Document 7370198

Download Report

Transcript Document 7370198

การพัฒนารูปแบบการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี
The Development of Care Model for Patients
with Acute Coronary Syndrome
of Prachomklao Hospital,
Phetchaburi Province
ผูว้ ิจยั : พยาบาล ปนัดดา มณีทิพย์ RN,APN
ความเป็นมาและความสาคัญ
เป็ นปัญหาสาคัญด้านสาธารณสุ ข
ของโลกและประเทศไทย
ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสู ง
18,660 บาท/คน
โรคเรื้ อรังที่มีภาวะ
ความรุ นแรงสู ง
อัตราเสี ยชีวติ สู ง
ร้อยละ 22.94 – 33.60
ร.พ พจก. มีแนวโน้มการเกิด
โรคเพิ่มขึ้น
ปี 2549 = 1,151 ราย
ปี 2550 = 1,260 ราย
ปี 2551 = 1,406 ราย
เป็ นสาเหตุการตายอันดับ
1 ใน 3 ของประเทศ
เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็ นอันตราย
Cadiogenic shock
Cardiac arrhythmia, CHF
มีผลกระทบต่อผูป้ ่ วย
ทั้งร่ างกาย จิตใจ
และครอบครัว
วัตถ ุประสงค์ของการวิจยั
1. เพื่อศึกษาปั ญหาของการดูแลรักษาพยาบาลผูป้ ่ วยโรคหัวใจ
ขาดเลือดเฉียบพลันของ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัด
เพชรบุรี
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือด
เฉียบพลันของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี
กรอบแนวคิดในการวิจยั
ปัจจัยนำเข้ ำ (Input)
- ทีมสหสำขำวิชำชีพได้ แก่
แพทย์ พยำบำล เภสัชกร
นักกำยภำพบำบัด นัก
โภชนำกร พยำบำลจิตเวช
พยำบำล HHC เจ้ ำหน้ ำที่
ห้ องปฏิบัตกิ ำร
- ผู้ป่วยโรคหัวใจขำดเลือด
เฉียบพลัน (ACS )
- นโยบำยของโรงพยำบำล
(ผ่ำนกำรรับรองโรงพยำบำล
คุณภำพ : HA)
กระบวน (Process)
- ตั้งคณะกรรมกำรพัฒนำ
กำรดูแลผู้ป่วย ACS
- กำหนดบทบำทหน้ ำที่
ทีมสหสำขำ
- จัดทำ CPG/Care map
- จัดทำแผนกำรสอนสุ ข
ศึกษำผู้ป่วย ACS
-นำแนวทำง/แผนกำรดูแล
ผู้ป่วย ACS ไปทดลองใช้
- ปรับปรุงแนวทำงกำรดูแล
ผู้ป่วยให้ ดยี งิ่ ขึน้
- ติดตำมประเมินผล
ผลผลิต(Output)
-แผนนกำรดูแลผู้ป่วย(Care Map)
แบบทีมสหสำขำวิชำชีพ
- แนวทำงปฏิบัติ/CPG for ACS
- Standing Order
- คู่มือบันทึกสุ ขภำพ
ผลลัพธ์ (Outcome)
ด้ ำนบุคลำกร
- อัตรำกำรปฏิบัติตำม Care map
ด้ ำนผู้ป่วย
- อัตรำตำย
- Door to needle time
- อัตรำกำรวินิจฉัยผิดพลำด
- จำนวนวันนอน
- Readmission ภำยใน 28 วัน
- อัตรำกำรติดตำมเยีย่ มบ้ ำนหลัง D/C
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรต้นคือ
- แนวทางการดูแลผูป้ ่ วย (Clinical Practice Guideline : CPG)
- แผนการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Care map)แบบทีมสหสาขา
- แผนการรักษาเฉพาะโรคของแพทย์ (Standing order)
ตัวแปรตามคือ
- อัตราการวินจิ ฉัยผิดพลาด, อัตราตาย, จานวนวันนอน , Door to needle time
อัตราการปฏิบตั ติ าม Care map , และอัตราการติดตามเยี่ยมผูป้ ่ วยภายหลัง
จาหน่ายออกจาก ร.พ , อัตราการกลับมารักษาซา้ ในโรงพยาบาล ใน 28 วัน
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

บุคลากรทางสุขภาพ ได้แก่แพทย์ พยาบาลที่ปฏิบตั งิ านในแผนกอายุรกรรม
แผนกผูป้ ่ วยอุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน และแผนกผูป้ ่ วยนอกอายุรกรรมจานวน 153 คน

ผูป้ ่ วยที่ได้รบั การวินจิ ฉัยจากแพทย์วา่ เป็ นโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รบั
การรักษาโดยการใช้ยา และเข้ารับการรักษาในแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาล
พระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ตัง้ แต่เดือน เมษายน พ.ศ. 2550 ถึง มีนาคม
พ.ศ.2552 เลือกกลุม่ ตัวอย่างเป็ นแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)
จานวนทัง้ หมด 303 ราย
ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั
เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2550 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2552
เกณฑ์ในการคัดเลือกผูป้ ่ วยเข้ากลมุ่ ตัวอย่าง (Inclusion Criteria)
1. เป็นผูป้ ่ วยที่มีอาย ุตัง้ แต่ 30 ปี ขึ้นไปทัง้ เพศหญิงและชาย
2. ได้รบั การวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
3. เป็นผูป้ ่ วยที่มีโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่รบั การรักษาด้วยยา
4. ไม่เป็น โรคเรื้อรังอื่นๆ ยกเว้นภาวะโรคร่วม ได้แก่ ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน และภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ที่ควบค ุมอาการได้แล้ว
เกณฑ์ในการคัดเลือกผูป้ ่ วยออกจากกลมุ่ ตัวอย่าง (Exclusion criteria )
1. มีภาวะช็อคจากโรคหัวใจ
2. มีภาวะหัวใจล้มเหลวร ุนแรงและมีภาวะน้าท่วม ปอด (Pulmonary edema)
3. ผูป้ ่ วยที่ใส่เครือ่ งช่วยหายใจ
เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั
เครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
1) แบบบันทึกข้อมูลทัว่ ไป
2) แบบประเมินความรูเ้ กี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือดและหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3) บันทึกภาคสนาม (Field note) ใช้ในการบันทึกปัญหา/ความคิดเห็น
เครือ่ งมือที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั ได้แก่
1) แนวทางการด ูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Clinical Practice
Guideline : CPG )
2) แผนการด ูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Care map)
3) แผนการรักษาเฉพาะโรคของแพทย์ (Standing order)
4) แผนการสอนส ุขศึกษาผูป้ ่ วยเกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือด
5) คมู่ ือบันทึกส ุขภาพสาหรับผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
การตรวจสอบค ุณภาพเครือ่ งมือ
1. การหาความตรงตามเนื้อหา (Content validity)
ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ความครอบคล ุมของเนื้อหา ความ
สอดคล้องกับวัตถ ุประสงค์ ความชัดเจน และความเหมาะสมในการนาไปใช้
โดยผูท้ รงค ุณว ุฒิจานวน 7 ท่าน
1. แพทย์ผช้ ู านาญการพิเศษด้านอาย ุรศาสตร์
2 ท่าน
2. อาจารย์พยาบาล
2 ท่าน
3. เภสัชกรชานาญการ
1 ท่าน
4. พยาบาลชานาญการพิเศษด้านอาย ุรศาสตร์ 2 ท่าน
5. พยาบาลชานาญการพิเศษด้านอ ุบัติเหต ุฉ ุกเฉิน 1 ท่าน
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดย
ข้อมูลเชิงปริมาณหาค่าร้อยละ และค่าเฉลีย่
 ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
(Content analysis)

วิธีการดาเนินการวิจยั แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ทบทวน/วิเคราะห์สถานการณ์ ธันวาคม 2550
สิ้นส ุด มกราคม 2551
ทบทวนสถานการณ์การด ูแลรักษาผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบ ุรี โดยทาการศึกษาแฟ้ม
ประวัติและเวชระเบียนผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันย้อนหลัง 6 เดือน
ระหว่างเดือนเมษายน - กันยายน 2550 คัดเลือกกลมุ่ ตัวอย่างตามเกณฑ์
ที่กาหนดจานวน 95 ราย วิเคราะห์สภาพปัญหาของการด ูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจ
ขาดเลือดเฉียบพลัน
วิธีการดาเนินการวิจยั (ต่อ)
จัดตั้งทีม/คณะกรรมการพัฒนา มีแพทย์,พยาบาล,เภสัชกร
นักกายภาพบาบัด ,นักโภชนากร,พยาบาลเวชกรรมสังคม
ระยะที่2 นาผลที่ได้จากการ
ทบทวนและวิเคราะห์สถาน
การณ์มาวางแผน/ดาเนินการ
พัฒนาการด ูแลรักษาผูป้ ่ วย
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ดังนี้
Design ระบบการให้บริ การรักษาผูป้ ่ วย
โรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลพระจอมเกล้า ฯ
จัดตั้งพยาบาล ACSWN ประจาหอผูป้ ่ วย
สร้างเครื่ องมือสาหรับใช้ในการดูแลผูป้ ่ วย
(Fast Track, CPG, Standing order , Care map)
กาหนดตัวชี้วดั และเป้าหมายของการพัฒนา
จัดอบรมให้ความรู ้แก่ทีมพยาบาล (ACSWN)
นาเครื่องมือทดลองใช้กบั ผูป้ ่ วยโรค ACS ในเดือน พ.ค.51-ส.ค.51 จานวน 106 ราย
วิธีการดาเนินการวิจยั (ต่อ)
ระยะที่ 3
ภายหลังทดลองใช้ครบ 4 เดือน นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุม่ ตัวอย่าง
จานวน 106 ราย มาทาการวิเคราะห์ผลลัพธ์ ปั ญหาของกระบวนการพัฒนา
ปั ญหาจากการใช้เครื่องมือต่างๆ นาข้อมูล และปั ญหาที่พบเสนอต่อที่ประชุม
ทีม และร่วมปรับปรุงแก้ไขเครื่องมือตามที่ทีมเสนอแนะ และนาไปใช้กบั ผูป้ ่ วย
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจานวน 102 ราย ตัง้ แต่เดือน ต.ค. 51- มี.ค. 52
เป็ นระยะเวลา 6 เดือน ทาการติดตาม ประเมินผลตามตัวชี้วดั ที่กาหนดได้ผล
การศึกษาดังนี้
ผลการวิจยั
ปั ญหาของการดูแลรักษาพยาบาลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันพบประเด็นสาคัญดังนี้
1. ผูป้ ่ วย STEMI / NSTEMI ได้รบั การรักษาล่าช้า จาก
1.1 สมรรถนะของแพทย์ : แพทย์เวรเป็ น internist ขาดทักษะ ความชานาญ และประสบการณ์
1.2 การวินจิ ฉัยผิดพลาด
1.3 ถูกรับไว้ในหน่วยงานที่ไม่เหมาะสม
1.4 ห้องผูป้ ่ วยหนักเตียงไม่ว่าง
2. สมรรถนะของพยาบาลไม่เพียงพอต่อการรักษาพยาบาลผูป้ ่ วย พยาบาลวิชาชีพมีความรูเ้ กี่ยวกับ
การแปลผล และวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจอยู่ในระดับน้อย -ปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 79.99 และมี
ความรูเ้ กี่ยวกับการพยาบาลผูป้ ่ วยกล้ามเนือ้ หัวใจขาดเลือดอยู่ในระดับน้อย - ปานกลาง คิดเป็ น
ร้อยละ 74.32 มีผลต่อการเฝ้าระวัง/ติดตามอาการ และการรายงานแพทย์
3. ไม่มแี นวทางการปฏิบตั ิ /แผนการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดที่เป็ นรูปธรรมชัดเจน
4. ไม่มกี ารวางแผนจาหน่ายที่เป็ นรูปธรรมชัดเจน ความรูท้ ี่ผปู้ ่ วยได้รบั ไม่เพียงพอที่ทาให้เกิดการ
ปรับเปลี่ยนวิธีการดูแลสุขภาพ ของตนเอง รวมทัง้ ลด และควบคุมปั จจัยเสี่ยง
5. ขาดการส่งต่อข้อมูลจากหอผูป้ ่ วยเพื่อการติดตามเยี่ยมภายหลังจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
6. การส่งต่อผูป้ ่ วยไปรักษาต่อในโรงพยาบาลทีม่ ศี ักยภาพสูงกว่าไม่มเี ตียงรองรับ
ผลการวิจยั (ต่อ)
ข้อมูลทัว่ ไปของบุคลากรทางสุขภาพ

บุคลากรทางสุขภาพทัง้ หมดจานวน 153 ราย ส่วนใหญ่เป็ นพยาบาล
วิชาชีพร้อยละ 84.98 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
ร้อยละ 85.62 อายุอยู่ในช่วง 31 – 35 ปี ร้อยละ 27.46
อายุเฉลี่ย 37.30 ปี มีประสบการณ์ในการทางานอยู่ในช่วง 11-15 ปี
ผลการวิจยั (ต่อ)
ผลการวิจยั
ข้อมูลทัว่ ไปของผูป้ ่ วยกลมุ่
ตัวอย่าง
เม.ย-ก.ย 50
พ.ค-ส.ค 51
ต.ค 51-มี.ค52
ส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย ร้อยละ
95 ราย
60.00
106 ราย
58.49
102 ราย
58.82
อายุเฉลี่ย (ปี )
67.12
77.27
65.40
ส่วนใหญ่สถานภาพสมรสคู่รอ้ ยละ
82.11
76.42
71.57
ส่วนใหญ่ได้รบั การวินจิ ฉัย STEMI
62.11
51.88
59.81
อาชีพส่วนใหญ่งานบ้าน/ไม่ได้ทา
49.48
49.06
รับจ้าง
33.33
ผลการวิจยั
ร้ อยละ
50
40
41.05
30
20
10
26.41
18.62
16.84
11.58
6.6
4.71
0
เมย.-กย.50
พค.-สค.51
8.82
4.82
ตค.51-มีค.52 ปี พ.ศ.
อัตรำตำย
< 20%
Miss Dx
<10 %
readmission
<7%
ผลการวิจยั
ร้ อยละ 100
80
76.47
60
54.71
40
20
0
15.66
0
เมย.-กย.50
1.26
พค.-สค.51
ตค.51-มีค.52 ปี พ.ศ.
กำรปฏิบตั ิ
ตำม CM
80 %
กำรติดตำม
เยี่ยม 80
%
ผลการวิจยั
นาที
85
83.73
81.45
80
75
70.92
70
65
60
เมย.-กย.50
พค.-สค.51
ตค.51-มีค.52 ปี พ.ศ.
Door to
needle time
< 60 นำที
ผลการวิจยั
วัน
8
7
6
5
4
3
2
1
0
6.8
5.07
เมย.-กย.50
พค.-สค.51
5.37
ตค.51-มีค.52 ปี พ.ศ.
LOS 5 วัน
ผลการวิจยั
ความรูข
้ องพยาบาลเกีย่ วกบโ
ั รคหวใ
ั จขาดเลือด
เปอร์ เซนต์
56.06
60.00
54.05
50.00
40.00
25.76
30.00
25.6
20.00 20.27
10.00 4.54
0.00
น้ อย
ปำนกลำง
ดี
ก่ อนกำรอบรม
ภำยหลังกำรอบรม
13.64
0
ดีมำก
ผลการวิจยั
ความรูข
้ องพยาบาลเกีย่ วกบแ
ั ปลผล และวิเคราะห์คลืนไ
่ ฟฟ้าหวใจ
ั
เปอร์ เซนต์
50.00 49.33
40.00
30.00
ก่ อนกำรอบรม
36.36
30.33
19.70
ภำยหลังกำรอบรม
30.66
20
20.00
10.00
13.64
0
0.00
น้ อย
ปำนกลำง
ดี
ดีมำก
นวัตนวั
กรรมที
่ได้จากการวิ
ตกรรมจากงานวิ
จยั จยั



รูปแบบ (Model)การดูแลผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจแบบครบวงจร
คูม่ อื บันทึกสุขภาพผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
แผนการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Care map)
รู ปแบบกำรดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจแบบครบวงจร
โรงพยำบำลพระจอมเกล้ำ จังหวัดเพชรบุรี
Refer
ในชุมชน
ทุกPCU
1◦ PCU
ศสช
ระบบคัดกรอง
มาตรฐาน
Rx CPG*
ปชช.
ทัว่ ไป
ปชช.
กลุ่มเสี่ยง
รพช
CPG**
Refer
ปชช.
กลุ่มป่ วย
2
รพ.พจก
ER/OPD
CPG***
-ve
-ve
+ve
3
รพศ./รพ ทีม่ ศี ักยภำพสู งกว่ ำ
ER/OPD
CPG****
IPD
CPG***
-ve
IPD
CPG***
HHC
D/C
D/C
D/C
HHC
HHC
หมำยเหตุ
CPG* = แนวทางการรักษาผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจในศูนย์สุขภาพชุมชน
CPG*** = แนวทางการรักษาผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน รพ พระจอมเกล้าฯ
CPG** = แนวทางการรักษาผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลชุมชน
CPG**** = แนวทางการรักษาผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลศูนย์
ตัวอย่างคมู่ ือบันทึกส ุขภาพผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจ



























ตัวอย่างแผนการดูแลผูป้ ่ วย
การสร ุปผล
1. การพัฒนารูปแบบการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในครัง้ นีเ้ ป็ นการ
พัฒนาทัง้ ระบบ ครอบคลุมทัง้ ด้านบริหาร บริการรักษา และเครื่องมือที่ใช้ ผูว้ ิจยั ใช้
รูปแบบการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร (Action research) เป็ นตัวขับเคลื่อนในการพัฒนา
และผูป้ ฏิบตั ไิ ด้มสี ว่ นร่วมในทุกกระบวนของการวิจยั ทาให้ได้แนวทาง/แผนการดูแล
ผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของโรงพยาบาล
และมีความยัง่ ยืน (Sustainability) ของการพัฒนา นอกจากนีผ้ ปู้ ฏิบตั เิ ป็ นผูค้ น้ พบว่า
อะไรที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง และอะไรที่เป็ นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลงพัฒนา
การสร ุปผล

การศึกษาวิจยั ในครั้งนีถ้ ึงแม้ว่าผลลัพธ์ของการพัฒนา
คุณภาพการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจะไม่
บรรลุเป้าหมายทัง้ หมด แต่ทาให้ทีมงานมีโอกาสร่วมคิด
ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ และรับทราบปั ญหา เป็ นโอกาสใน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนือ่ งต่อไป
ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั

ควรมีการศึกษาความพึงพอใจของทีมสหสาขาวิชาชีพ และผูป้ ่ วย
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รบั การดูแลตามแผนการดูแล
ผูป้ ่ วยจากทีมสหสาขาวิชาชีพ
 ควรนาการวิจย
ั เชิงปฏิบตั กิ ารไปใช้ในการพัฒนาการดาเนิน
กิจกรรมต่างๆ เช่นกระบวนการพยาบาล การควบคุมคุณภาพการ
พยาบาล การดูแลผูป้ ่ วยแบบรายกรณี (Case management)
จุดเด่นของงานวิจยั นี้

งานวิจยั ในครัง้ นีเ้ ป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารเพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผูป้ ่ วย
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรงพยาบาลพระจอเกล้า จังหวัดเพชรบุรี โดย
ให้ผปู้ ฏิบตั ไิ ด้มสี ว่ นร่วมในทุกขัน้ ตอนของการพัฒนา ตัง้ แต่การวิเคราะห์
ปั ญหา การงวางแผนพัฒนา และการปฏิบตั ติ ามแผน ทาให้ได้รปู แบบ/
แนวทาง/แผนการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่เหมาะสม
สอดคล้องกับบริบทของโรงพยาบาล และมีความยัง่ ยืน (Sustainability) ของ
การพัฒนา ถึงแม้งานวิจยั ชิน้ นีไ้ ด้สิ้นสุดลงแล้ว แต่การปฏิบตั งิ านที่มกี าร
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมยังคงมีอยูใ่ นปั จจุบนั และเป็ นรูปแบบที่ลงตัวปฏิบตั ไิ ด้
จริง
ขอขอบพระคุณ
1.นายแพทย์พลู สวัสดิ์ สมบูรณ์ปัญญา
ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี
2.ดร.อัจฉรา อ่วมเครือ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจยั
3.ทีมสหสาขาวิชาชีพทุกท่านที่มสี ว่ นช่วยให้การศึกษาครั้งนี้
สาเร็จด้วยดี
ขอบคุณค่ ะ
ทบทวนสถานการณ์ / Review chart
พัฒนำแนวทำงกำรดูแลจำกหลักฐำนเชิงประจักษ์ และกำรมีส่วนร่ วมของผู้เชี่ยวชำ
เผยแพร่ แนวทำงกำรดูแลให้ ผู้ปฏิบตั ิ และทีม
จัดตัง้ ทีมด ูแล
4-5 ส.ค. 51
จัดอบรม ACSWN
16 -18 มี.ค. 52
สถาบันโรคทรวงอก
โรงพยาบาลราชวิถี
โรงพยาบาลพระจอมเกล้า ฯ
ประชุมตกลงการส่งต่อผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจของจังหวัดเพชรบุรี
โรงพยาบาลชุมชน