย์ หรือจุดอ้ างอิง (Origin) เป็ นจุดตัดของทั้ง 3 แกน
หรือ ตาแหน่ งที่มคี ่ า X = 0 , Y = 0 , และ Z = 0 หรือ (X Y Z) = (0 , 0 , 0) การกาหนด
ตาแหน่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบสั มบูรณ์ (Absolute Positioning) คือ การเคลือ่ นทีจ่ ากจุด
หนึ่งไปยังอีกจุกหนึ่งโดยทีจ่ ุดทั้งสองยังใช้ จุดอ้ างอิงเดียวกัน ส่ วนการกาหนดตาแหน่ ง
การเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ (Incremental Positioning) คือ การเคลือ่ นที่จากจุดหรือ
ตาแหน่ งปัจจุบันไปยังจุดถัดไป
สาระการเรียนรู้
1. การกาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์
2. การกาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธ์
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
1. กาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์ได้
2. บอกตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์ได้
3. กาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธ์ได้
4. บอกตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธ์ได้
4.1 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบสั มบูรณ์
ในการเคลือ่ นทีไ่ ปยังจุดใดๆ ต้ องมีตาแหน่ งของจุดนั้นๆ โดยตาแหน่ งดังกล่ าว
สามารถระบุโดยใช้ ระบบของโคออร์ ดเิ นท ซึ่งมีแกน X Y และ Z บอกตาแหน่ งทั้ง
ตาแหน่ งบวกและลบซึ่งถูกกาหนดโดยจากจุดอ้ างอิงหรือจุดศูนย์ โดยจุดอ้ างอิง คือ (X ,
Y , Z ) = (0 , 0 , 0) หรือตาแหน่ งที่ X , Y , Z ต่ างมีค่าเป็ นศูนย์ และเป็ นจุดตัดของทั้ง 3
แกนโดยตาแหน่ งบวกและลบของแกนใดๆ อยู่ในทิศตรงกันของแกนนั้นๆ
รูปที่ 4.1 ทิศทาง ( + ) ของแนวแกน X Y Z
รูปที่ 4.2 ทิศทาง ( - ) ของแนวแกน X Y Z
ดังนั้น การเคลือ่ นทีข่ องทูลของเครื่องซีเอ็นซี จึงมีลกั ษณะเป็ นการ
เขียนรู ปภาพกราฟิ กที่
ประกอบด้ วย เส้ นตรงและเส้ นโค้ งของวงกลมโดยมีจุดเริ่มต้ นและ
จุดสิ้นสุ ดของแต่ ละเส้ นอ้ างอิงกับจุดศูนย์ ทกี่ าหนดขึน้ เองโดยผู้เขียนโปรแกรม
รู ปที่ 4.3 ลักษณะจุดศูนย์ ของชิ้นงาน
การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์ (Absolute
Positioning) คือ การเคลือ่ นทีจ่ ากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยทีจ่ ุดทั้งสองยัง
ใช้ จุดอ้ างอิงเดิมหรือจุดอ้ างอิงเดียวกันโดยปกติน้ัน จุดอ้ างอิงจะเป็ นจุดทีถ่ ูก
กาหนดโดยตาแหน่ งของการเคลือ่ นที่ในตาแหน่ ง X = 0 , Y = 0 และ Z = 0
หรือ ( X , Y , Z ) = (0 , 0 , 0)
ตัวอย่างที่ 1 จากรู ปทีก่ าหนดให้ จงกาหนดตาแหน่ งในการเคลือ่ นที่
ของค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบสั มบูรณ์ ของงานเครื่องกลึงซีเอ็นซีโดยเริ่มต้ นจากจุด
P1ไปยังจุด P7 และจุดศูนย์ ของชิ้นงานอยู่ด้านหน้ าของชิ้นงานลงในตารางให้
ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.4 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มบูรณ์ จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหน้ า
ตารางที่ 1 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์ จุดศูนย์
ชิ้นงานอยู่ด้านหน้ า
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
X
0
14.0
14.0
19.0
19.0
25.0
25.0
Y
0
0
-12
-12
-20
-20
-40
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 2 จากรู ปทีก่ าหนดให้ จงกาหนดตาแหน่ งในการเคลือ่ นที่
ของค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบสั มบูรณ์ ของงานเครื่องกลึงซีเอ็นซี โดยเริม่ ต้ นจากจุด
P1ไปยังจุด P7 และจุดศูนย์ ของชิ้นงานอยู่ด้านหลังของชิ้นงานลงในตารางให้
ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.5 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มบูรณ์ จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหลัง
ตารางที่ 2 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์
จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหลัง
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
X
0
14.0
14.0
19.0
19.0
25.0
25.0
Y
40.0
40.0
28.0
28.0
20.0
20.0
0.0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 3 จากรู ปทีก่ าหนดให้ จงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์
ดิเนทแบบสั มบูรณ์ ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1ไปยังจุด P5
ลงในตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.6 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มบูรณ์ ของงานเครื่องกัด
ตารางที่ 3 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์
ของงานเครื่องกัด
Point
P1
P2
P3
P4
P5
X
0
0
70.0
70.0
0
Y
0
70.0
70.0
0
0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 4 จากรู ปจงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบ
สั มบูรณ์ ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1 ไปยังจุด P6 ลงในตาราง
ให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.7 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบสั มบูรณ์
ของงานเครื่องกัดจุดP1 ถึง P6
ตารางที่ 4 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์
ของงานเครื่องกัดจุดP1 ถึง P6
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
X
0
-80.0
-80.0
-40.0
0
0
Y
0
0
40.0
40.0
90.0
0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 5 จากรู ปจงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบ
สั มบูรณ์ ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1 ไปยังจุด P9 ลงใน
ตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.8 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มบูรณ์ ของงานเครื่องกัดจุดP1 ถึง P9
ตารางที่ 5 ตัวอย่ างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มบูรณ์ ของงาน
เครื่องกัดจุดP1 ถึง P9
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
P8
P9
X
0
0
50.0
50.0
50.0
0
0
50.0
50.0
Y
0
-20.0
-27.5
7.5
7.5
0
-20.0
-27.5
-27.5
Z
0
0
20.0
20.0
-15.0
-15.0
-15.0
-15.0
20
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
4.2 การกาหนดตาแหน่ งการเคลื่อนที่แบบสัมพัท์
การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ (Incremental
Positioning) คือ การเคลือ่ นทีจ่ ากจุด หรือตาแหน่ งปัจจุบันไปยังจุดถัดไปโดย
อ้ างอิงจากตาแหน่ งปัจจุบันหรือเป็ นระยะห่ างระหว่ างสองจุดโดยมีเครื่องหมาย
บวก (+) และเครื่องหมายลบ (-) ระบุบอกทิศทางการเคลือ่ นที่ตามแนวแกนนั้นๆ
โดยอ้ างอิงจากตาแหน่ งปัจจุบันหรือจุดเริ่มต้ นของเส้ นนั้นๆ
ตัวอย่างที่ 1 จากรู ปทีก่ าหนดให้ จงกาหนดตาแหน่ งในการเคลือ่ นที่ ของค่ าโคออร์
ดิเนทแบบสั มพัทธ์ ของงานเครื่องกลึงซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1ไปยังจุด P6
จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหน้ าของชิ้นงานลงในตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.9 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบ
สั มพัทธิ์จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหน้ า
ตารางที่ 6 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ จุดศูนย์
ชิ้นงานอยู่ด้านหน้ า
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
X
0
14.0
0
5.0
0
6.0
0
Y
0
0
-12.0
0
-8.0
0
-20.0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 2 จากรู ปทีก่ าหนดให้ จงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่ของ
ค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบสั มพัทธ์ ของงานเครื่องกลึงซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ น
จากจุด P1ไปยังจุด P6 และจุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหลังของชิ้นงาน
ลงในตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.10 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มพัทธ์ จุดศูนย์ ชิ้นงานอยู่ด้านหลัง
ตารางที่ 6 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ จุดศูนย์
ชิ้นงานอยู่ด้านหลัง
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
X
0
14.0
0
5.0
0
6.0
0
Y
40.0
0
-12.0
0
-8.0
0
-20.0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 3 จากรู ปจงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบ
สั มพัทธ์ ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1ไปยังจุด P4 ลงใน
ตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.11 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่
แบบสั มพัทธ์ ของงานกัด
ตารางที่ 7 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ ของงานกัด
Point
P1
P2
P3
P4
P5
X
0
0
70.0
5.0
-70
Y
0
70.0
0
-70
0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 4 จากรู ปจงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบสั มพัทธ์
ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซีโดยเริ่มต้ นจากจุด P1 ไปยังจุด P6 ลงในตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.12 การกาหนดตาแหน่ งการ
เคลือ่ นที่แบบสั มพัทธิ์ของงานกัดจุด
P1 ถึง จุด P6
ตารางที่ 8 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบสั มพัทธ์ ของงานกัดจุด
P1 ถึง จุด P6
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
X
0
-80.0
0
40.0
40.0
0
Y
0
0
40.0
0
50.0
90.0
หมายเหตุ
จุดเริ่ มต้น
ตัวอย่างที่ 5 จากรู ปจงกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นทีข่ องค่ าโคออร์ ดเิ นทแบบสั มพัทธ์
ของงานเครื่องกัดซีเอ็นซี โดยเริ่มต้ นจากจุด P1ไปยังจุด P9 ลงในตารางให้ ถูกต้ อง
รู ปที่ 4.13 การกาหนดตาแหน่ งการเคลือ่ นที่แบบ
สั มพัทธ์ ของงานกัดจุดP1 ถึง จุด P9
ตารางที่ 9 ตัวอย่างการกาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธ์ของงานกัดจุด P1 ถึง
จุด P9
Point
P1
P2
P3
P4
P5
P6
P7
P8
P9
X
0
0
50.0
0
0
-50.0
0
50.0
0
Y
0
-20.0
-7.5
35.0
0
-7.5
-20.0
-7.5
0
Z
0
0
20.0
0
-35.0
0
0
0
35
หมายเหตุ