สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ

Download Report

Transcript สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ

สื่ อประกอบการบรรยาย
การบริหารจัดการระบบบริการสุ ขภาพเพือ่ เสนอต่ อ
กระบวนการพัฒนาสาธารณสุ ข
พ.ญ.รุจิรา มังคละศิริ
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดนครราชสี มา
วั
ต
ถุ
ป
ระสงค์
1. ระบุทุกข์ ในระบบบริการสุ ขภาพของคนไทย
2. วิเคราะห์ สภาพปัญหาในระบบบริการสุ ขภาพใน
อาเภอ
3. อธิบายเป้าหมายระบบบริการสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
4. ระบุยุทธศาสตร์ ในการปฏิรูประบบบริการสุ ขภาพ
5. ยกตัวอย่ างนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการปฏิรูป
ระบบบริการสุ ขภาพ เพือ่ วิเคราะห์ นาเสนอต่ อ
กระบวนการ
พัฒนาสาธารณสุ ข
สิ่ งทีท่ ่ านเคยได้ ยนิ เกีย่ วกับการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
ก. สร้ างนาซ่ อม
ข. รุกมากกว่ ารับ
ค. องค์ รวมดีกว่ าแยกส่ วน
ง. สุ ขภาพเป็ นเรื่องของชาวบ้ าน
การปฏิรูประบบสุ ขภาพด้ านใดทีท่ ่ านเกีย่ วข้ องมากทีส่ ุ ด
ก. กฎหมาย
ข. การเงินการคลัง
ค. การบริการสุ ขภาพ
ง. การมีส่วนร่ วมของประชาชน
แนวคิด / กระบวนทัศน์
นโยบาย
ระบบ
บริการ
กาลังคน
ทาไมต้ องปฏิรูประบบสุ ขภาพ
1). เน้ นการตั้งรับเพือ่ ซ่ อมสุ ขภาพเสี ย มากกว่ าสร้ าง
2). ค่ าใช้ จ่ายเพือ่ สุ ขภาพแพงมากแต่ ได้ ผลตา่ ประสิ ทธิภาพต่า
(2.5แสนล้ านต่ อปี เพิม่ ปี ละ 10 %)
3). คนไทยป่ วยและตายโดยไม่ จาเป็ นเป็ นจานวนมาก
4). ระบบบริการสุ ขภาพมีปัญหา มีคุณภาพลึกแคบ เข้ าถึงยาก
5). คนไทยเกือบ 20 ล้ านคนขาดหลักประกันสุ ขภาพ
6). ประชาชนมีส่วนร่ วมน้ อย
นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
ค่ าใช้ จ่ายด้ านสาธารณสุ ขกับสถานะสุ ขภาพ
.….……..….World Bank
ประเทศ
ฝรั่งเศส
อังกฤษ
อเมริกา
ไทย
มาเลเซีย
ศรีลงั กา
% GDP
8.9
6.1
12.7
5.0
3.0
3.7
อายุขยั เฉลีย่
77
75
76
69
71
71
IMR
7
7
9
27
15
18
ปัจจัยนาไปสู่ การเปลีย่ นแปลงระบบสุ ขภาพ
ของประเทศไทย
1). โลกาภิวตั น์ (Globalization)
2). รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
3). วิกฤตเศรษฐกิจ
4). การปฏิรูประบบราชการและการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
5). การกระจายอานาจด้ านสุ ขภาพ
6). หลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
7). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
และแผนพัฒนาสุ ขภาพแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
สามเหลีย่ มเขยือ้ นภูเขา และการเปลีย่ นแปลง
การสร้ างองค์ ความรู้
การปฏิรูป
ระบบสุ ขภาพแห่ งชาติ
การเคลือ่ นไหว
ทางสังคม
พ.ร.บ.
สุ ขภาพ
แห่ งชาติ
สร้ างหลักประกัน
สุ ขภาพถ้ วนหน้ า
(ปฏิรูประบบการเงิน
และระบบบริการ
สาธารณสุ ข)
การเชื่อมโยงกับ
ภาคการเมือง
การกระจาย
อานาจ
ด้ านสุ ขภาพ
ปฏิรูปบทบาท&โครงสร้ าง กสธ. และอืน่ ๆ
แผนพัฒนาสุ ขภาพแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
ระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
1. เน้ น“สุ ขภาวะ” สร้ างสุ ขภาพดีนาการซ่ อมสุ ขภาพเสี ย
2. สุ ขภาพเป็ นสิ ทธิและหน้ าทีข่ องทุกคน
3. มีระบบกลไกนโยบายด้ านการลงทุนและประเมินผลด้ านสุ ขภาพ
4. มีระบบหลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
5. มีระบบสร้ างเสริมสุ ขภาพ (ไม่ ใช่ เพียงบริการส่ งเสริมสุ ขภาพ)
6. มีระบบบริการสุ ขภาพทีม่ ีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน มีประสิ ทธิภาพ
มีความเสมอภาคและธรรมาภิบาล
นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
ระบบสุ ขภาพทีพ่ งึ ประสงค์
7. มีระบบควบคุมป้องกันโรคและปัญหาทีค่ ุกคามสุ ขภาพ
8. มีระบบการเงินการคลังทีเ่ น้ นการคลังรวมหมู่ สร้ างมากกว่ าซ่ อม
9. มีระบบกาลังคนด้ านสุ ขภาพทีเ่ ข้ มแข็ง
10. มีระบบพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพสถานบริการ
11. มีระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่เข้ มแข็ง
12. มีระบบการวิจยั
13. มีระบบการแพทย์ แผน
ไทย
าเริง แหยงกระโทก
นพ.สสจ.นม.
14. มีองค์ กรการจัดการด้ านสุ ขภาพทีก่ ะทัดรัด โปร่นพ.สงสใ
ตรวจสอบได้
กลยุทธ์ การปฏิรูประบบสุขภาพ
การปฏิรูปการเงินการคลัง
• การสร้ างหลักประกันสุ ขภาพ
ถ้ วนหน้ า
• กองทุนรวม
• วิธีการจ่ ายเงินให้ แก่ สถาน
บริการ
กลยุทธ์ การปฏิรูประบบสุขภาพ
การปฏิรูประบบบริการ
• การกาหนดชุ ดสิ ทธิประโยชน์ ทจี่ าเป็ น
• พัฒนาสถานบริการปฐมภูมิด้วยแนวคิด
เวชศาสตร์ ครอบครัว
• พัฒนาเครือข่ ายบริการ
• เน้ นการส่ งเสริมสุ ขภาพ ป้องกันควบคุม
โรค
• การรับรองคุณภาพบริการ
กลยุทธ์ การปฏิรูประบบสุขภาพ
การเสริมพลังแก่ ประชาชน
• ให้ ประชาชนมีสิทธิในการเลือก
สถานบริการ
• การกระจายอานาจทางสาธารณสุ ข
• ประชาคม
• การคุ้มครองผู้บริโภค
จงตัวอย่ างนโยบายและยุทธศาสตร์ ของ
จังหวัดนครราชสี มาในการปฏิรูประบบสุ ขภาพ
ก. โครงการหลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
ข. การพัฒนาศูนย์ สุขภาพชุมชนด้ วยแนวคิด
เวชปฏิบัติครอบครัว
ค. การกระจายอานาจทางสาธารณสุ ข
ง. การสร้ างสุ ขภาพเพือ่ บรรลุ สดถ.ย.
Health For All
•
•
•
•
Basic Health Service
Equity
Quality
Efficiency
Social Accountability
•
•
•
•
Primary Health Care
Community Participation
Appropriate Technology
Intersectoral Collaboration
Reorientation of Health
Service
เป้ าหมายบริการที่พงึ ประสงค์
• Equity
• Quality
เท่ าเทียม เข้ าถึงได้
(ภูมิศาสตร์ สั งคมจิตวิทยา เศรษฐกิจ)
คุณภาพด้ านเทคนิค (มาตรฐานทางวิชาชีพ)
คุณภาพด้ านสั งคม (ผสมผสาน เป็ นองค์ รวม
ต่ อเนื่อง)
• Efficiency ประสิ ทธิภาพ (คุ้มทุน คุ้มค่ า)
• Social Accountability
สนองความต้ องการของประชาชน
ประชาชนสามารถตรวจสอบได้
โครงสร้ างการบริหาร งาน UC จ.นครราชสีมา
กสธ.
ผตร.
คบสจ.
สสจ.
สนง.หลักประกัน
สุ ขภาพ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
อปท.
กสพ.
คณะทางาน
เครือข่ ายบริการ
รพ.มหาราชฯ
รพ.อืน่ ๆ
โครงสร้ างการบริหาร งาน UC จ.นครราชสีมา
เครือข่ ายบริการ
รพ.มหาราชฯ
รพ.อืน่ ๆ
รพช.
CUP
BOARD
PCU
คทง.
PCU
จตุรมิตร
(อสม. อสว. อสร. กสค.)
สสอ.
กสอ.
ผู้ทรงฯ
อปท.
PCU
กสต.
อบต.
จตุรมิตร
ฝ่ ายสส.ในอบต.
หลักการประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
1
USER / CLIENTS
(ประชาชน)
(มาตรฐานวิชาการ)
(ผู้ซื้อบริการ)
PURCHASER
STANDARD SETTER
PROVIDER
(สถานบริการ)
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ การดาเนินงานการพัฒนา ศสช.
พ.ญ.รุจิรา มังคละศิริ 2536-2546
•
•
•
•
มีความรู้ และแนวคิดทีถ่ ูกต้ อง
มีเป้ าหมายในการพัฒนา
มีกลวิธีในการพัฒนา
มีการประเมินผล และสรุปบทเรียน
งานเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice-FP)
คืออะไร?
ก. การตรวจผู้ป่วย OPD แบบแพทย์ ทั่วไป (GP)
ข. การดูแลสุ ขภาพทีบ่ ้ าน (Home Health Care)
ค. ข้ อ ก.+ ข้ อ ข.
ง. ผิดทุกข้ อ
เฉลย FP = OPD + HHC
งานเวชปฏิบัติครอบครัว
1. บริการด่ านแรก (Gate Keeper)
2. บริการผสมผสาน (Integrated Care) - ส่ งเสริม ป้องกัน รักษา
ฟื้ นฟู
3. บริการองค์ รวม (Holistic Care) - กาย จิต จิตวิญญาณ สั งคม
4. บริการต่ อเนื่อง (Continuity of Care) - เกิดจนตาย
ระยะก่ อนป่ วย ระยะป่ วย และหลังป่ วย
เชื่อมโยงระบบส่ งต่ อ 1-2-3 Care
5. เสริมสร้ างการดูแลสุ ขภาพตนเอง (Self Care)
ระบบการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ
Technical Quality
Social Quality
Simple treatment
Health Promotion
Hospital
Specialized Care
Referral Center
Primary Care
ผสมผสาน องค์ รวม ต่ อเนื่อง
1.คุณภาพบริการ 2. ไม่ ซ้าซ้ อน 3. มีระบบส่ งต่ อทั้งข้ อมูลข่ าวสารและผู้ป่วย
การเปลีย่ นแปลงของระบบบริการ
๐ ๐ ๐ รพศ./
1 2 3 รพท.
๐
๐
1 2
๐
1
รพช.
สอ.
รพศ./
รพท.
รพช.
ศสช.
๐
3
๐
2
๐
1
สอ.
รพ.
หมอพูด
หมอยา
ศูนย์ สุขภาพชุมชน
ทีไ่ ม่ มียา
ทีไ่ ม่ มีเวลาพูด
หมอยา + หมอ
พูด
ดูแลทั้งครอบครัว
หน่ วยบริการปฐมภูมิ
• เป็ นหน่ วยบริการผสมผสาน
(รักษา+ส่ งเสริม+ป้ องกัน +ฟื้ นฟู)
• มิใช่ หน่ วย Extended OPD
เน้ นการสร้ างเสริมสุ ขภาพควบคู่กบั การรักษา
• มีความเป็ นกันเอง รู้จักประจา ทีมประจา ต่ อเนื่อง
หน่ วยบริการสุ ขภาพปฐมภูมิ
• เป็ นหน่ วยงานทีม่ ีความรับผิดชอบต่ อสุ ขภาพของประชาชน
อย่ างต่ อเนื่อง- รู้ สภาวะสุ ขภาพ หามาตรการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
• เป็ นที่ปรึกษาของประชาชนในด้ านการดูแลสุ ขภาพ
• ให้ บริการพืน้ ฐานทีจ่ าเป็ นแก่ ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และบริการ
ทั้งที่เป็ นการรักษาพยาบาล การส่ งเสริมฯ การป้องกันโรค และ
การฟื้ นฟูสภาพ
• ติดตาม ประสาน การให้ บริการประเภทต่ างๆ เพือ่ ให้ เกิดบริการ
ทีบ่ ูรณาการ ต่ อเนื่อง
มาตรฐานของผลลัพธ์ หรื อผลการดาเนินงาน
1. ประชาชนกลุม่ เป้าหมายจะได้ รับบริการครอบคลุม
2. โรคติดต่อจะถูกรายงานครบถ้ วนตรงเวลาและค้ นพบเร็วขึ ้น
3. ประชนและบุคลากรใน PCU จะมีสมั พันธภาพที่ดีตอ่ กัน (Bonding)
4. ประชาชนเจ็บไข้ ได้ ป่วย แล้ วน่าจะมาใช้ บริการที่ PCU มากขึ ้นเรื่ อย ๆ
5. เมื่อเปิ ดโอกาสให้ เลือกลงทะเบียน ประชาชนน่าจะเลือกลงทะเบียนที่
PCU ของตนเอง
6. เมื่อสอบถามความพึงพอใจ น่าจะพึงพอใจใน PCU ของตนเองและ
ประชาชนยอมรับบุคลากรให้ เป็ นที่ปรึกษาด้ านสุขภาพประจาครอบครัว
3.มาตรฐานของผลลัพธ์ หรื อผลการดาเนินงาน
7. ประชาชนมีสว่ นร่วมในการสร้ างสุขภาพตนเองและมีความ
ร่วมมือและประสานงานกับบุคลากรใน PCU อย่างดียิ่ง
8. ประชาชนมีสถานะสุขภาพดีขึ ้น ไม่ป่วยและตายด้ วยโรคที่
ป้องกันได้
9. ถ้ าการดาเนินงาน PCU ของทุกจุดดาเนินการได้ อย่างดี
ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ PCU จะมาปรึกษาเจ้ าหน้ าที่
ที่ PCU ของตนเองก่อนทุกครัง้ จะมีผลทาให้ ผ้ ปู ่ วยที่ OPD
ของ รพศ. และ รพช. ในปั จจุบนั ลดจานวนน้ อยลงหรื อ
อาจจะไม่มีเลย
นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
กลยุทธ์ ในการพัฒนาศูนย์ สุขภาพชุมชน
จังหวัดนครราชสี มา
• Research
• Re-Train
• Re-Design
Re-Think
Re-Tool
• Resource management
• Reassurance
บริการเวชปฏิบัตคิ รอบครัว
ด่ านแรก ผสมผสาน เป็ นองค์ รวม ต่ อเนื่อง
Empathic Relationship / Care Coordinator
ระบบงาน
การขึน้ ทะเบียน ปชก.
การจัดบริการตั้งรับ / เชิงรุ ก
การจัดบริการต่ อเนื่อง
การมีส่วนร่ วมของชุ มชน
ระบบการเงิน / ข้ อมูลข่ าวสาร
ทีมงาน
ความรู้
ทีมเดียวกัน
ชีวะการแพทย์
เจ้ าของครอบครัว
จิตวิทยาสั งคม
เจ้ าของคนไข้
Whole Person
Medicine
หลักสู ตรพืน้ ฐาน (Basic Program)
•
•
•
•
•
•
•
PCU in UC
ความทุกข์ ในระบบสาธารณสุ ข
ความจริงในชุ มชน
ระบบบริการปฐมภูมิ
ศึกษาดูงานจาก Role Model
จากบริการสู่ ชุมชน
จากชุ มชนสู่ บริการ
Meeting of 2 Experts
Empathic
Relationship
Sustained partnership
หลักสู ตรต่ อยอด (Advance Program)
• ผู้บริหารและผู้นิเทศ (2 วัน)
การจัดองค์ กร การวางแผนงาน การบริหารจัดการ คน
เงิน ของ ข้ อมูลข่ าวสาร การนิเทศงาน และการประเมิน
• ผู้ปฏิบัตงิ าน (4วัน)
ทักษะทางมานุษยวิทยา ระบาดวิทยา การดูแลด้ านจิต
สั งคม และการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
• ผู้ปฏิบัตงิ าน (9 สั ปดาห์ )
การรักษาพยาบาลโรคทีพ่ บบ่ อย
การพัฒนา ศสช.ใน 5 ปี
ทีมแกนนา = แพทย์ + ทีม รพ. +สสอ. ให้ การสนับสนุน
ศสช.ระดับ 1
ศสช.ระดับ 2
ศสช.ระดับ 3
•เจ้ าหน้ าที่ สอ.เดิม
•เจ้ าหน้ าที่ สอ.เดิม
•เจ้ าหน้ าที่ สอ.เดิม
•FF + อบรม
•พยาบาลวิชาชีพ
•พยาบาลวิชาชีพ
•แพทย์เป็ นที่ปรึกษา
•แพทย์ประจา
•FF + อบรม
•FF + อบรม
การพัฒนา ศสช.ใน 5 ปี
ทีมแกนนา = แพทย์ +ทีม รพ.+สสอ. ให้ การ
สนับสนุน
ศสช.ระดับ 1
ศสช.ระดับ 2
ศสช.ระดับ 3
ดูแลปัญหาสุ ขภาพทีพ่ บบ่ อย บริการส่ งเสริม ป้ องกัน สนับสนุนการพึง่ ตนเองของ ปชช.
รักษาโรคเรื้อรังที่ไม่ มี
ภาวะแทรกซ้ อน
รักษาโรคเรื้อรัง และ
อืน่ ๆทีเ่ พิม่ ขึน้
ดูแลรักษาตาม
ขอบเขต
ความสามารถของ
แพทย์
ในระยะ 5 ปี นี้ เน้ นการพัฒนา ศสช. ทุกแห่ ง ขึน้ มาเป็ นระดับ 2
และบางส่ วนเป็ นระดับ 3
พันธกิจ ศูนย์ สุขภาพชุมชน
(Primary Care Unit)
•
•
•
•
งานเวชปฏิบัติครอบครัว
ดูแลเริ่มแรกทุกเรื่อง
ดูแลต่ อเนื่องถึงบ้ าน
บริการประทับใจทุกวันวาร
บริการผสมผสานทั้ง
ครอบครัว
กระบวนการหลักของ
บริ การปฐมภูมิ (PCU)
บริการในชุ มชน
บริการใน PCU
1. สํ ารวจครอบครัว
2. ทะเบียน/คัดกรอง
8. กิจกรรม ชุ มชน
3. บริการหลัก
9. บริหาร
10. นิเทศ/ประเมิ นผล
5.
7. ประชุม วางแผน
4. Counseling
6.
/เยี่
1. การสารวจครอบครัวและชุมชน
• 1. สร้ างสั มพันธภาพ
• 2. รู้จักและเข้ าใจสภาพวิถีชีวติ
• 3. ประเมินสภาพปัญหาและความ
ต้ องการในการบริการ
ปกติ
เสี่ ยง
ส่ งเสริม
ส่ งเสริม
ป้ องกัน
ป่ วย /
พิการ
รักษา
ฟื้ นฟู
ด้ อย
โอกาส
ดูแลทาง
สั งคม
2. การลงทะเบียน / การคัดกรอง
• การจัดเตรียมเอกสารและข้ อมูล
เพือ่ ช่ วยให้ เกิดการดูแลอย่ าง
•
•
•
•
ผสมผสาน เป็ นองค์ รวม ต่ อเนื่อง
การค้ นหาความคาดหวังของผู้มา
รับบริการ
การประเมินปัญหาด้ าน BioPsycho-Social
การคัดกรองพฤติกรรมเสี่ ยง
การให้ คาแนะนาเบือ้ งต้ น
3. บริการหลัก
ตรวจรักษา / ส่ งเสริมป้ องกัน / ทันตกรรม / ER / ชันสู ตร
ให้ บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ
และสิ ทธิประโยชน์
4. การให้ คาปรึกษา
• ให้ ผู้รับบริการได้ เปิ ดเผย
ความรู้ สึกและค้ นหาและ
เข้ าใจปัญหาของตนเอง
• ให้ ผู้รับบริการใช้ ศักยภาพ
ของตนเองเพือ่ ใช้ แก้ ไข
ปัญหาและปรับตัวให้
เหมาะสม
5. บริการก่ อนกลับบ้ าน (Exit Care)
• ตรวจสอบความเข้ าใจในการ
มารับบริการและการ
ตอบสนองต่ อความคาดหวัง
• จ่ ายยา / เก็บเงิน
• นัดหมายเพือ่ รับบริการ
ต่ อเนื่อง (เยี่ยมบ้ าน ส่ งต่ อ
นัดมารับบริการต่ อเนื่อง)
6. การส่ งต่ อ/การเยีย่ มบ้ าน•
การส่ งต่ อ
•
•
•
•
ประสานงานสถานบริการระดับสู ง
มีจุดเชื่อมต่ อชัดเจน
มีระบบตอบกลับ
ถ้ าผู้ป่วย Admit ต้ องไปเยีย่ มที่
รพ.
• ถ้ าผู้ป่วยไม่ ไปตามการส่ งต่ อ ต้ อง
ไปเยีย่ มบ้ านเพือ่ หาสาเหตุ
การเยีย่ มบ้ าน
เพือ่ รู้ จักและเข้ าใจผู้รับบริการและ
ครอบครัว
• เพือ่ ค้ นหาศักยภาพของครอบครั ว
และเครือข่ ายทางสั งคม นามา
เสริมสร้ าง Self Care
7. ประชุมวางแผนงานและกิจกรรมต่ อเนื่อง
P
A
D
C
ข้ อมูลนาเข้ าในการประชุ ม
1. ทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์
2. ผลการให้ บริการ (ขาดนัด Refer เยีย่ ม
บ้ าน)
3. การเฝ้ าระวังโรค/ปัญหาสุ ขภาพ
4. พฤติกรรมเสี่ ยง / ปัจจัยเสี่ ยง
5. Feed Back จากผู้รับบริการ
6. ความเสี่ ยงในการปฏิบัติงาน
7. ปัญหา อุปสรรค / ผลการแก้ปัญหาทีผ่ ่ าน
มา
8. กิจกรรมชุมชน
• กิจกรรมบริการในชุ มชน ได้ แก่ การคัดกรอง
โรคและพฤติกรรมเสี่ ยง การสอบสวนโรค
การป้ องกันควบคุมโรค การสุ ขาภิบาล การ
รณรงค์ ต่างๆ
• การแสวงหาการมีส่วนร่ วมจากชุ มชนและ
องค์ กรปกครองท้ องถิ่น อสม. กสค. อสร.
อสว. ประชาคมสร้ างเสริมสุ ขภาพ
• สนับสนุนบทบาทของชุ มชนในการ
ร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมประเมินผล ร่ วม
เรียนรู้
การบริหาร การนิเทศ การประเมิน
9. การบริหาร
10 . การนิเทศ ติดตาม
ประเมิน
• คน เงิน ของ ข้ อมูลข่ าวสาร
• แผนงาน ควบคุมกากับ ประเมินผล • Internal / External Surveyor
• การนาองค์ กร การจัดองค์ กร การ • เน้ นความเป็ นกัลยาณมิตร
สร้ างทีมงาน การมอบหมายงาน • เน้ นระบบงานในกระบวนการหลัก
ของ PCU 1-8
สนอง พันธกิจ วิสัยทัศน์ ของหน่ วยบริการ
และปัญหาความต้ องการของชุ มชน
Re-Tool
• กระบวนการหลัก
1.การสารวจครอบครัวและชุ มชน
2.ทะเบียน คัดกรอง
3.กระบวนการหลัก
• เครื่องมือ
1. Family Folder
เครื่องมือทางมานุษยวิทยา 7 ชนิด
เครื่องมือทางระบาดวิทยา
2. แบบคัดกรองจิตสั งคม
Health Maintenance Card
3. Acute Card Chronic Chart
Health Promotion Card
Re-Tool
• กระบวนการหลัก
4. การให้ คาปรึกษา
5. บริการก่อนกลับบ้ าน
6. การส่ งต่ อ เยีย่ มบ้ าน
7. การประชุ มทีม
8. กิจกรรมในชุ มชน
9. บริหาร (คน เงิน ของ ข้ อมูล)
10. นิเทศ ประเมิน
• เครื่องมือ
4. แบบบันทึกการให้ คาปรึกษา
5. ใบสั่ งยา สมุดประจาตัว
6. ใบส่ งต่ อ แบบบันทึกการเยีย่ มบ้ าน
7. CQI Form ข้ อมูลทางระบาดวิทยา
8. บช.1-8 ตัวชี้วดั งานสร้ างสุ ขภาพ
9. แบบฟอร์ มต่ างๆ แผนงาน การเงิน
10. แบบนิเทศ ประเมิน
1
การพัฒนาและ
รับรองคุณภาพ
(
PURCHASER
USER / CLIENTS
(ประชาชน)
•
•
•
•
•
)
(มาตรฐานวิช าการ)
STANDARD SETTER
PROVIDER
(สถานบริการ)
การประเมินการบริหารจัดการของ CUP
การบริหารการเงินการคลัง
การพัฒนาคุณภาพบริการ (HCA)
สถานะสุ ขภาพ
สดถ.ย.
หลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ าและตัวชีว้ ัด การสร้ างสุขภาพ ได้ 45 ตัวชีว้ ัด พอสรุ ปได้ ดังนี ้
ชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า
ตัวชี ้วัด (45 ข้ อ)
1. ให้ มีและใช้ สมุดบันทึกสุขภาพประจาตัวในการดูแล
สุขภาพแต่ละบุคคลอย่างต่อเนื่อง
1. หญิงตังครรภ์
้
ได้ รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์และฉีดวัคซีน
บาดทะยักครบตามกาหนด ร้ อยละ 95
5. เด็กแรกเกิด - 5 ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
ร้ อยละ 90
18. ผู้ที่มีอายุ 60 ปี ขึ ้นไป ได้ รับการตรวจสุขภาพตามเกณฑ์
ร้ อยละ 20
2. การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิง
ตั ้งครรภ์
1. หญิงตังครรภ์
้
ได้ รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์และ
ฉีดวัคซีนบาดทะยักครบตามกาหนด ร้ อยละ 95
2. หญิงตังครรภ์
้
ได้ กินอาหารอย่างเหมาะสม และเพียงพอซึง่ มี
ผลทาให้ เด็กแรกเกิดมีน ้าหนักไม่ต่ากว่า 2,500 กรัม
ร้ อยละ 93
หลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ าและตัวชีว้ ัด การสร้ างสุขภาพ ได้ 45 ตัวชีว้ ัด พอสรุ ปได้ ดังนี ้
ชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า
3. การดูแลสุขภาพเด็ก พัฒนาการ และภาวะโภชนาการ
ของเด็กรวมถึงการให้ ภมู ิค้ มุ กันโรคตาม แผนงานการให้
ภูมิค้ มุ กันของประเทศ
ตัวชี ้วัด (45 ข้ อ)
4. เด็กแรกเกิดได้ กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้ อย 4 เดือน
แรกติดต่อกัน ร้ อยละ 30
5. เด็กแรกเกิด – 5 ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
ร้ อยละ 90
6. เด็กอายุแรกเกิด - 5ปี ได้ รับวัคซีนครบตามตารางสร้ าง
เสริมภูมิค้ มุ กันโรค ร้ อยละ 95
7. เด็กแรกเกิด – 5 ปี ได้ รับการตรวจพัฒนาการร้ อยละ 80
11. กลุ่มอายุ 6 - 12 ปี มีปัญหาสายตา ภาวะโลหิตจาง
คอพอก ได้ รับการแก้ ไขร้ อยละ 100
12. เด็ก 6-12 ปี ได้ รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์
เฝ้าระวังโรคไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 95
13. กลุ่มอายุ 6-19 ปี ได้ รับการตรวจสุขภาพ และมีการ
เจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้ อยละ 90 และ
หากพบความผิดปกติ ได้ รับการแก้ ไขทุกคน
วิเคราะห์ การใช้ บริการที่เปลีย่ นแปลงไป 25442545
ผลงานการให้ บริการในภาพรวมทั้งจังหวัด
• ผู้ป่วยนอกเพิม่ ขึน้ 10.84 %
• ผู้ป่วยในเพิม่ ขึน้ 6.82 %
• อัตราการใช้ บริการผู้ป่วยนอกเพิม่ ขึน้ ที่
โรงพยาบาลชุมชน
อัตราการใช้ บริการผู้ป่วยนอก (ครั้ง/คน/ปี )
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
0.9
8
0.6
7
0.5
0.2
1
6
0.6
5
ประเทศ(2.88)
0.2
2
0.7
9
0.
97
0.9
3
0.9
1
2544(1.93)
2545(2.1)
เอกชน
รพม.
รพช.
สอ.ศสช
การเปลีย่ นแปลงของสั ดส่ วนการใช้ บริการ(ร้ อยละ)
ผู้ป่วยนอก CUP ขามสะแกแสง จานวนประชากร 33,005
คน
100
80
60
68
40
20
42
0
2544
2545
รพช.
PCU
การเปลีย่ นแปลงของสั ดส่ วนการใช้ บริการ(ร้ อยละ)
ผู้ป่วยนอก CUP รพม. จานวนประชากร 127,042 คน
(โครงการหลอดเลือดดี 11 ศสช.)
100
80
60
40
20
3
6
6
4
2
3
7
7
6
9
4
0
BeforeUC
Oct-Dec44
Jan-Apr45
Maharaj
PCU
การเปลีย่ นแปลงของการใช้ บริการ ผป. DM HT
ปี 2544 -2545 ใน PCU นอกเขตเมือง 3 แห่ ง
100%
80%
60%
14
%
63
%
40%
20%
0%
23
%
4%
13
%
83
%
(423
ราย)
2544
2545
ผป.315 ราย
ผป.507 ราย
อืน่ ๆ
รพม.
PCU
การเปลีย่ นแปลงของอัตราส่ งต่ อ(ร้ อยละ)
ปี 2544-2545
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
2.8
2.3
3.8
2.6
0.5
0
รพช.ไป รพม.
สอ.ไป รพช.
ความพึงพอใจเฉลี่ย 85% เรื่ องที่ควรปรั บปรุ ง 5 อันดับ
1. เจ้ าหน้ าที่ไม่ ค่อยไปเยี่ยมบ้ าน (16%)
2. ท่ านมีส่วนร่ วมตัดสินใจในการจัดบริการรั กษา
พยาบาลน้ อย (13%)
3. การจัดการสภาพแวดล้ อมภายนอกอาคารยังขาด
ความเป็ นระเบียบ(13%)
4. ศสช.มีการให้ บริการล่ าช้ า (11%)
5. เวลาเปิ ดบริการของ ศสช.ยังไม่ เหมาะสม(6%)
ปั ญหาที่เจ้ าหน้ าที่ขอให้ มีการแก้ ไข 5 อันดับแรก
1. ยานพาหนะในการส่ งต่ อและเครื่ องมือในการสื่อ
สารไม่ เพียงพอ (36%)
2. การพัฒนาด้ านวิชาการแก่ บุคลากรใน ศสช. (33%)
3. ค่ าตอบแทนน้ อยกว่ าภาระงานที่รับผิดชอบ (22%)
4. การบริหารจัดการในเครื อข่ าย กระทาโดยบุคคล
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ไม่ มีการตรวจสอบ (21%)
5. เวชภัณฑ์ ยา อุปกรณ์ ทางการแพทย์ ไม่ เพียงพอ(17%)
แนวทางพัฒนาศูนย์ สุขภาพชุมชน
(ระยะสั้ น)
• ทุก CUP เร่ งพัฒนาแนวคิดและการ
ดาเนินงาน เวชปฏิบัติครอบครัว
• จัดสรรพยาบาลวิชาชีพลงให้ ครบ
• จัดสรรเวชภัณฑ์ และค่ าตอบแทนสนับสนุน
การสกัดผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และ
ส่ งเสริมงานสร้ างสุ ขภาพ
• หากลไกดึงแพทย์ จาก รพม.ออกมาช่ วย
บริการระดับทุติยภูมิที่ รพช.
แนวทางพัฒนาศูนย์ สุขภาพชุมชน
(ระยะปานกลาง)
• สร้ างกลไกในการบริหารจัดการและ
การเงินที่เอือ้ ต่ อการพัฒนา ศสช.
• เร่ งผลิตและพัฒนากาลังคนในระดับ
ท้ องถิ่น และกาหนดนโยบายในการ
กระจายกาลังคนให้ เป็ นธรรม
• ส่ งเสริมการพัฒนา Super Secondary
Care ในเขตชนบทและเขตเมือง
• ส่ งเสริม Self Care และแพทย์ ทางเลือก
ในระดับชุ มชนให้ เข้ มแข็ง
ปัจจัยแห่ งความสาเร็จ
• การดาเนินงาน Action Research เพือ่
สะสมองค์ ความรู้และประสบการณ์ ทเี่ ป็ น
Evidence Based
• การถ่ ายทอดแนวคิดและรูปธรรมการ
ดาเนินงานดัวยการฝึ กอบรมแบบ PL
• ผู้นาทุกระดับ กลไกการจัดการแบบมีส่วน
ร่ วม และพหุภาคี
• กลไกการนิเทศ และรับรองคุณภาพ
ให้ นิสิตทากิจกรรม
ที่ 5 และกิจกรรมที่ 6
ใน E-Learning ต่ อ
ขอให้ สนุกกับการ
เรียนรู้ นะคะ