18 - ayph.in.th

Download Report

Transcript 18 - ayph.in.th

องค์ ประกอบที่1 นโยบายโรงเรียน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 คาสัง่ แต่งตัง้
 ประกาศของโรงเรียน
 สอบถาม หรือสัมภาษณ์
ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ต่างๆ เช่น คาสัง่ แต่งตัง้ ประกาศ
ของโรงเรียน ฯลฯ หรือสอบถาม
ผูบ้ ริหารโรงเรียน /ครู เพื่อดูสดั ส่วน
ของคณะกรรมการหรือคณะทางาน
ที่มาจากประชาชนและองค์กรใน
ชุมชนว่าเป็ นไปตามเกณฑ์หรือไม่
การกาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
1. มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพของโรงเรี ย น
หรื อ คณะท างานที่ ท าหน้ า ที่
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของ
โรงเรี ย นอย่ า งเป็ นลายลัก ษณ์
อัก ษร ซึ่ ง ป ระกอบ ด้ ว ยค รู
นั ก เรี ย น ผู ป้ กครอง จ้า หน้ า ที่
สาธารณสุข และ ผูแ้ ทนองค์ก ร
ในชุมชน
คณะกรรมหรือคณะทางานมี
สัดส่วนอย่างน้อย 3 ใน 5 มา
จากประชาชนและองค์กรใน
ชุมชน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
2.โรงเรียนมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพที่ครอบคลุม 9 ประเด็น
ประเด็น
1.การส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา
สุขภาพนักเรียน
2.การเฝ้ าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
3.การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติ
แห่งชาติ
4. การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคในโรงเรียน
5. การส่งเสริมการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
นักเรียน บุคลากรของโรงเรียนและชุมชนโดยมี
โรงเรียนเป็ นศูนย์กลาง
6.การส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้ าระวัง
พฤติกรรมเสี่ยง
7.การพัฒนาระบบการเรียนรู ้ ด้านสุขภาพโดย
มีผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
8.การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
9.การส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการ
พัฒนาสุขภาพ นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
และชุมชน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 เอกสารนโยบายของ
โรงเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพ
 สอบถาม หรือสัมภาษณ์
ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ตรวจสอบเอกสารนโยบายด้าน
ส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน หรือ
สอบถามจากผูบ้ ริหารโรงเรียนหรือ
ครูเพื่อดูนโยบายส่งเสริมสุขภาพของ
โรงเรียนครอบคลุมประเด็นต่างๆ
ตามตัวชี้วดั จานวนกี่ประเด็น ทัง้ นี้
นโยบายที่โรงเรียนเขียนไว้ไม่
จาเป็ นต้องใช้ภาษาหรือถ่อยคาที่
เหมือนกับตัวชี้วดั ทุกประการ แต่ผู ้
ประเมินจะต้องพิจารณาและ
วิเคราะห์ว่านโยบายส่งเสริมสุขภาพ
ของโรงเรียนมีความหมายที่เป็ นไป
ตามตัวชี้วดั หรือไม่
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
 แผนปฏิบตั ิการประจาปี
 แผนงาน/โครงการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี แผนงานโครงการต่างๆ ฯลฯ เพื่อดูว่า
แผนงาน / โครงการ /กิจกรรม มีวตั ถุประสงค์รองรับ
นโยบายส่งเสริมสุขภาพให้ผูป้ ระเมินพิจารณาว่า
สอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ให้ผูป้ ระเมิน
พิจารณาว่าสอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมสุขภาพกี่
ประเด็น และเป็ นประเด็นใดบ้าง
สุม่ สอบถามหรือสัมภาษณ์
บุคลากรในโรงเรียน
ประมาณ 10 คน
สุม่ ตัวอย่างครู บุคลากรอืน่ ๆ ในโรงเรียนประมาณ
10 คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ
 ในกรณี ท่ีผูต้ อบแบบสอบถาม เช่น นักการภารโรง
ไม่สะดวกในการตอบสอบถาม ให้ผูป้ ระเมินใช้
สัมภาษณ์ตามแบบสอบถามแทน
 รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อสรุปผล
( ใช้แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายที่เกี่ยวกับการ
ส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน” ในภาคผนวก 1)
การถ่ายทอดนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิ
3 มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รองรับนโยบายส่งเสริมสุขภาพ
9 ประเด็น
4.บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบาย
การส่งเสริมสุขภาพ
ทุกคน
ตัวชี้วดั
5.ผูป้ กครองทราบนโยบาย/กิจกรรม
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
เกณฑ์
ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สุม่ สอบถามหรือสัมภาษณ์
ผูป้ กครองประมาณ 10 คน
ประสานงานกับโรงเรียนเพื่อนัก
หมายผูป้ กครองมาให้ขอ้ มูลประมาณ
10 คน
 แจกแบบสอบถามให้ตอบ ในกรณี
ที่ผูป้ กครองไม่สะดวกในการตอบ
สอบถาม ให้ผูป้ ระเมินใช้วิธีสมั ภาษณ์
ตามแบบสอบถามแทน
 รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อ
สรุปผล
( ใช้แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายที่
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของ
โรงเรียน” ในภาคผนวก 1)
ตัวชี้วดั
6. นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
เกณฑ์
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สุม่ สอบถามหรือสัมภาษณ์
นักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป
(หรือม.1 ขึ้นไปสาหรับ
โรงเรียนมัธยม) ประมาณ
20 คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียน 20 คน (ระดับ
ประถมศึกษาจากนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้น
ไป ระดับมัธยมศึกษาสุม่ นักเรียน
กระจายทุกระดับชัน้ )
 แจกแบบสอบถามให้นักเรียนตอบ
พร้อมกัน
 รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อ
สรุปผล
( ใช้แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายที่
เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของ
โรงเรียน” ในภาคผนวก 1)
องค์ ประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
การจัดทาโครงการส่งเสริมสุขภาพ
1. มีการจัดทาโครงการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็ นระบบ 1 โครงการขึ้นไป
ครบทุกขัน้ ตอน
- มีการรวบรวม วิเคราะห์ปญั หาและความต้องการ
โดยใช้กระบวนการสุม่
- มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของโรงเรียน
- มีการระบุกจิ กรรมและกาหนดเวลา
- มีการระบุถงึ การมีสว่ นร่วมของผูเ้ กี่ยวข้อง
- มีการระบุการใช้ทรัพยากรและ /หรือ
ภูมิปญั ญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
- มีการระบุกจิ กรรมส่งเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนการสอน
 โครงการ หรือ
เอกสารอืน่ ๆ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ
เช่น แผนงาน โครงการ หรือเอกสาร
อืน่ ที่แสดงถึงกิจกรรมหรือโครงการ
ด้านสุขภาพของโรงเรียน เพื่อดูว่ามี
โครงการส่งเสริมสุขภาพจานวนกี่
โครงการที่มีการจัดทาโครงการอย่าง
เป็ นระบบครบทุกขัน้ ตอนตามตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 โครงการหรือ
เอกสารอืน่ ๆ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ
เช่น แผนงาน โครงการส่งเสริม
สุขภาพหรือเอกสารอืน่ ที่แสดงถึง
กิจกรรมหรือโครงการด้านสุขภาพ
ของโรงเรียนเพื่อดูว่าผูร้ บั ผิดชอบ
โครงการประกอบด้วยใครบ้าง
 หรือ ตรวจสอบ คาสัง่ แต่งตัง้ หรือ
ประกาศของโรงเรียนเรื่อง
คณะทางานของโครงการต่างๆ ว่า
ประกอบด้วยใครบ้าง
เกณฑ์ มีโครงการ 1 โรงการที่มี
องค์ประกอบของคณะทางานครบ
ตามที่ระบุในตัวชี้วดั คือ
ประกอบด้วยครู นักเรียน ผูป้ กครอง
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และองค์กร
อืน่ ๆ ในชุมชน
การจัดองค์กร
2.มีคณะทางานรับผิดชอบในแต่ละโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วย ครู นักเรียน
และผูป้ กครอง / เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ /
องค์กรในชุมชน
1 โครงการขึ้นไป
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
3.มีผูน้ านักเรียนส่งเสริมสุขภาพ สัดส่วน 2 ใน 3
หรือผูน้ าเยาวชนสาธารณสุขใน ของนักเรียนที่
โรงเรียนหรือแกนนานักเรียน
ผ่านการอบรม
ด้านสุขภาพปฏิบตั ิงานตาม
บทบาทหน้าที่
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 อร. 14
 สอบถามผูน้ า/แกนนา
นักเรียน
 บันทึกการปฏิบตั ิงานของ
ผูน้ า / แกนนานักเรียน
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น อร.14 บันทึก
การปฏิบตั ิงานของผูน้ านักเรียน (ในโรงเรียน
ประถมศึกษา) หรือผูน้ า ยสร. (ในโรงเรียน
มัธยมศึกษา) ว่าหลังการอบรมได้มีการทากิจกรรม
หรือไม่ นักเรียนที่ทากิจกรรมมีก่คี น เป็ นไปตาม
สัดส่วน 2 ใน 3 หรือไม่
 หรือในกรณี ท่ีไม่มีหลักฐานที่เป็ นเอกสารบันทึกไว้
ให้สอบถามจากผูน้ านักเรียน (หรือผูน้ ายสร.) ว่าได้
ทากิจกรรมตามบทบาทหน้าที่หรือไม่ ทากิจกรรม
อะไรบ้าง จานวนนักเรียนผูน้ า (ผูน้ ายสร.) ที่ยงั คงทา
กิจกรรมมีก่คี นเพื่อนามาคิดสัดส่วน
 ในกรณี ท่โี รงเรียนแห่งนั้นไม่มีการอบรมผูน้ า
นักเรียน หรือ ผูน้ ายสร.ให้ซกั ถามว่าได้มีการอบรม
นักเรียนแกนนาในเรื่องสุขภาพอืน่ ๆ หรือไม่ ถ้ามีให้
ตรวจสอบเอกสาร หรือซักถามนักเรียนแกนนาตาม
แนวทางเดียวกัน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
การนิ เทศ/ติดตาม
4.โครงการส่งเสริมสุขภาพมีการ
นิ เทศ/ติดตาม โดยระบบของ
โรงเรียนอย่างต่อเนื่ อง มีการ
สรุปผลการนิ เทศและนาผลไป
ใช้พฒั นางาน
สัดส่วน 2 ใน 3
ขึ้นไปของ
โครงการด้าน
สุขภาพทัง้ หมด
 บันทึกผลการนิ เทศ /
ติดตามของโรงเรียนและ
แนวทางแก้ไขปัญหา
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น บันทึกผลการ
นิ เทศ /ติดตามของโรงเรียน แนวทางการแก้ไข
ปัญหา ฯลฯ เพื่อดูว่าโครงการส่งเสริมสุขภาพมีการ
นิ เทศ/ติดตาม โดยระบบนิ เทศภายในของโรงเรียน
อย่างต่อเนื่ อง มีสรุปผลการนิ เทศ และมีการนาผล
การนิ เทศไปใช้พฒั นางาน จานวนกี่โครงการ มี
สัดส่วนเป็ นไปตามเกณฑ์หรือไม่
 ในกรณี ท่ีโรงเรียนไม่มีเอกสารที่ระบุว่าเป็ น
แผนงาน หรือ โครงการอย่างชัดเจน ผูป้ ระเมิน
สามารถพิจารณาเอกสารอืน่ ที่ระบุกจิ กรรมหรือ
โครงการด้านสุขภาพของโรงเรียนทดแทนแผนงาน/
โครงการได้
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
การประเมินผล
5.มีการประเมินโครงการส่งเสริม
สุขภาพ
สัดส่วน 2 ใน 3ขึ้นไป  บันทึกผลการ
ของโครงการด้าน
ประเมิน
สุขภาพทัง้ หมด
ตรวจสอบจานวนโครงการด้านสุขภาพ (หรือ
เอกสารอืน่ ที่คล้ายคลึงกัน) ทัง้ หมดของโรงเรียนว่า
โครงการใดมีการประเมินผลบ้าง จานวนกี่
โครงการจากเอกสารที่บนั ทึกผลการประเมินหรือ
เอกสารอืน่ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
 คิดสัดส่วนจานวนโครงการที่มีการประเมิน จาก
จานวนโครงการด้านสุขภาพทัง้ หมด
หมายเหตุ : กรณีทโ่ี ครงการทีด่ าเนินการในปี
ปัจจุบนั (ปี ทป่ี ระเมิน) ยังอยู่ระหว่างการดาเนินการ
ให้ผูป้ ระเมินตรวจสอบโครงการย้อนหลังไปปี
การศึกษาก่อนหน้านี้
องค์ ประกอบที่3 โครงการร่ วมระหว่ างโรงเรียนกับชุ มชน
ตัวชี้วดั
1.โครงการที่เกี่ยงข้องกับสุขภาพเกิดจาก
การมีสว่ นร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สัดส่วน 4 ใน 5 ขึ้นไป  แผนงาน / โครงการ
ของโครงการด้านสุขภาพ  รายงานสรุปผลการ
ทัง้ หมด
ดาเนิ นงาน
ตรวจสอบเอกสาร เช่น แผนงาน
โครงการ รายงานสรุปผลการ
ดาเนิ นงาน บันทึกการประชุม หรือ
ภาพกิจกรรม ฯลฯ เพื่อดูว่าชุมชน
ได้เข้ามามีสว่ นร่วมจานวนกี่
โครงการ
 คิดสัดส่วนจากจานวนโครงการ
ด้านสุขภาพทัง้ หมดของโรงเรียน
(ชุมชน หมายถึง บุคลากรจาก
ภายนอกโรงเรียน เช่น ผูป้ กครอง
สมาชิกอบต. ประชาชนในหมู่บา้ น
เป็ นต้น)
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
2.ชุ ม ชนเข้า มามี ส่ว นร่ว มในโครงการ 5 ขัน้ ตอน  แผนงาน / โครงการ
อย่างเป็ นระบบ 5 ขัน้ ตอน อย่างน้อย 1
 รายงานสรุปผลการ
โครงการ
ดาเนิ นงาน
บันทึกการประชุม
1.ร่ ว มวิ เ คราะห์ส ภาพและสาเหตุ
ปัญหา
2.ร่วมวางแผน
3.ร่วมดาเนิ นการ
4.ร่วมตรวจสอบทบทวน
5.ร่วมแก้ไข พัฒนาปรับปรุง
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการ ร้อยละ 80
ร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
ขึ้นไป
 สุม่ สอบถามหรือสัมภาษณ์
นักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป (หรือ
ม.1 ขึ้นไปสาหรับโรงเรียน
มัธยม) ประมาณ 20 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ตรวจสอบการดาเนิ นงานของโครงการต่างๆ แต่
ละโครงการว่าชุมชนได้เข้ามามีสว่ นร่วมหรือไม่ มี
ส่วนร่วมในขัน้ ตอนใดบ้าง (ตามที่ระบุในตัวชี้วดั )
จากเอกสารต่างๆ เช่น แผนงาน โรงการ รายงาน
สรุปผลการดาเนิ นงาน บันทึกการประชุม ภาพ
กิจกรรม ฯลฯ
 เลือกโครงการ 1 โครงการที่ชุมชนมีสว่ นร่วมใน
ขัน้ ตอนต่างๆ มากที่สุดมาพิจารณาให้คะแนน
 สุม่ ตัวอย่างนักเรียน 20 คน (ระดับประ๔ม
ศึกษาสุม่ จากนักเรียนชัน้ ไป.4 ขึ้นไป ระดับ
มัธยมศึกษาสุม่ นักเรียนกระจายทุกระดับชัน้ )
 แจกแบบสอบถามให้นักเรียนตอบ (ในกรณี ท่ี
นักเรียนไม่เข้าใจคาถาผูป้ ระเมินสามารถอธิบาย
เพิ่มเติมได้)
 รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และคานวณค่า
ร้อยละ
(ใช้แบบสอบถาม “ความพึงพอใจต่อโครงการร่วม
ระหว่างโรงเรียนและชุมชน”ในภาคผนวก 2)
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
4.ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการร่วม ร้อยละ 60 ขึ้น
ไป
ระหว่างโรงเรียนและชุมชน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
 สอบถามหรือ
สัมภาษณ์ผูป้ กครอง
หรือประชาชน
ประมาณ 10 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 ประสานกับโรงเรียนเพื่อเชิญผูป้ กครองและ
สมาชิกในชุมชนจานวน 10 คนมาให้ขอ้ มูลในวันที่
เข้าประเมิน
 แจกแบบสอบถามให้ตอบ (ในกรณี ท่ีผูต้ อบไม่
สะดวกที่จะตอบแบบสอบถาม ให้ผูป้ ระเมินใช้วธิ ี
สัมภาษณ์ตอบแบบสอบถามแทน)
 รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และคานวณค่า
ร้อยละ
(ใช้แบบสอบถาม “ความพึงพอใจต่อโครงการร่วม
ระหว่างโรงเรียนและชุมชน”ในภาคผนวก 2)
องค์ ประกอบที่4 การจัดสิ่ งแวดล้ อมในโรงเรียนที่เอือ้ ต่ อสุ ขภาพ
ตัวชี้วดั
1. มาตรฐานสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อม
ในโรงเรียน
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  ผลการสารวจสุขาภิบาล
ทุกข้อ
สิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
ตามแบบสารวจใน
ภาคผนวกและสังเกตสภาพ
จริงเพิ่มเติมโดยผูป้ ระเมิน
2. การเกิดอุบตั ิเหตุจากสิ่งแวดล้อม ไม่มี
ในโรงเรียนที่ไม่สามารถมาโรงเรียน
ได้
 รายงานการเกิด
อุบตั ิเหตุของนักเรียนใน
โรงเรียน ย้อนหลัง 1 ปี
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 ผูป้ ระเมินใช้สารวจสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
ตามแบบสารวจ
(ในภาคผนวกของเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ)
 ในกรณี ท่ีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รบั ผิดชอบ
โรงเรียนสารวจไว้แล้ว (ภายในภาคเรียนนั้น) ให้
ผูป้ ระเมินขอดูเอกสารการสารวจ และทาการสุม่
สารวจอีกครัง้ โดยเลือกสารวจในบางข้อที่มี
ความสาคัญ หรือ ยังไม่แน่ ใจว่าจะผ่านมาตรฐาน
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่เกิดอุบตั ิเหตุท่ีมี
สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนจนไม่สามารถ
มาโรงเรียนได้ยอ้ นหลัง 1 ปี จากบันทึกของห้อง
พยาบาล หรือ บันทึกสรุปผลการดาเนิ นงานห้อง
พยาบาล
ตัวชี้วดั
3. ภาชนะขังน้ าในโรงเรียนไม่มี
ลูกน้ า
4.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ
บรรยากาศภายในโรงเรียน
เกณฑ์
ร้อยละ 100
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 เฉลี่ยจากผลการสารวจที่ผ่าน  ตรวจสอบเอกสารการสารวจแหล่งลูกน้ า
มาย้อนหลัง 3 ครัง้ และ ผู ้
ยุงลายย้อนหลัง 3 ครัง้
ประเมินสารวจเพิ่มเติม
 ผูป้ ระเมินสารวจเพิ่มเติมอีก 1 ครัง้ รวมเป็ น
4 ครัง้
หมายเหตุ กรณี ท่ีโรงเรียนไม่ได้เก็บเอกสารการ
สารวจไว้ท่ีโรงเรียนผูป้ ระเมินควรประสานงานกับ
สถานี อนามัยเพื่อขอดูเอกสารดังกล่าว
ร้อยละ 70ขึ้น  สุม่ สอบถาม / สัมภาษณ์
นักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป (หรือม.1
ไป
ขึ้นไป สาหรับโรงเรียนมัธยม)
ประมาณ 20 คน
 สุม่ ตัวอย่างนักเรียน 20 คน (ระดับ
ประถมศึกษาสุม่ จากนักเรียนชัน้ ป.4ขึ้นไป
ระดับมัธยมศึกษาสุม่ นักเรียนกระจายทุก
ระดับชัน้ )
 แจกแบบสอบถามให้นักเรียนตอบ (ในกรณี ท่ี
นักเรียนไม่เข้าใจคาถาม ผุป้ ระเมินสามารถ
อธิบายเพิ่มเติมได้)
 รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผลและคานวณค่า
ร้อยละ
(ใช้ แบบสอบถามนักเรียนเรื่อง “ความพึงพอใจ
ต่อบรรยากาศภายในโรงเรียน” ในภาคผนวก 3)
องค์ ประกอบที่5 บริการอนามัยโรงเรียนโรงเรียน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
การตรวจสุขภาพนักเรียน
1.นักเรียนชัน้ ป.1-ป.4 ได้รบั การตรวจ
สุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อยปี
ละ 1 ครัง้
ทุกคน
2.นักเรียน ป.5ขึ้นไปตรวจสุขภาพตนเอง
ภาคเรียนละ 1 ครัง้
ทุกคน
 อร.14
 สศ.3 / ระเบียนสะสม
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป1 – ป4 ที่
ได้รบั การตรวจสุขภาพโดยบุคลากร
สาธารณสุขจากสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัย
โรงเรียน (อร.14) หรือจากบันทึกการตรวจ
สุขภาพในบัตรสุขภาพ (สศ.3) หรือระเบียน
สะสม
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ได้รบั การตรวจ
สุขภาพ
 อร.14
 แบบบันทึกการตรวจ
สุขภาพด้วยตนเองหรือ
เอกสารอืน่ ที่มีลกั ษณะ
คล้ายกัน
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่มีการตรวจ
สุขภาพด้วยตนเองจากสมุดบันทึก กิจกรรม
อนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือจากแบบบันทึก
การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง หรือเอกสารอืน่ ที่
มีลกั ษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ตรวจสุขภาพด้วย
ตนเองจากจานวนนักเรียนชัน้ ป.5 ขึ้นไป
ทัง้ หมด
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
การเฝ้ าระวังภาวะสุขภาพ
3.นักเรียน ป.1 ขึ้นไปได้รบั การทดสอบ
สายตาปี ละ 1 ครัง้
ทุกคน
4.นักเรียน ป.1ขึ้นไปได้รบั การทดสอบการ
ได้ยนิ อย่างง่าย
ทุกคน
 อร.14
 สศ.3 / ระเบียนสะสม
 เอกสารอืน่ ที่มีลกั ษณะ
คล้ายกัน
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่ได้รบั การ
ทดสอบสายตาโดยใช้แผ่นทดสอบสายตา
จากสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน
(อร.14) หรือระเบียนสะสม
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ได้รบั การ
ทดสอบสายตา จากจานวนนักเรียนชัน้ ป.1
ขึ้นไปทัง้ หมด
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ได้รบั
การทดสอบการได้ยนิ จากสมุดบันทึก
กิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือบัตร
สศ.3 หรือระเบียนสะสม
 คานวณร้อยละนักเรียนชัน้ ป.1ที่ได้รบั การ
ทดสอบการได้ยนิ จากจานวนนักเรียนชัน้ ป.1
ทัง้ หมด
ตัวชี้วดั
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ทุกคน
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ที่ได้รบั การ
ตรวจสุขภาพช่องปากจากบันทึก “ทันตสุขภาพใน
นักเรียนประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัย
โรงเรียน (อร.14) หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสม
หรือระเบียนอืน่ ๆ
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ได้รบั การตรวจสุขภาพ
ช่องปาก
หมายเหตุ นักเรียนชัน้ ป.1-ป.4 ได้รบั การตรวจสุขภาพ
ช่องปากจากบุคลากรสาธารณสุข หรือครู และ
นักเรียนชัน้ ป.5-ป.6 ได้ตรวจสุขภาพช่องปากด้วย
ตนเองและตรวจซ้าเพื่อยืนยันผลโดยครู
6.นักเรียนป.1- ป. 6ไม่มีฟันแท้ผุ (ฟัน ทุกคน
ที่ได้รบั การอุดหรือแก้ไขแล้วถือว่าไม่ผ)ุ
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ที่ตรวจ
พบว่ามีฟันแท้ผุจากบันทึก “ทันตสุขภาพในนักเรียน
ประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน
(อร.14) หรือตรวจสอบจานวนจากบัตรสศ.3 ระเบียน
สะสม หรือเอกสารอืน่ ที่มีลกั ษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ไม่มีฟันแท้ผุจากจานวน
นักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ทัง้ หมด
5.นักเรียนป.1- ป. 6ได้รบั การตรวจ
สุขภาพช่องปากโดยบุคลากร
สาธารณสุข หรือครูอย่างน้อยปี ละ 1
ครัง้
เกณฑ์
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
7.นักเรียนป.1- ป. 6ไม่มีภาวะเหงือก
อักเสบ
ร้อยละ 50 ขึ้น เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3
ไป
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ที่มี “สภาวะ
เหงือกปกติ” จากบันทึก “ทันตสุขภาพในนักเรียน
ประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน
(อร.14) หรือผลการตรวจสุขภาพในบัตร สศ.3 หรือ
ระเบียนสะสม
 คานวณร้อยละนักเรียนที่มีสภาวะเหงือกปกติ จาก
จานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ทัง้ หมด
8.นักเรียน ป.1 ได้รบั วัคซีนป้ องกันหัด
หัดเยอรมัน คางทูม (MMR)
ร้อยละ 95 ขึ้น อร.14
ไป
 สศ.3 /ระเบียนสะสม
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ได้รบั วัคซีน
ป้ องกันหัด หัดเยอรมัน คางทูม (MMR) จาก อร.14
หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอืน่ ที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ได้รบั วัคซีน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
9.นักเรียนป.1 ไม่เคยได้รบั วัคซีน ทุกคน
ป้ องกันวัณโรค(BCG)มาก่อน
หรือไม่มีประวัติแน่ ชดั และไม่มี
รอยแผลเป็ นต้องได้รบั วัคซีน
(BCG) อีกครัง้
10.นักเรียนป.1 ไม่เคยได้รบั
ทุกคน
วัคซีนป้ องกันโรคคอตีบ
บาดทะยัก ไอกรน (DTP)และ
วัคซีนป้ องกันโรคโปลิโอ
(OPV)หรือเคยได้รบั น้อยกว่า
5 ครัง้ ต้องได้รบั วัคซีน DTP
และ OPVตามเงื่อนไข
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
อร.14
 สศ.3 /ระเบียน
สะสม
 สอบถามครูอนามัยหรือครูประจาชัน้ นักเรียนชัน้ ป.1 ถึงวิธีการ
คัดเลือกนักเรียนเพื่อมาฉี ดวัคซีนป้ องกันวัณโรคว่าเป็ นไปตามที่
ระบุไว้ในตัวชี้วดั หรือไม่ และนักเรียนที่ตอ้ งได้รบั วัคซีนมีจานวน
เท่าไร
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ได้รบั วัคซีนป้ องกันวัณโรค
จาก อร.14 หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสมหรือเอกสารอืน่ ที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละของนักเรียนที่ได้รบั วัคซีนโดยเทียบจานวนเต็ม
จากจานวนที่ได้สารวจไว้
อร.14
 สศ.3 /ระเบียน
สะสม
สอบถามครูอนามัยหรือครูประจาชัน้ นักเรียนชัน้ ป.1 ถึงวิธีการ
คัดเลือกนักเรียนเพื่อมาฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอ
กรน และโปลิโอว่ามีความเหมาะสมถูกต้องตามที่ระบุไว้ในตัวชี้วดั
หรือไม่ และนักเรียนที่ตอ้ งได้รบั วัคซีนมีจานวนเท่าไร
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ได้รบั วัคซีน(ตามตัวชี้วดั )
จากอร.14 หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสมหรือเอกสารอืน่ ที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละของนักเรียนที่ได้รบั วัคซีนโดยเทียบจานวนเต็ม
จากจานวนที่ได้สารวจไว้
ตัวชี้วดั
11.นักเรียน ป.6 ได้รบั การฉี ดวัคซีน
ป้ องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
(DT)กระตุน้
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ร้อยละ 95 ขึ้น อร.14
ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ป.6 ที่ได้รบั วัคซีน
ไป
 สศ.3 /ระเบียนสะสม ป้ องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก จากอร.14 หรือบัตร
สศ.3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอืน่ ที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
 คานวณร้อยละของนักเรียนที่ได้รบั วัคซีน
การจัดบริการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
12.นักเรียนที่มีปญั หาสุขภาพ (เช่น เหา
พยาธิ ฯลฯ) ) ได้รบั การรักษา
ทุกคน
สุม่ สอบถาม /
สัมภาษณ์นักเรียนชัน้
ป.4 ขึ้นไป ประมาณ 20
คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป จานวน 20
คนจากนั้นให้สอบถามหรือสัมภาษณ์นักเรียน (ใช้
แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
หมายเหตุ การรักษา หมายถึงการดาเนิ นการใดๆ
เพื่อให้โรค หรือปัญหาสุขภาพได้รบั การแก้ไขจน
หมดไป ซึ่งอาจไม่ใช่วิธีการใช้ยาก็ได้
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
13.นักเรียนที่เจ็บป่ วยเกินขอบเขตการ
ทุกคน
บริการของห้องพยาบาล (เช่น ภาวะโลหิต
จาง คอพอก ฟันผุ โรคในช่องปาก ฯลฯ)
ได้รบั การส่งต่อเพื่อการรักษา
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สมุดบันทึกรายชื่อ
สอบถามจากครูอนามัยเรื่อง จานวนนักเรียนที่
ผูร้ บั บริการและการส่งต่อ เจ็บป่ วยมากเกินขอบเขตบริการของห้องพยาบาล
และวิธีช่วยเหลือนักเรียนกลุม่ นี้ (ควรเป็ นวิธีท่ี
เหมาะสม เช่น พาไปสถานี อนามัยเขียนจด
หมายถึงผูป้ กครองให้พานักเรียนไปตรวจรักษา ที่
ไม่ใช่บอกด้วยวาจาให้นักเรียนไปหาหมอเอง)
 ตรวจสอบเอกสารของห้องพยาบาลเพื่อหา
หลักฐานการให้ความช่วยเหลือหรือการส่งต่อ
นักเรียนไปรับบริการ ณ สถานบริการสุขภาพ
ภายนอกโรงเรียนและตรวจสอบสอบจานวน
 คานวณค่าร้อยละ
สาหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
อร.14
 แบบบันทึกการตรวจ
สุขภาพด้วยตนเองหรือ
เอกสารอืน่ ที่มีลกั ษณะ
คล้ายกัน
ตรวจสอบจานวนนักเรียนชัน้ ม.1 ขึ้นไปที่ได้
ตรวจสุขภาพตนเองจากอร.14 หรือบันทึกของห้อง
พยาบาล
 ตรวจสอบแบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
หรือเอกสารอืน่ ที่มีลกั ษณะคล้ายกัน เพื่อยืนยันว่า
นักเรียนชัน้ ม.1 ขึ้นไปมีการตรวจสุขภาพด้วย
ตนเองจริง
 คานวณร้อยละของนักเรียนที่มีการตรวจสุขภาพ
ด้วยตนเอง
 อร.14
 สศ.3 / ระเบียนสะสม
 เอกสารอืน่ ที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่ดีรบั การทดสอบ
สายตาจาก อร.14 หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียน
สะสมหรือแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
 คานวณร้อยละนักเรียนที่ได้รบั การทดสอบ
สายตา
การตรวจสุขภาพนักเรียน
1. นักเรียนชัน้ ม.1 ขึ้นไป ตรวจสุขภาพด้วย ทุกคน
ตนเอง ภาคเรียนละ 1 ครัง้
2. นักเรียนทุกชัน้ ได้รบั การทดสอบสายตาปี
ละ 1 ครัง้
ทุกคน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
3. นักเรียนที่มีปญั หาด้านสุขภาพ (เช่น มีไข้ ทุกคน
เป็ นหวัด ปวดท้อง ฯลฯ) ได้รบั การรักษา
4. นักเรียนที่เจ็บป่ วยเกินขอบเขตการบริการ ทุกคน
ของห้องพยาบาล ( เช่น หอบหืด โลหิตจาง
ฯลฯ) ได้รบั การแนะนาช่วยเหลือ / ส่งต่อ
เพื่อการรักษา
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สุม่ สอบถามหรือ
สัมภาษณ์นักเรียนทุก
ระดับชัน้ ประมาณ 20 คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ม.1 ขึ้นไป จานวน 20
คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ
 คานวณร้อยละขากจานวนเต็ม 20 คน
( ใช้แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
 สมุดบันทึกรายชื่อ
ผูร้ บั บริการและการส่งต่อ
สอบถามจากครูอนามัยเรื่อง จานวนนักเรียนที่
เจ็บป่ วยมากเกินขอบเขตบริการของห้องพยาบาล
และวิธีช่วยเหลือนักเรียนกลุม่ นี้ (ควรเป็ นวิธีท่ี
เหมาะสม เช่น พาไปสถานี อนามัย เขียนจด
หมายถึงผูป้ กครองให้พานักเรียนไปตรวจรักษา ที่
ไม่ใช่บอกด้วยวาจาให้นักเรียนไปหาหมอเอง
 ตรวจสอบเอกสารของห้องพยาบาลเพื่อหา
หลักฐานการให้ความช่วยเหลือ หรือการส่งต่อ
นักเรียนไปรับบริการ ณ สถานบริการสุขภาพ
ภายนอกโรงเรียนและตรวจสอบจานวน
 คานวณค่าร้อยละ
องค์ประกอบที่ 6 สุ ขศึกษาโรงเรี ยนโรงเรี ยน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
1.นักเรียนได้รบั การฝึ กทักษะในเรื่องต่อไปนี้
 สุม่ สอบถามหรือ
สัมภาษณ์นักเรียนชัน้ ป.4
ขึ้นไปประมาณ 20 คน
1.1การรักษาความสะอาดร่างกาย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.2 การล้างมือ
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.3 การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.4 การไม่รบั ประทานอาหารที่มีสารอันตราย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.5 การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.6การป้ องกันอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.7การหลีกเลี่ยงการพนัน การเที่ยวกลางคืน
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.8 การจัดการอารมณ์ของตนเอง
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.9ความปลอดภัยในชีวติ และการถูกล่วงละเมิด
ทางเพศ
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
 สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้น
ไปจานวน 20 คน แจก
แบบสอบถามให้ตอบ หรือ
สัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม
 คานวณร้อยละจากจานวนเต็ม
20 คน
(ใช้แบบสอบถาม “สุขศึกษาใน
โรงเรียน” ในภาคผนวก 4)
ตัวชี้วดั
2. มีกจิ กรรมเผยแพร่ความรู ้
ด้านสุขภาพในโรงเรียน (เช่น
เสียงตามสาย การรณรงค์
ป้ ายนิ เทศ นิ ทรรศการ แจก
เอกสาร ฯลฯ)
เกณฑ์
3 กิจกรรม
ขึ้นไป
3. นักเรียน ป.1 – ป.6 แปรง ทุกคน
ฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
4. นักเรียนทุกชัน้ ไม่เป็ นเหา
ทุกคน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 สอบถามครูอนามัย
 บันทึกการจัดกิจกรรม
สอบถามครูอนามัย หรือ ตรวจสอบบันทึกการจัด
กิจกรรม เพื่อยืนยันว่ามีกจิ กรรมเผยแพร่ความรู ้
ด้านสุขภาพในโรงเรียน 3 กิจกรรมขึ้นไปจริง
 สุม่ ตรวจสอบนักเรียนในชัน้
พร้อมดูสถานที่อปุ กรณ์ประกอบ
 สักเกตกิจกรรมการแปรงฟัน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไปจานวน 20 คน
แจกแบบสอบถามให้ตอบ
 คานวณร้อยละจากจานวนเต็ม 20 คน
 สารวจสถานที่และอุปกรณ์การแปรงฟันหรือ
สังเกตกิจกรรมการแปรงฟันของนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6
เพื่อยืนยันว่านักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหาร
กลางวันทุกวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์จริง
(ใช้แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
 สุม่ ตรวจผมนักเรียนหญิง 10 คน สุม่ ตัวอย่างนักเรียนหญิงจากทุกชัน้ จานวน 10 คน
เพื่อตรวจหานักเรียนที่เป็ นเหา
 คานวณร้อยละจากจานวนเต็มที่ตรวจผม
สาหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
1. นักเรียนเคยได้รบั การฝึ กทักษะในเรื่องต่อไปนี้
สุม่ สอบถามหรือสัมภาษณ์ สุม่ ตัวอย่างนักเรียนทุกระดับชัน้ จานวน 20
นักเรียนทุกระดับชัน้
คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ
ประมาณ 20 คน
 คานวณร้อยละจากจานวนเต็ม 20 คน
(ใช้แบบสอบถาม “สุขศึกษาในโรงเรียน” ใน
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
ภาคผนวก 4)
1.1 การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อ
ร่างกาย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.2 การไม่รบั ประทานอาหารที่มีสาร
อันตราย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.3 การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.4 การป้ องกันอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.5 การหลีกเลี่ยงการพนัน การเที่ยว
กลางคืน
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.6 การจัดการอารมณ์ของตนเอง
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
1.7 การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์กอ่ น
วัยอันควร
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 1.1
2. มีกจิ กรรมเผยแพร่ความรู ้ ด้านสุขภาพ 3 กิจกรรมขึ้นไป
ในโรงเรียน (เช่น เสียงตามสาย การ
รณรงค์ ป้ ายนิ เทศ นิ ทรรศการ แจก
เอกสาร ฯลฯ
สอบถามครูอนามัย
 บันทึกการจัดกิจกรรม
 สอบถามครูอนามัยว่าโรงเรียนได้จดั
กิจกรรมเผยแพร่ความรูเ้ รื่องอะไรบ้าง หรือ
ตรวจสอบบันทึกการจัดกิจกรรมเผยแพร่
ความรูด้ า้ นสุขภาพ
องค์ ประกอบที่7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
1.นักเรียนป.1ขึ้นไปมีสว่ นสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 ขึ้นไป
อายุ อยูใ่ นเกณฑ์ดี (ส่วนสูงตาม
เกณฑ์+ค่อนข้างสูง+สูง) ตามกราฟ
แสดงเกณฑ์อา้ งอิงการเจริญเติบโตของ
กรมอนามัย (2542)
2.นักเรียน ป.1ขึ้นไปมีน้ าหนักตาม
เกณฑ์สว่ นสูงอยูใ่ นเกณฑ์ดี
(สมส่วน)
ร้อยละ 85 ขึ้นไป
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 อร.14
 รายงานการเฝ้ าระวัง
ภาวการณ์เจริญเติบโต
ของนักเรียน
 อืน่ ๆ
ตรวจสอบจานวนนักเรียน “เตี้ย” จากอร.14
(หรือเอกสารอืน่ ที่บนั ทึกไว้) นาจานวนมาคิด
ร้อยละเทียบจากจานวนนักเรียนที่ชงั ่ น้ าหนัก
วัดส่วนสูงทัง้ หมด
 นาร้อยละของนักเรียน “เตี้ย”ลบจาก 100
ได้เป็ นร้อยละของนักเรียนที่มีสว่ นสูงตาม
เกณฑ์อายุอยูใ่ นเกณฑ์ดี
เช่นเดียวกับข้อ 1
ตรวจสอบจานวนนักเรียน ที่มีน้ าหนักตาม
เกณฑ์สว่ นสูงอยูใ่ นเกณฑ์ดี (ในอร.14 ใช้คา
ว่า “น้ าหนักตามเกณฑ์สว่ นสูงปกติ”) จาก
สรุปผลการเฝ้ าระวังภาวะการเจริญเติบโตใน
สมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14)
หรือเอกสารอืน่ ของโรงเรียน
ตัวชี้วดั
3.นักเรียนที่พบว่ามีภาวะการ
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ทุกคน
 โครงการหรือวิธีแก้ไข
ที่โรงเรียนจัดทา
ตรวจสอบจานวนนักเรียน ที่มีภาวะการ
เจริญเติบโตผิดปกติจากสมุดบันทึกกิจกรรม
อนามัยโรงเรียนอร.14 หรือเอกสารอืน่ ของ
โรงเรียน
 ตรวจสอบเอกสารโครงการหรือบันทึกการ
แก้ไขของโรงเรียน เพื่อยืนยันว่านักเรียนที่มี
ภาวะการเจริญเติบโตผิดปกติได้รบั การแก้ไข
จริง
 คานวณค่าร้อยละจากจานวนนักเรียนที่มี
ภาวะการเจริญเติบโตผิดปกติทง้ั หมด
ทุกคน
 โครงการ / กิจกรรม
ของโรงเรียน
 สอบถามครูอนามัย หรืตรวจสอบเอกสาร
เฃ่น โครงการ บันทึกกิจกรรมด้านสุขของ
โรงเรียน หรือเอกสารอืน่ ๆ เพื่อยืนยันว่า
นักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ได้รบั ยาเม็ดเสริมธาตุ
เหล็ก 1 เม็ด (60 มิลลิกรัม) ต่อสัปดาห์จริง
 คานวณค่าร้อยละจากจานวนนักเรียน
ชัน้ ป.1-ป.6ทัง้ หมด
เจริญเติบโตผิดปกติ ได้รบั การแก้ไข
4. นักเรียนชัน้ ป.1 ขึ้นไปได้รบั ยาเม็ด
เสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด (60 มิลลิกรัม)
ต่อสัปดาห์
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
5.นักเรียนได้รบั การตรวจภาวะ ทุกคน
ขาดสารไอดีโดยวิธี คลาคอ ปี ละ
1 ครัง้
6.นักเรียนได้รบั สารอาหารครบ
5 หมู่ทกุ วัน
ทุกคน
7.นักเรียน ป.1 – ป.6 ได้ด่ืม
นมทุกวัน (ยกเว้นนักเรียนที่มี
ภาวะโภชนาการเกิน)
ทุกคน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 อร.14
 สศ.3
ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่ได้รบั การตรวจภาวะขนาดสาร
ไอโอดีน (ด้วยวิธีคลาคอ) จากเอกสารต่างๆ เช่น อร.14 บัตร
สุขภาพ (สศ.3) แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองหรือ
เอกสารอืน่ ๆ
 คานวณค่าร้อยละจากจานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ทัง้ หมด
 สุม่ สอบถามหรือ
สัมภาษณ์นักเรียน
ชัน้ ป.4 ขึ้นไป ประมาณ
20 คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไปให้กระจายทุกชัน้ จานวน 20
คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ (กรณี ท่ีนักเรียนไม่เข้าใจ อาจใช้
วิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามแทนได้)
 รวบรวมแบบสอบถาม และสรุกผล
(ใช้แบบสอบถาม “การรับประทาน” ในภาคผนวก 6)
 เช่นเดียวกับตัวชี้วดั สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไปให้กระจายทุกชัน้ จานวน 20
ที่ 6
คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ (กรณี ท่ีนักเรียนไม่เข้าใจ อาจใช้
วิธีการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามแทนได้)
 รวบรวมแบบสอบถาม และคานวณค่าร้อยละ
(ใช้แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
หมายเหตุ : การดื่มนมทุกวันอนุ โลมให้หมายถึง เฉพาะวันเปิ ด
เรียนได้
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
8.นักเรียนมีความรูใ้ นการเลือก
รับประทานอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก
โภชนาการและความปลอดภัย
ทุกคน
 เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 6
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไปให้กระจาย
ทุกชัน้ จานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให้
ตอบ รวบรวมแบบสอบถามเพื่อสรุป
(ใช้แบบสอบถาม “ความรูใ้ นการเลือก
รับประทานอาหาร” ในภาคผนวก 5)
9.การจาหน่ ายอาหารที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพ(เช่นทอฟฟี่ ขนมกรุบกรอบ
น้ าอัดลม)
ไม่มี
สารวจสภาพจริง
ผูป้ ระเมินสารวจโรงอาหารร้านค้าสหกรณ์
ฯลฯ เพื่อดูว่ามีการจาหน่ ายอาหารที่มีผลเสีย
ต่อสุขภาพหรือไม่
10.มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของโรง
อาหารในโรงเรียน
ผ่านมาตรฐานทุก ผลการสารวจสุขาภิบาล
ข้อ (30 ข้อ)
อาหารตามแบบสารวจใน
ภาคผนวก และสังเกตสภาพ
จริงโดยผูป้ ระเมิน
ผูป้ ระเมินสารวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
ตามแบบสารวจ
(ในภาคผนวกของเกณฑ์มาตรฐานการ
ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ)
 ในกรณี ท่ีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รบั ผิดชอบ
โรงเรียนสารวจไว้แล้ว(ภายในภาคเรียนนั้น)
ให้ผูป้ ระเมินขอดูเอกสารสารวจ และทาการสุม่
สารวจอีกครัง้ โดยเลือกในบางข้อที่มี
ความสาคัญ หรือ ยังไม่แน่ ใจว่าจะผ่าน
มาตรฐาน
สาหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
1. นักเรียนมีสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุอยู่ ร้อย 95 ขึ้นไป
ในเกณฑ์ดี (ส่วนสูงตามเกณฑ์+
ค่อนข้างสูง+สูง) ตามกราฟแสดงเกณฑ์
อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย
2542)
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
อร.14
 รายงานการเฝ้ าระวัง
ภาวะการเจริญเติบโตของ
นักเรียน
 อืน่ ๆ
2.นักเรียนป.1ขึ้นไปมีน้ าหนักตาม
เกณฑ์สว่ นสูงอยูใ่ นเกณฑ์ดี
(สมส่วน)
ร้อยละ 85 ขึ้นไป เช่นเดียวกับข้อ 1
3.นักเรียนที่พบว่ามีภาวะการ
ทุกคน
เจริญเติบโตผิดปกติ ได้รบั การแก้ไข
 โครงการหรือวิธีแก้ไขที่
โรงเรียนจัดทา
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ตรวจสอบจานวนนักเรียน “เตี้ย” จากอร.14
(หรือเอกสารอืน่ ที่บนั ทึกไว้) นาจานวนมาคิด
ร้อยละเทียบจากจานวนนักเรียนที่ชงั ่ น้ าหนัก
วัดส่วนสูงทัง้ หมด
 นาร้อยละของนักเรียน “เตี้ย”ลบจาก 100
ได้เป็ นร้อยละของนักเรียนที่มีสว่ นสูงตาม
เกณฑ์อายุอยูใ่ นเกณฑ์ดี
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น อร.14
รายงานการเฝ้ าระวังภาวะการเจริญเติบโตของ
นักเรียน หรือเอกสารอืน่ ๆ เพื่อยืนยันว่า
นักเรียนมีน้ าหนักตามเกณฑ์สว่ นสูงอยูใ่ น
เกณฑ์ดีจริง
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น
โครงการหรือบันทึกการแก้ไขของโรงเรียน
เพื่อยืนยันว่านักเรียนที่มีภาวะการเจริญเติบโต
ผิดปกติได้รบั การแก้ไขจริง
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
4.นักเรียนได้รบั สารอาหารครบ 5 หมู่ ทุกคน
ทุกวัน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 สุม่ สอบถามหรือ
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนให้กระจายทุกระดับชัน้ จานวน 20 คน
สัมภาษณ์นักเรียนชัน้ ป.4 ให้ตอบแบบสอบถาม
ขึ้นไป ประมาณ 20 คน (ใช้แบบสอบถาม “การรับประทาน” ในภาคผนวก 6)
5. นักเรียนมีความรูใ้ นการเลือก
รับประทานอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก
โภชนาการและความปลอดภัย
ร้อยละ 85 ขึ้น เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 4
ไป
6. การจาหน่ ายอาหารที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพ (เช่น ทอฟฟี่ น้ าอัดลม ขนม
ไม่มี
สังเกตสภาพจริง
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนให้กระจายทุกระดับชัน้ จานวน 20 คน
ให้ตอบแบบสอบถาม
(ใช้แบบสอบถาม “ความรูใ้ นการเลือกรับประทานอาหาร” ใน
ภาคผนวก 5)
ผูป้ ระเมินสารวจโรงอาหาร ร้านค้า สหกรณ์ ฯลฯ เพื่อดูว่า
มีการจาหน่ ายอาหารที่มีผลเสียต่อสุขภาพหรือไม่
ถุงกรุบกรอบ ฯลฯ)
7. มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของโรง
อาหารในโรงเรียน
ผ่านมาตรฐาน ผลการสารวจ
ทุกข้อ (30
สุขาภิบาลอาหารตาม
ข้อ)
แบบสารวจในภาคผนวก
และสังเกตสภาพจริงโดย
ผูป้ ระเมิน
ผูป้ ระเมินสุขาภิบาลอาหารของโรงเรียน*
 ในกรณี ท่ีจนท.สาธารณสุขที่รบั ผิดชอบโรงเรียนสารวจไว้
แล้ว (ภายในภาคเรียนนั้น) ให้ผูป้ ระเมินขอดูเอกสารการ
สารวจ และทาการสุม่ สารวจอีกครัง้ โดยเลือกสารวจในบาง
ข้อที่มีความสาคัญ หรือยังไม่แน่ ใจว่าจะผ่านมาตรฐาน
( * ใช้ “แบบสารวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน”ใน
ภาคผนวกของเอกสาร ”เกณฑ์มาตรฐานการประเมิน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพฯ)
องค์ ประกอบที่8 การออกกาลังกาย กีฬา และนันทนาการ
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
1.มีสถานที่และอุปกรณ์ออกกาลังกาย มีทง้ั สถานที่และ
ที่อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน
อุปกรณ์
2.จัดกิจกรรมออกกาลังกายสาหรับ
นักเรียน /ประชาชน
3. มีชมรม/ ชมนุ ม/ กลุม่ กิจกรรม
ออกกาลังกาย กีฬา นันทนาการใน
โรงเรียน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
สังเกต
อย่างน้อยสัปดาห์ละ  สอบถามครู
3 วันๆละอย่างน้อย พลานามัย
 บันทึกการจัด
30นาที
กิจกรรม
1 ชมรม / ชุมนุ ม/
กลุม่ ขึ้นไป
4.นักเรียนได้รบั การทดสอบ
ทุกคน
สมรรถภาพทางกายอย่างน้อยปี ละ 1
ครัง้ ตามเกณฑ์ทดสอบที่ได้รบั การ
ยอมรับ
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 ผูป้ ระเมินสารวจสถานที่ และอุปกรณ์ออกกาลัง
กายของโรงเรียนว่าอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน ไม่
ชารุดเสียหายจนอาจเป็ นอันตรายต่อนักเรียน
 สอบถามครูพลานามัยหรือตรวจสอบเอกสารที่
บันทึกการจัดกิจกรรมของโรงเรียนถึงลักษณะของ
กิจกรรม จานวนวันที่จดั และระยะเวลาที่จดั ว่า
เป็ นไปตามเกณฑ์หรือไม่
 บันทึกของชมรม /
ชุมนุ ม / กลุม่
 ตรวจสอบเอกสารที่มีการบันทึกกิจกรรมของ
ชมรม หรือชุมนุ ม หรือกลุม่ ที่ทากิจกรรมออกกาลัง
กาย กีฬา นันทนาการ
 รายงานผลการ
ทดสอบสมรรถภาพ
นักเรียน
 ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่ได้รบั การทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย จากเอกสารของโรงเรียนที่
บันทึกไว้ยอ้ นหลังไม่เกิน 1 ปี การศึกษา
 คานวณร้อยละจากจานวนนักเรียนทัง้ หมด
ตัวชี้วดั
5.นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน
6.ให้คาปรึกษาแก่นักเรียนที่ไม่ผ่าน
เกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
และติดตามความก้าวหน้า
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
ร้อยละ 60 ขึ้นไป  เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 4  ตรวจสอบจานวนนักเรียนที่ได้รบั การทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย และจานวนนักเรียนที่ผ่าน
เกณฑ์มาตรฐานจากเอกสารของโรงเรียนที่บนั ทึก
ไว้ยอ้ นหลังไม่เกิน 1 ปี การศึกษา
 คานวณร้อยละ โดยคิดฐานจากจานวนนักเรียน
ที่ได้รบั การทดสอบทัง้ โรงเรียน
ทุกคน
 สอบถามครูพลานามัย
 บันทึกของครูพลานามัย
 สุม่ สอบถามนักเรียนที่
ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบ
ประมาณ 20 คน
สอบถามครูพลานามัยเรื่องวิธีดาเนิ นการกับ
นักเรียนที่ไม่ผ่านการทดสอบ หรือตรวจสอบ
บันทึกเรื่องการทดสอบสมรรถภาพของครู
พลานามัย
 สุม่ สอบถามนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบ
ประมาณ 20 คน กรณี ท่ีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
ทดสอบสมรรถภาพทางกายน้อยกว่า 10 คนให้
สอบถามทุกคน
องค์ ประกอบที่9 การให้ คาปรึกษาและสนับสนุนทางสั งคม
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
1.ครูประจาชัน้ คัดกรอง
ครูประจาชัน้
และสามารถระบุท่ีมีปญั หา ทุกคน
ได้
2นักเรียนที่มีพฤติกรรม
เสี่ยงได้รบั การเฝ้ าระวัง
และช่วยเหลือเบื้องต้น
ทุกคน
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 รายงานผลการสารวจ
นักเรียนรายบุคคล
 แฟ้ มประวัตินักเรียน
 รายงานระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน
ในโรงเรียนที่มีระบบดูแลช่วยเหลือให้ตรวจสอบเอกสาร เช่น
สรุปผลการสารวจนักเรียนรายบุคคล แฟ้ มประวัตนิ ักเรียน จาก
ครูประจาชัน้
 ในกรณี ท่ีโรงเรียนแจ้งว่ายังไม่มีการดาเนิ นงานระบบดูแล
ช่วยเหลือให้สุม่สอบถามจากครูประจาชัน้ ว่ามีวธิ ีการใดในการคัด
กรอกนักเรียนว่ามีการบันทึกข้อมูลการคัดกรองไว้หรือไม่
กรณี ท่ีเป็ นโรงเรียนขนาดใหญ่ให้ผูป้ ระเมินพิจารณาสุม่ ตรวจสอบ
เอกสารบางชัน้ เรียน
 สมุดบันทึกพฤติกรรม
นักเรียน
 สุมดบันทึกของครู
ประจาชัน้
สอบถามจากครูแนะแนว หรือครูประจาชัน้
 ตรวจสอบเอกสารที่บนั ทึกเรื่องการช่วยเหลือนักเรียนที่มี
พฤติกรรมเสี่ยง เช่น สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน หรือสมุด
บันทึกของครูประจาชัน้ เพื่อยืนยันว่านักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
ได้รบั การเฝ้ าระวังและช่วยเหลือในเบื้องต้นจริง
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
3.นักเรียนที่มีปญั หาเกินขีดความสามารถ ทุกคน
ของโรงเรียนได้รบั การส่งต่อ
4.นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและที่ได้รบั ทุกคน
การช่วยเหลือหรือส่งต่อ ได้รบั การติดตาม
จากครู
5.นักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน /พ่อแม่/ ทุกคน
ญาติพ่นี อ้ ง/ ครูทกุ ครัง้ ที่มีปญั หา
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 2 ตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น สมุดบันทึก
 บันทึกการส่งต่อ
พฤติกรรมนักเรียน สมุดบันทึกของครูประจาชัน้
หรือสมุดบันทึกการส่งต่อ เพื่อยืนยันว่านักเรียนที่มี
ปัญหาเกินขีดความสามารถของโรงเรียนได้รบั การส่ง
ต่อจริง
 เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3 ตรวจสอบเกสารหลักฐานต่างๆ เช่น สมุดบันทึก
พฤติกรรมนักเรียน สมุดบันทึกของครูประจาชัน้
หรือสมุดบันทึกการส่งต่อ เพื่อยืนยันว่าครูได้มีการ
ติดตามนักเรียนที่มีพฤติกรรมการเสีย่ งและที่ได้รบั
การช่วยเหลือหรือส่งต่อจริง
 สุม่ สอบถามหรือ
สัมภาษณ์นักเรียนชัน้ ป.4
ขึ้นไป (หรือม.1 ขึ้นไป
สาหรับโรงเรียนมัธยม)
ประมาณ 20 คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป (ในโรงเรียน
ประถม และสุม่ กระจายทุกระดับชัน้ ในโรงเรียน
มัธยม) จานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให้ตอบ
 รวบรวมสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก
8)
องค์ ประกอบที่10 การส่ งเสริมสุ ขภาพบุคลากรในโรงเรียน
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
1.บุคลากรในโรงเรียนมีการ
สัดส่วน3 ใน 4 ขึ้นไป  สุม่ สัมภาษณ์
ประเมินสุขภาพ อย่างน้อยปี ละ 1 ของบุคลากรในโรงเรียน บุคลากรในโรงเรียน
ทัง้ หมด
ประมาณ 10 คน
ครัง้
 หลักฐานการตรวจ
สุขภาพ
 หลักฐานอืน่ ๆ
2.บุคลากรได้รบั ข้อมูลข่าวสาร
เรื่องสุขภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละ
1 ครัง้ (จากทุกแหล่งข้อมูล เช่น
โทรทัศน์ เสียงตามสาย
หนังสือพิมพ์ เป็ นต้น)
ทุกคน
 ทุกคน
 2 ใน 3 ขึ้นไป
 1 ใน 3 ขึ้นไป
 ไม่มี
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
สุม่ ตัวอย่างบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากร
อืน่ ) จานวน 10 คน ให้ตอบแบบสอบถามหรือ
สัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม
 หรือ ตรวจสอบเอกสาร เช่น หลักฐานการตรวจ
สุขภาพ หรือหลักฐานอืน่ ๆ ที่แสดงว่ามีการประมเน
สุขภาพ
 คิดสัดส่วนผูท้ ่ีมีการประเมินสุขภาพ
(ใช้แบบสอบถาม “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน” ในภาคผนวก 7)
สุม่ ตัวอย่างบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากร
อืน่ ) จานวน 10 คน ให้ตอบแบบสอบถามหรือ
สัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม
 รวบรวมแบบสอบถาม และคิดสัดส่วนผุไ้ ด้รบั
ข้อมูล
(ใช้แบบสอบถาม “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน” ในภาคผนวก 7)
ตัวชี้วดั
เกณฑ์
แหล่งข้อมูล/วิธีพสิ ูจน์
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล/เครื่องมือที่ใช้
 สุม่ สอบถาม /
สัมภาษณ์นักเรียนชัน้ ป.4
ขึ้นไป (หรือม.1 ขึ้นไป
สาหรับโรงเรียนมัธยม)
ประมาณ 20 คน
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป (หรือม.1ขึ้นไป
สาหรับโรงเรียนมัธยม) จานวน 20 คน ให้ตอบ
แบบสอบถามหรือสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม
(ใช้แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
 สารวจสภาพจริง
 สอบถามครูหรือ
นักเรียน
ผูป้ ระเมินจากการสารวจสภาพจริงในโรงเรียน หรือ
 สอบถามจากครูหรือนักเรียน
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 3
สุม่ ตัวอย่างนักเรียนชัน้ ป.4 ขึ้นไป (สาหรับโรงเรียน
ประถม หรือม.1ขึ้นไป สาหรับโรงเรียนมัธยม) จานวน
20 คน ให้ตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ์ตาม
แบบสอบถาม
(ใช้แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่างๆ” ในภาคผนวก 8)
6.บุคลากรในโรงเรียนร่วมกิจกรรม สัดส่วน 3 ใน 4
เช่นเดียวกับตัวชี้วดั ที่ 2
ด้านส่งเสริมสุขภาพที่จดั ขึ้นตาม
ขึ้นไปของบุคลากร
แผนงานของโรงเรียน
ในโรงเรียนทัง้ หมด
สุม่ ตัวอย่างบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากรอืน่ )
จานวน 10 คน ให้ตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ์
ตามแบบสอบถาม
 คิดสัดส่วนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม
(ใช้แบบสอบถาม “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน” ในภาคผนวก 7
3.การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน
ไม่มี
4.โรงเรียนมีมาตรการป้ องกันการ
สูบบุหรี่ในโรงเรียน (เช่น ติดป้ าย
ห้าม ตรวจสอบพฤติกรรม ฯลฯ)
มี
5.การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน
บริเวณโรงเรียน
ไม่มี
แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายเกีย่ วกับการส่ งเสริมสุ ขภาพของโรงเรียน”
สาหรับ นักเรียนชั้น ป.4 – ป.6 และนักเรียนชั้น ม.1 – ม.6
ขอให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ตามความเป็นจริง การตอบคาถามทุกข้อไม่เกีย่ วกับผล
คะแนน
1. ขณะนี้ นกั เรียนกาลังศึกษาในชัน้ ..................................
2. นักเรียนทราบหรือไม่ว่าโรงเรียนได้จดั กิจกรรมต่างๆ มากมายเพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียนและทุก
คนในโรงเรียน
( ) ไม่ทราบ (ไม่ตอ้ งตอบคาถามข้อ 3)
( ) ทราบ
3. นโยบาย หรือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับสุขภาพในโรงเรียนของนักเรียนมีอะไรบ้าง
......................................................................................
..................................................................
ขอขอบคุณนักเรียนที่ให้ความร่วมมือ
แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน”
สาหรับ ผูป้ กครอง
ขอให้ท่านตอบคาถามต่อไปนี้ ตามความเป็นจริง
1. นักเรียนทราบหรือไม่ว่าโรงเรียนได้จดั กิจกรรมต่างๆ มากมายเพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียนที่เป็ น
บุตรหลานของท่าน และทุกคนในโรงเรียน
( ) ไม่ทราบ (ไม่ตอ้ งตอบคาถามข้อ 2)
( ) ทราบ
2. นโยบาย หรือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับสุขภาพในโรงเรียนตามที่ท่านทราบมีอะไรบ้าง
......................................................................................
......................................................................................
..................................................................
ขอขอบคุณผูป้ กครองที่ให้ความร่วมมือ
แบบสอบถามเรื่อง “นโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน”
สาหรับ ครู และบุคลากรอืน่ ๆ ในโรงเรียน
ขอให้ท่านตอบคาถามต่อไปนี้ ตามความเป็นจริง
1. ท่านทราบหรือไม่ว่าโรงเรียนได้กาหนดนโยบายต่างๆ เพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียนและทุกคนใน
โรงเรียน
( ) ไม่ทราบ (ไม่ตอ้ งตอบคาถามข้อ 2)
( ) ทราบ
2. ขอให้ท่านระบุนโยบาย (หรือกิจกรรม) ต่างๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพของโรงเรียนมาตามที่ท่านทราบ
......................................................................................
......................................................................................
ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ
แบบสอบถามเรื่อง “ความพึงพอใจต่อโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน”
ผูต้ อบแบบสอบถามคือ
( ) นักเรียน
( ) ผูป้ กครองนักเรียน
( ) สมาชิกในชุมชน (ไม่ได้เป็ นผูป้ กครอง)
โปรดอ่านข้อความแล้วตอบความรูส้ กึ ที่แท้จริงของท่านโดยทาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่าง
ข้อความ
มาก
(3)
ปานกลาง
(2)
น้อย
(1)
สาหรับผูป้ ระเมินให้
คะแนน
1. ข้าพเจ้ารูส้ กึ พอใจกิจกรรมที่เกี่ยวกับสุขภาพของโรงเรียน
2. ข้าพเจ้ารูส้ กึ พอใจที่ครูและคนอืน่ ๆ ในชุมชน(หมู่บา้ น)ให้ความ
ร่วมมือกันในการดูแลสุขภาพนักเรียน
3. ข้าพเจ้ารูส้ กึ พอใจที่เห็นนักเรียนให้ความร่วมมือทากิจกรรมด้าน
สุขภาพที่โรงเรียนทาร่วมกับสมาชิกของโรงเรียน
4. ข้าพเจ้ารูส้ กึ พอใจที่สมาชิกในชุมชน(หมู่บา้ น)ของเราให้ความ
ร่วมมือและสนับสนุ นกิจกรรมสุขภาพของโรงเรียน
5. ข้าพเจ้ารูส้ กึ พอใจกิจกรรมสุขภาพที่โรงเรียนทาร่วมกับชุมชน
เพราะนาไปใช้ได้จริงๆ ในชีวิตประจาวัน
รวมคะแนน
ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถาม
สาหรับผูป้ ระเมิน
การแปลค่าคะแนน ( ) พึงพอใจ ( ) ไม่พงึ พอใจ
แบบสอบถามเรื่อง “ความพึงพอใจต่อบรรยากาศภายในโรงเรียน” สาหรับนักเรียน
1. เกี่ยวกับผูต้ อบแบบสอบถาม
ขณะนี้ นักเรียนกาลังเรียนอยู่ชน้ั ...........................
2. ต่อไปนี้ เป็ นคาถามเกี่ยวกับ “ความรูส้ กึ ต่อโรงเรียน” ขอให้นักเรียนตอบตามความรูส้ กึ จริงๆ เพราะคาตอบที่ได้จะไม่
เกี่ยวกับการให้คะแนนสอบของนักเรียนแต่อย่างใดขอให้เครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน
มากที่สดุ
ข้อความ
มาก
(3)
ปานกลาง
(2)
น้อย
(1)
สาหรับผูป้ ระเมินให้
คะแนน
ฉันรูส้ กึ ว่าโรงเรียนของฉันน่ าอยูเ่ พราะ .............
1. ครูของเรารับฟังความคิดเห็นของนักเรียน
2. ครูให้โอกาสนักเรียนร่วมตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของโรงเรียน
3. นักเรียนมีความรักใคร่ปรองดองกัน
4. ข้าพเจ้านักเรียนกับครูมีความสัมพันธ์ท่ีดี (นักเรียนกล้าที่จะพูดคุย
กับครู)
5. ครูลงโทษนักเรียนอย่างมีเหตุผล
6. สภาพแวดล้อมของโรงเรียนน่ าอยู่
รวมคะแนน
ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถาม
สาหรับผูป้ ระเมิน
การแปลค่าคะแนน ( ) พึงพอใจ ( ) ไม่พงึ พอใจ
แบบสอบถามเรื่อง “สุขศึกษาในโรงเรียน”
สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (ป.4 – ป.6)
คาแนะนา ให้อา่ นคาถามทัง้ 9 ข้อ แล้วคิดว่านักเรียนเคยได้รบั การฝึ กฝนจากโรงเรียนหรือไม่ ถ้าเคยให้ทาเครื่องหมาย
 ในช่อง “เคย” ถ้าไม่เคย ให้ทาเครื่องหมาย  ในช่อง“ไม่เคย” ขอให้นักเรียนตอบตามความ
คิดเห็นของนักเรียน (การตอบคาถามนี้ ไม่เกี่ยวกับการให้คะแนนวิชาสุขศึกษาของนักเรียน)
ความคิดเห็นของนักเรียน
ข้อความ
เคย
ไม่เคย
ข้าพเจ้าเคยได้รบั การฝึ กฝนให้ปฏิบตั ใิ นเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ ที่โรงเรียน
1. การดูแลรักษาร่างกายให้สะอาด
2. การล้างมือให้สะอาด
3. การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
4. การหลีกเลี่ยงไม่ซ้ ืออาหารที่มีสารอันตรายต่อร่างกาย
5. การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
6. การป้ องกันอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั
7. การหลีกเลี่ยงการพนัน การเที่ยวกลางคืน
8. การจัดการอารมณ์ตนเอง (การควบคุมอารมณ์ตนเอง)
9. ความปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ และจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถาม
แบบสอบถามเรือ่ ง “สุขศึกษาในโรงเรียน”
สาหรับนักเรียนระดับมัธยม
คาแนะนา ให้ทาเครื่องหมาย ในช่อง ที่เป็ นจริงตามความคิดเห็นของนักเรียน (การตอบคาถามนี้ ไม่เกี่ยวกับการ
ให้คะแนนวิชาสุขศึกษาของนักเรียน)
ความคิดเห็นของนักเรียน
ข้อความ
เคย
ไม่เคย
ข้าพเจ้าเคยได้รบั การฝึ กฝนให้ปฏิบตั ใิ นเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ ที่โรงเรียน
1. การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
2. การไม่รบั ประทานอาหารที่มีสารอันตรายต่อร่างกาย
3. การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
4. การป้ องกันอุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั
5. การหลีกเลี่ยงการพนัน การเที่ยวกลางคืน
6. การผ่อนคลายความเครียด
7. การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันควร
ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถาม
แบบสอบถามเรือ่ ง “ความรูใ้ นการเลือกรับประทานอาหาร”
สาหรับนักเรียนชัน้ ป.4 – ป.6 และ ม.1 – ม.6
คาแนะน า ให้นักเรียนเขียนชื่ อ อาหารที่ควรรับประทาน และไม่ ควรรับประทานอย่ า งละ 5 ชื่ อ พร้อ มบอกเหตุผล
(คาตอบไม่เกี่ยวกับคะแนนสอบวิชาสุขศึกหรือวิชาอืน่ ๆ)
ชื่ออาหารที่ควรรับประทาน
เหตุผล
ชื่ออาหารที่ควรรับประทาน
เหตุผล
1.
2.
3.
4.
5.
1.
2.
3.
4.
5.
ขอขอบคุณทุกท่านที่ตอบแบบสอบถาม
แบบสอบถามเรื่อง “การรับประทานอาหาร” สาหรับนักเรียน
ให้พิจารณาอาหารที่นักเรียนรับประทาน ใน 1 สัปดาห์ท่ีผ่านมา แต่ละประเภทได้รบั ประทานบ่อยแค่ไ หน โดยทา
เครื่องหมาย ลงในช่องว่าง
ทุกวัน
กลุม่ อาหาร
1. ข้าว-แป้ ง (เช่น ข้าวสวย ข้าวเหนี ยวนึ่ งก๋วยเตีย๋ วเส้นเล็ก เส้น
ใหญ่ บะหมี่ เส้นหมี่ วุน้ เส้น ขนมจีน ขนมปัง มักกะโรนี ข้าวโพด
สุก มันเทศสุก เผือกสุก)
2. ผักทุกชนิ ด
3. ผลไม้ทกุ ชนิ ด
4. เนื้ อสัตว์ (เช่น เนื้ อสัตว์ต่างๆ ไข่ เต้าหู ้ น้ าเต้าหู ้ ถัว่ เมล็ดแห้ง
เช่น ถัว่ เขียว ถัว่ ดา ถัว่ ลิสง ถัว่ แดง
5. นมและผลิตภัณฑ์จากนม (เช่น นมทุกชนิ ด ผลิตภัณฑ์ท่ีมีนม
เป็ นส่วนประกอบ ได้แก่ เนยแข็ง โยเกิรต์ นมเปรี้ยว นมอัดเม็ด
นมถัว่ เหลือง (ไม่ใช่นมถัว่ เหลืองสูตรเจหรือน้ าเต้าหู)้ ไอศกรีมที่มี
นมผสม เครื่องดื่มรสช็อคโกแล็ตที่มีนมผสม)
สัปดาห์ละ สัปดาห์ละ น้อยกว่า
4-6 ครัง้ 4-6 ครัง้ สัปดาห์ละ
1 ครัง้
ไม่ได้กนิ
แบบสอบถามเรื่อง “การส่ งเสริมสุ ขภาพบุคลากรในโรงเรียน”
สาหรับบุคลากรในโรงเรียน
ผู้ตอบแบบสอบถามคือ ( ) ครู
( ) บุคลากรสายธุรการ
( ) นักการภารโรง
คาแนะนา กรุณาอ่ านคาถามและทาเครื่องหมาย ลงในช่ องทีต่ รงกับความเป็ นจริง
คาถาม
ใช่
ไม่ ใช่
1. ในปี ที่ผา่ นมาท่านได้ประเมินภาวะสุ ขภาพของตนเอง หรื อตรวจสุ ขภาพประจาปี
2. ท่านได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสุ ขภาพ (เช่น จากโทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์
เสี ยงตามสาย กิจกรรมเผยแพร่ ในโรงเรี ยน)อย่างน้อยๆสัปดาห์ละ1ครั้ง
3. ทุกครั้งที่โรงเรี ยนจัดกิจกรรมเกี่ยวสุ ขภาพ ท่านจะต้องเข้าร่ วมกิจกรรมเสมอ
ขอขอบคุณทุกท่ านทีต่ อบแบบสอบถาม
แบบสอบถาม “ตัวชี้วดั ต่ างๆ”(ในเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ)
สาหรับนักเรียนประถมศึกษา
คาชี้แจง ขอให้ นักเรียนตอบคาถามต่ างๆตามความเป็ นจริง (คาตอบของนักเรียนไม่ เกีย่ วกับคะแนนวิชาสุ ข
ศึกษาหรือวิชาอืน่ ๆ) โดยทาเครื่องหมาย ลงในช่ องคาตอบ
คาถาม
1. เมื่อไม่สบาย หรือมีปญั หาสุขภาพต่างๆ ขณะอยู่ท่โี รงเรียนนักเรียนจะได้รบั
การดูแล รักษา
2. ฉันแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันโดยใช้ยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์
3. ฉันดื่มนมทุกวัน
4.. เมื่อฉันมีปญั หาไม่ว่าจะเป็ นเรื่องอะไรก็ตาม ฉันจะไปขอคาแนะนาจาก เพือ่ น
พ่อ แม่ ญาติพน่ี อ้ ง หรือครูของฉัน ทุกครัง้
ใช่
ไม่ใช่
ช่องนี้ สาหรับผูป้ ระเมิน
(องค์ประกอบ/ตัวชี้วดั )
5/12
6/3
7/7
9/5
5. ตัง้ แต่เปิ ดเทอมมานี้ ฉันไม่เคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรงหรือคนอืน่ ๆ สูบบุหรี่ใน
บริเวณโรงเรียน (ยกเว้นคนที่มาจากข้างนอก เพราะเขาไม่รูร้ ะเบียบโรงเรียน)
10/3
6. ตัง้ แต่เปิ ดเทอมมานี้ ฉันไม่เคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรงหรือคนอืน่ ๆ ดื่มเหล้าใน
บริเวณโรงเรียน
10/5
แบบสอบถาม ตามตัวชี้วดั ต่ างๆ (ในเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ)
สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
คาชี้แจง ขอให้ นักเรียนตอบคาถามต่ างๆตามความเป็ นจริง (คาตอบของนักเรียนไม่ เกีย่ วกับคะแนนวิชาสุ ข
ศึกษาหรือวิชาอืน่ ๆ) โดยทาเครื่องหมาย ลงในช่ องคาตอบ
คาถาม
1. เมื่อไม่สบาย หรือมีปญั หาสุขภาพต่างๆ ขณะอยู่ท่โี รงเรียนนักเรียนจะได้รบั
การดูแล รักษา
2. เมื่อฉันมีปญั หาไม่ว่าจะเป็ นเรื่องอะไร ฉันจะไปขอคาแนะนาจาก เพือ่ น พ่อ
แม่ ญาติพน่ี อ้ ง หรือครูของฉัน ทุกครัง้
3. ตัง้ แต่เปิ ดเทอมมานี้ ฉันไม่เคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรงหรือคนอืน่ ๆ สูบบุหรี่ใน
บริเวณโรงเรียน (ยกเว้นคนที่มาจากข้างนอก เพราะเขาไม่รูร้ ะเบียบโรงเรียน)
4. ตัง้ แต่เปิ ดเทอมมานี้ ฉันไม่เคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรงหรือคนอืน่ ๆ ดื่มเหล้าใน
บริเวณโรงเรียน
ใช่
ไม่ใช่
ช่องนี้ สาหรับผูป้ ระเมิน
(องค์ประกอบ/ตัวชี้วดั )
5/3
9/5
10/3
10/3
แบบฟอร์มสรุป (องค์ประกอบที่ 10)
แบบสอบถามเรื่อง “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน”
คาตอบของบุคลากรคนที่
ตัวชี้วดั ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม
(คน)
3 ใน 4 ขึ้นไป
 ครึ่ง หรือมากกว่า
ปี ละ 1 ครัง้
 น้อยกว่าครึ่ง
 ไม่มี
1. บุคลากรในโรงเรียนมีการประเมิน
สุขภาพอย่างน้อย
วิธคี ิดสัดส่วน
ระดับการประเมิน
คิดเป็ นสัดส่วน
จานวนที่ตอบ “ใช่”
สัดส่วน 3 ใน 4 ขึ้นไป
8-10 คน
ครึ่งหนึ่ งหรือมากกว่า
5-7 คน
น้อยกว่าครึ่ง
1-4 คน
ไม่มี
0 คน
แบบฟอร์มสรุป (องค์ประกอบที่ 10)
แบบสอบถามเรื่อง “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน” (ต่อ)
คาตอบของบุคลากรคนที่
ตัวชี้วดั ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม
(คน)
 ทุกคน
 2 ใน 3 ขึ้นไป
 1 ใน 3 ขึ้นไป
 ไม่มี
2. บุคลากรได้รบั ข้อมูลข่าวสารเรื่อง
สุขภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละครัง้
วิธคี ิดสัดส่วน
ระดับการประเมิน
คิดเป็ นสัดส่วน
จานวนที่ตอบ “ใช่”
ทุกคน
10 คน
สัดส่วน 2 ใน 3 ขึ้นไป
7-9 คน
สัดส่วน 1 ใน 3 ขึ้นไป
3-6 คน
ไม่มี
0-2 คน
แบบฟอร์มสรุป (องค์ประกอบที่ 10)
แบบสอบถามเรื่อง “การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน” (ต่อ)
คาตอบของบุคลากรคนที่
ตัวชี้วดั ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม
(คน)
 3 ใน 4 ขึ้นไป
 ครึ่ง หรือมากกว่า
 น้อยกว่าครึ่ง
 ไม่มี
3. บุคลากรในโรงเรียนร่วมกิจกรรมด้าน
ส่งเสริมสุขภาพที่จดั ขึ้นตามแผนงาน
ของโรงเรียน
วิธคี ิดสัดส่วน
ระดับการประเมิน
คิดเป็ นสัดส่วน
จานวนที่ตอบ “ใช่”
สัดส่วน 3 ใน 4 ขึ้นไป
8-10 คน
ครึ่งหนึ่ งหรือมากกว่า
5-7 คน
น้อยกว่าครึ่ง
1-4 คน
ไม่มี
0 คน