โหลด - WordPress.com

Download Report

Transcript โหลด - WordPress.com

คอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพและจัดการ
เกีย่ วกับรูปภาพ เพือ่ ใช้สอ่ื ความหมายของข้อมูลต่างๆ ให้น่าสนใจ
ยิง่ ขึน้ เช่น การใช้กราฟนาเสนอข้อมูลยอดขายสินค้าในแต่ละปี การ
ใช้ภาพกราฟิกประกอบการโฆษณาสินค้าต่างๆ เป็ นต้น ภาพกราฟิก
แบบ 2 มิติ มี 2 แบบ คือแบบ Raster และแบบ Vector จะเกิดภาพ
จากจุดสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ หลายๆ จุดมารวมกัน ส่วนแบบ Vector เกิด
จากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึง่
ภาพกราฟิกแต่ละนามสกุลจะมีแฟ้มรูปภาพและลักษณะทีแ่ ตกต่าง
กัน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
บทนา
ความหมายของกราฟิก
ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก
หลักการทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก
หลักการของกราฟิกแบบ Raster
หลักการของกราฟิกแบบ Vector
ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติ
หลักการใช้สแี ละแสงในคอมพิวเตอร์
แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
กราฟิก มักเขียนผิดเป็ น กราฟฟิกส์ กราฟฟิกส์ กราฟิก
คาว่า “กราฟิก” มาจากภาษา กรีก ซึง่ หมายถึง การวาดเขียน และ
การเขียน ต่อมามีผใู้ ห้ความหมายของคาว่า กราฟิก ไว้หลาย
ประการซึง่ สรุปได้ดงั นี้
กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึง่ ใช้สอ่ื ความหมาย
ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตุน ฯลฯ
เพือ่ ให้สามารถสือ่ ความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามทีผ่ สู้ อ่ื สาร
ต้องการ
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกีย่ วกับ
รูปภาพโดยใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในการจัดการ
ภาพกราฟิกแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ
2. ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ
ภาพทีเ่ กิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทางานของโหมดสี
RGB ซึง่ ประกอบด้วย สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน
(Blue) โดยใช้หลักยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทงั ้ 3 สีมา
ผสมกัน ทาให้เกิดเป็ นจุดสีสเ่ี หลีย่ มเล็กๆ ทีเ่ รียกว่า พิกเซล (Pixel)
ซึง่ มาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสี
เมือ่ นามาวางต่อกันจะเกิดเป็ นรูปภาพ ซึง่ ภาพทีใ่ ช้กบั เครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ม2ี ประเภท คือ แบบ Raster กับ Vector
หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เป็ น
ภาพกราฟิกทีเ่ กิดจากการเรียงตัวกันของจุดสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ หลากหลายสี
ซึง่ เรียกจุดสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ นี้วา่ พิกเซล (Pixel) ในการสร้างภาพกราฟิกแบบ
Raster จะต้องกาหนดจานวนของพิกเซลให้กบั ภาพทีต่ อ้ งการสร้าง ถ้า
กาหนดจานวนพิกเซลน้อย เมือ่ ขยายภาพให้มขี นาดใหญ่ขน้ึ จะทาให้
มองเห็นภาพเป็ นจุดสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะ
ทาให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนัน้ การกาหนดพิกเซลจึงควรกาหนด
จานวนพิกเซลให้เหมาะกับงานทีส่ ร้าง คือ ถ้าต้องการใช้งานทัวไป
่ จะ
กาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi (Pixel/inch) “จานวนพิกเซล
ต่อ 1 ตารางนิ้ว” ถ้าเป็ นงานทีต่ อ้ งการความละเอียดน้อยและแฟ้มภาพมี
ขนาดเล็ก เช่น ภาพสาหรับใช้กบั เว็บไซต์จะกาหนดจานวนพิกเซล
ประมาณ 72 ppi และถ้าเป็ นงานพิมพ์ เช่น นิตยสาร โปสเตอร์ขนาดใหญ่
จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 300-350 ppi เป็ นต้น
หลักการของกราฟิ กแบบ Raster
หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็ นภาพกราฟิกทีเ่ กิดจากการอ้างอิง
ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณซึง่ ภาพจะมีความเป็ นอิสระต่อ
กัน โดยแยกชิน้ ส่วนของภาพทัง้ หมดออกเป็ นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมือ่ มี
การขยายภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มจะมีขนาดเล็กกว่าแบบ
Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพือ่ งานสถาปตั ย์ตกแต่ง
ภายใน และการออกแบบต่างๆ เช่น การออกแบบอาคาร การออกแบบ
รถยนต์ การสร้างโลโก้ การสร้างการ์ตนู เป็ นต้น
หลักการของกราฟิ กแบบ Vector
ภาพกราฟิ กแบบ Raster
1. ภาพกราฟิ กเกิดจากจุดสี่ เหลี่ยม
เล็กๆ หลากหลายสี (Pixel) มา
เรี ยงต่อกันจนกลายเป็ นรู ปภาพ
2. การขยายภาพกราฟิ กให้มีขนาด
ใหญ่ข้ ึนจะทาให้ความละเอียด
ของภาพลดลง ทาให้มองเห็น
ภาพเป็ นจุดสี่ เหลี่ยมเล็กๆ
ภาพกราฟิ กแบบ Vector
1. ภาพเกิดจากการอ้างอิง
ความสัมพันธ์ทางคณิ ตศาสตร์
หรื อการคานวณ โดย
องค์ประกอบของภาพมีอิสระ
ต่อกัน
2. การขยายภาพกราฟิ กให้มีขนาด
ใหญ่ข้ ึน ภาพยังคงความละเอียด
คมชัดเหมือนเดิม
สีทใ่ี ช้ในงานด้านกราฟิกทัวไปมี
่
4 ระบบ คือ
1. RGB
2. CMYK
3. HSB
4. LAB
RGB
เป็ นระบบสีทป่ี ระกอบด้วยแม่ส ี 3 สีคอื แดง (Red), เขียว (Green) และสีน้ าเงิน (Blue) เมือ่ นามา
ผสมกันทาให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึง่ ใกล้เคียงกับสีทต่ี าเรามองเห็น
ปกติ สีทไ่ี ด้จากการผสมสีขน้ึ อยูก่ บั ความเข้มของสี โดยถ้าสีมคี วามเข้มข้นมาก เมือ่ นามาผสมกัน
จะทาให้เกิดเป็ นสีขาว จึงเรียกระบบสีน้วี า่ แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
RGB
CMYK
เป็ นระบบสี ที่ใช้กบั เครื่ องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรื อวัสดุผวิ เรี ยกอื่นๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยสี หลัก 4 สี คือ สี ฟ้า (Cyan), สี ม่วงแดง (Magenta), สี เหลือง (Yellow), และสี
ดา (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสี เป็ นสี ดาแต่จะไม่ดาสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความ
ไม่บริ สุทธิ์ จึงเป็ นการผสมสี แบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสี ของระบบนี้คือ หมึกสี
หนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสี หนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็ นสี ต่างๆ เช่น สี ฟ้าดูดกลืนแสง
ของสี ม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็ นสี น้ าเงิน ซึ่ งจะสังเกตได้วา่ สี ที่สะท้อนออกมาจะเป็ นสี
หลักของระบบ RGB การเกิดสี น้ ีในระบบนี้จึงตรงข้ามกับการเกิดสี ในระบบ RGB
HSB
เป็ นระบบสี แบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
Hue คือสี ต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่ งมักเรี ยกสี ตามชื่อ
สี เช่น สี เขียว สี แดง สี เหลือง เป็ นต้น
Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสี จะเริ่ มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนด
Saturation ที่ 0 สี จะมีความสดน้อย แต่ถา้ กาหนดที่ 100 สี จะมีความสดมาก
Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสี จะเริ่ มที่ 0 ถึง 100 ถ้า
กาหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็ นสี ดา แต่ถา้ กาหนดที่ 100 สี จะมีความสว่าง
มากที่สุด
LAB
เป็ นระบบสี ที่ไม่ข้ ึนกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนคือ
“L” หรื อ Luminance เป็ นการกาหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 จะกลายเป็ นสี
ดา แต่ถา้ กาหนดที่ 100 จะกลายเป็ นสี ขาว
“A” เป็ นค่าของสี ที่ไล่จากสี เขียวไปสี แดง
“B” เป็ นค่าของสี ที่ไล่จากสี น้ าเงินไปสี เหลือง
แฟ้ มภาพกราฟิ ก Raster และคุณลักษณะของแฟ้ มภาพกราฟิ ก
นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้ มภาพกราฟิ กแบบ Raster มีหลายนามสกุล เช่น .BMP
.DIB .JPG .JPEG .GIF .TIFF .TIF ,PCX .MSP ,PCD .PCT .FPX .IMG .MAC
.MSP และ .TGA เป็ นต้น ซึ่ งลักษณะของแฟ้ มภาพจะแตกต่างกันออกไป
แฟ้ มภาพกราฟิ ก Raster และคุณลักษณะของแฟ้ มภาพกราฟิ ก
.JPG, .JPEG, .GIF
- ใช้สาหรับรู ปภาพทัว่ ไป งานเว็บเพจ และงานที่มีความจากัดด้านพื้นที่
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop, PaintShopPro, Illustrator เป็ นต้น
- เหมาะสาหรับงานด้านนิตยสาร เพราะมีความละเอียดของภาพสูง
.TIF, .TIFF
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop เป็ นต้น
- เป็ นไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์
.BMP, .DIB
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ PaintShopPro, Paint
.PCX
- เป็ นไฟล์ด้ งั เดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพแบบบิตแมป ไม่มีโมเดลเกรย์สเกล
ใช้กบั ภาพทัว่ ไป
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw, Paintbrush, Illustrator เป็ นต้น
แฟ้ มภาพกราฟิ กแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้ มภาพกราฟิ ก
นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้ มภาพกราฟิ กแบบ Vector มีหลายนามสกุล เช่น .EPS .WMF .CDR
.AI .CGM .DRW .PLT ,DXF .PIC และ .PGL เป็ นต้น ซึ่ งลักษณะของแฟ้ มภาพจะ
แตกต่างกันออกไป
- ใช้สาหรับงานที่ตอ้ งการความละเอียดของภาพมาก
AI,.EP
เช่น การสร้างการ์ ตนู การสร้างโลโก้ เป็ นต้น
S
- โปรแกรมที่ใช้สร้าง Illustrator
- เป็ นไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Microsoft Office
.WMF
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw
การประยุกต์ ใช้ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กในงานด้ านต่ างๆ
1. การออกแบบ (CAD)
คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน ซึ่ ง CAD
(Computer-Aided Design) เป็ นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทาง
วิศวกรรม ซึ่งจะช่วยให้ผอู ้ อกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆได้สะดวก
ขึ้น คือ ผูอ้ อกแบบสามารถเขียนเป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดู
คล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อผูอ้ อกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงใน
ระบบ CAD แล้ว ผูอ้ อกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้นหรื อต้องการ
หมุนภาพไปในมุมต่างๆได้ดว้ ย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการ
ออกแบบบนกระดาษ
2. กราฟและแผนภาพ (Graph)
คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็ น
อย่างดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัว่ ไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพ
กราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยงั สามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟ
เส้น กราฟแท่ง และกราฟววงกลม นอกจากนี้ยงั สามารถแสดงภาพกราฟได้ท้ งั ใน
รู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภสพที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ
เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์
ต่อผูบ้ ริ หารหรื อผูจ้ ดั การกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่าย
และรวดเร็ วกว่าเดิม ในงานวิจยั ต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิ กส์ กราฟและแผนภาพมี
ส่ งนช่วยให้นกั วิจยั ทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้น เมื่อข้อมูลที่ตอ้ งวิเคราะห์มีจานวน
มาก หรื อ แม้แต่การแสดงโครงสร้างของอวัยวะของร่ างกายในการศึกษาในวงการ
แพทย์ ก็มีส่วนสาคัญในการวิเคราะห์วสาเหตุของการเจ็บป่ วย
3. ภาพศิลป์ (Art)
การวาดภาพในปั จจุบนั นี้ ใครๆก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ตอ้ งใช้พกู่ นั กับจานสี แต่จะ
ใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนี้ เราสามารถ
กาหนดสี แสงเงา รู ปแบบลายเส้นที่ตอ้ งการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์
หลายชิ้นก็เป็ นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาด
ภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่ วนที่ตอ้ งการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนา
ภาพต่างๆเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพ
นั้นมาแก้ไข