หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2554

Download Report

Transcript หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ พ.ศ. 2554

หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ
พ.ศ. 2554
สานักงานอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี
วันที่เริ่ มใช้บงั คับ
* ตั้งแต่ รอบการประเมินวันที่1 มีนาคม 2554 ถึง 31 สิ งหาคม 2554
เป็ นต้ นไป
* ให้ ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่องหลักเกณฑ์ และ
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกาา
พ.ศ. 2544
แบบข้อตกลงและประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ
สาหรับข้าราชการสายวิชาการ
แบบ ป.1 เป็ นแบบข้ อตกลงภาระงาน การรายงานผลการ
ปฏิบัติงาน และประเมินผลสั มฤทธิ์ของงานตามข้ อตกลง ข้ อตกลง
พฤติกรรมการปฏิบัติราชการและการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ
ราชการแต่ ละรอบการประเมิน สาหรับข้ าราชการตาแหน่ งวิชาการ
ที่ทาหน้ าที่สอนและวิจัย
แบบข้ อตกลงและประเมินผลการปฏิบัติราชการสาหรับ
ข้ าราชการสายสนับสนุน
แบบ ป.2 เป็ นแบบข้ อตกลงภาระงาน การรายงานผลการ
ปฏิบัติงานและประเมินผลสั มฤทธิ์ของงานตามข้ อตกลง ข้ อตกลง
ตามพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ และการประเมินพฤติกรรม
การปฏิบัติราชการแต่ ละรอบการประเมิน
แบบ ส. 1 แบบสรุปผลการปฏิบัติราชการ ใช้ เพือ่ สรุปผล
คะแนนการประเมินผลสั มฤทธิ์ของงานและคะแนนพฤติกรรมการ
ปฏิบัติราชการ บันทึกการแจ้ งผลการประเมิน และบันทึก
แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล
ใช้ สาหรับเสนอเข้ าคณะกรรมการกลัน่ กรองผลการปฏิบัติราชการ
ระดับคณะ หรือเทียบเท่ า
แบบ ส.2 แบบสรุปผลการปฏิบัติราชการ ใช้ เพือ่ สรุปผล
คะแนนการประเมินผลสั มฤทธิ์ของงาน และคะแนนพฤติกรรม
การปฏิบัติราชการ บันทึกการแจ้ งผลการประเมิน และบันทึก
แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการภาพรวมของคณะหรือเทียบเท่ า
ใช้ สาหรับเสนอเข้ าคณะกรรมการกลัน่ กรองผลการปฏิบัติราชการ
ระดับมหาวิทยาลัย
รอบการประเมิน
ดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี ละ2 รอบ ตามปี งบประมาณ
ครั้งที่ 1 ครึ่งปี แรก คือ 1 กันยายน – 28 กุมภาพันธ์
( สาหรับเลือ่ นขั้น 1 เมาายน )
ครั้งที่ 2 ครึ่งปี หลัง คือ 1 มีนาคม – 31 สิ งหาคม
( สาหรับเลือ่ นขั้น 1 ตุลาคม )
องค์ ประกอบการประเมินและสั ดส่ วนค่ าน้าหนัก
องค์ ประกอบได้ แก่ ผลสั มฤทธิ์ของงานและพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ
1. ผลสั มฤทธิ์ของงาน (Tor)
ประเมินจากปริมาณผลงานและคุณภาพของผลงาน (80 คะแนน)
ประกอบด้ วย
* ปริมาณผลงาน - ตามข้ อตกลงซึ่งได้ ทาข้ อตกลงไว้เป็ นมาตรฐานขั้นต่า
- หากทาไม่ ครบต้ องชี้แจง
- หากทานอกเหนือให้ รายงานเพิม่ เติม
* คุณภาพของผลงานตามข้ อตกลง (กาหนดตัวชี้วดั ทีช่ ัดเจน)
2. ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ Competency (20 คะแนน)
ให้ ประเมินจากสมรรถนะ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ระดับผลการประเมิน
• ระดับผลการประเมิน มี 5 ระดับ
คะแนนรวมร้ อยละ
90 – 100 ดีเด่ น
คะแนนรวมร้ อยละ
80 - 89 ดีมาก
คะแนนรวมร้ อยละ
70 - 79 ดี
คะแนนรวมร้ อยละ
60 - 69 พอใช้
คะแนนรวมน้ อยกว่ าร้ อยละ 60 ต้ องปรับปรุงและไม่ ได้ รับการ
พิจารณาเลือ่ นขั้นเงินเดือน
องค์ ประกอบของคณะกรรมการ
• องค์ ประกอบคณะกรรมการและหน้ าทีข่ องคณะกรรมการประเมิน
กาหนดให้ มีการประเมินในลักาณะคณะกรรมการ มีจานวนตั้งแต่
3 คนขึน้ ไป การประเมินข้ าราชการในกลุ่มหรือหน่ วยงานเดียวกัน
ควรใช้ คณะกรรมการประเมินชุ ดเดียวกัน
ระดับการประเมิน
ระดับการประเมินมี 3 ระดับ
ระดับที่ 1
• การประเมินตัวบุคคล
โดยคณะกรรมการของภาควิชาหรือหน่ วยงานเทียบเท่ า
ภาควิชา และต้ องมีผู้บังคับบัญชาชั้นต้ นเป็ นกรรมการ
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการประเมินตัวบุคคล
- จัดทาประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการประเมิน การกาหนดผู้ให้ ข้อมูล ให้
ผู้ถูกประเมินทราบ
- ให้ มีการประชุ มร่ วมกัน รวมทั้งแสวงหาข้ อมูลจากบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ อง
- สรุปผลการประเมินเป็ นรายบุคคล เข้ าคณะกรรมการกลัน่ กรองผล
ประเมินการปฏิบัติราชการระดับคณะหรือหน่ วยงานที่เทียบเท่ าตาม
แบบ ส. 1 และ ลงลายมือในแบบ ป.2 ส. 1
- แจ้ งผลการประเมินการปฏิบัติราชการให้ ผ้รู ับการประเมินลงลายมือรับทราบ
ในแบบประเมิน ป.2 และ ส. 1 ก่อนนาเสนอคณะกรรมการกลัน่ กรอง
ผลการประเมินฯ ระดับคณะหรือหน่ วยงานที่เทียบเท่ า
ระดับที่ 2
• คณะกรรมการกลัน่ กรองผลการประเมินการปฏิบัติราชการระดับคณะ
หรือหน่ วยงาน แต่ งตั้งโดยคณบดีหรือหัวหน้ าหน่ วยงานทีเ่ ทียบเท่ าคณะ
มีหน้ าที่
- พิจารณา ให้ ความเห็นเกีย่ วกับมาตรฐานและความเป็ นธรรมในการ
ประเมินฯ และให้ ความเห็นเกีย่ วกับผลการประเมินการปฏิบัติราชการ
รายบุคคลตามแบบ ส. 1
- คณะหรือหน่ วยงานส่ งแบบสรุปความเห็นเกีย่ วกับมาตรฐานความ
เป็ นธรรมของการประเมินฯ และความเห็นเกีย่ วกับผลการประเมินฯใน
ภาพรวมของคณะหรือหน่ วยงานตามแบบ ส.2 เข้ าคณะกรรมการ
กลัน่ กรองผลประเมินฯระดับมหาวิทยาลัย
ระดับ 3
• คณะกรรมการกลัน่ กรองผลการประเมินการปฏิบัติราชการระดับ
มหาวิทยาลัย
โดยคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยพิจารณาให้
ความเห็นเกีย่ วกับมาตรฐานและความเป็ นธรรมในการประเมินฯ และ
ให้ ความเห็นเกีย่ วกับผลการประเมินในภาพรวม และ กองการเจ้ าหน้าที่
นาเสนออธิการบดี
การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ สายวิชาการ
• การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ สาหรับข้ าราชการตาแหน่ ง
วิชาการ ไม่ เกิน 8 สมรรถนะ แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม
(1) ความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก จานวน 5 สมรรถนะ ( Core
Competency ) สาหรับข้ าราชการทุกประเภท ประกอบด้ วย
- จริยธรรม
- มุ่งเน้ นผู้รับบริการ
- การทางานเป็ นทีม
- ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์และการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
- แรงจูงใจสู่ ความสาเร็จ
(2) ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านการบริหาร จานวน 5 สมรรถนะ
( Managerial Competency ) ประกอบด้ วย
- การวางแผนและการจัดการ
- ทักาะในการแก้ปัญหา
- วิเคราะห์ งานและความคิดเชิงวิเคราะห์
- การมอบหมายงาน ติดตามงาน การสอนและแนะนางาน
- ภาวะผู้นา
(3) ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านวิชาชีพ ( Functional
Competency )
- ความรู้ความเข้ าใจในงานทีร่ ับผิดชอบ
- ทักาะทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานทีร่ ับผิดชอบ
- ความสามารถในการประสานงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานข้ าราชการตาแหน่ ง
วิชาการ ซึ่งดารงตาแหน่ งบริหาร
• ให้ ประเมินสมรรถนะ ข้ อ (1) จานวน 5 สมรรถนะ
• ให้ เลือกสมรรถนะใน ข้ อ( 2 ) และหรือ ( 3) จานวน 3 สมรรถนะ
การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ข้ าราชการ
สายสนับสนุน
• การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการสาหรับข้ าราชการสาย
สนับสนุน ไม่ เกิน 8 สมรรถนะ แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม
(1) ความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก จานวน 5 สมรรถนะ (Core
Competency) สาหรับข้ าราชการทุกประเภท
- จริยธรรม
- มุ่งเน้ นผู้รับบริการ
- การทางานเป็ นทีม
- ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์และการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
- แรงจูงใจสู่ ความสาเร็จ
(2) ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านการบริหาร จานวน 5 สมรรถนะ
( Managerial Competency )
- การวางแผนและการจัดการ
- ทักาะในการแก้ปัญหา
- วิเคราะห์ งานและความคิดเชิงวิเคราะห์
- การมอบหมายงาน ติดตามงาน การสอนและแนะนางาน
- ภาวะผู้นา
(3) ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านวิชาชีพ ( Functional
Competency )
โดยเลือกจากพจนานุกรมสมรรถนะของมหาวิทยาลัย (สามารถดูและ
Download ได้ จาก Website งานการเจ้ าหน้ าที่ ) ซึ่งหน่ วยงาน
สามารถปรับเปลีย่ นให้ เกิดความยืดหยุ่นและเหมาะสมตามลักาณะงาน
ของแต่ ละหน่ วยงานและแจ้ งมหาวิทยาลัยทราบด้ วย
ข้ าราชการสายสนับสนุนดารงตาแหน่ งบริหาร
• สาหรับข้ าราชการ ตาแหน่ งประเภททัว่ ไป วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญ
เฉพาะ ซึ่งดารงตาแหน่ งบริหาร
- ให้ ประเมินสมรรถนะข้ อ (1) จานวน 5 สมรรถนะ
- ให้ เลือกสมรรถนะในข้ อ (2) และหรือ (3) จานวน 3 สมรรถนะ
ข้ าราชการสายสนับสนุนทีไ่ ม่ ดารงตาแหน่ งบริหาร
• ให้ ประเมินสมรรถนะข้ อ ( 1 ) จานวน 5 สมรรถนะ
และให้ ประเมินข้ อ ( 3 ) จานวน 3 สมรรถนะ
คประกอบของคะแนนรวม
100%
์
รายละเอียดคือ
. คะแนน LU
(ปริมาณงานตามภารกิจ = 40
. คะแนนคุณภาพ
คะแนน)
= 60 คะแ
วม = 100
คะแนน
แปลงเป็ นคะแนน ตาม Tor ส่วนที่ 1 = 80 คะแ
ะ3. คะแนนสมรรถนะ ส่วนที่ 2
= 20 คะแ
การทาTOR โดยใช้ LU เป็ นเกณฑ์ ในการกาหนดหน่ วยภาระงาน
กล่าวคือ หลักการคิดคานวณ LU นั้น ให้ ใช้ หลักคิดมาจากเวลาในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรในวันทาการวันละ 7 ชม. (ไม่ รวมเวลาพัก
กลางวัน 1 ชั่วโมง)
ให้ เทียบ 1 ชม. เท่ ากับ 1 หน่ วยภาระงาน
1 วัน มี
7 หน่ วย
1 สั ปดาห์ มี 35 หน่ วย
1 เดือน มี
140 หน่ วย
6 เดือน มี
840 หน่ วย
ในรอบ 6 เดือน ให้ สิทธิลาพักผ่ อนได้ 10 วัน
(70 หน่ วยภาระงาน)
ดังนั้น ในรอบ 6 เดือนบุคลากร ควรมี LU
ไม่ น้อยกว่ า 770 หน่ วยภาระงาน
การประเมินสมรรถนะ (Competency)
(ความสามารถเชิงสมรรถนะ )
360 องศา ผ่ านระบบเครือข่ าย
• วิธีการเข้ าสู่ ระบบ
1. เข้ า Website ของวิทยาเขตปัตตานี
2. ไปที่ Intranet โดยใช้ Login และ Password
ที่ได้ รับจากหน่ วยคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตปัตตานี
3. ไปที่ งานบุคลากร ระบบประเมินบุคลากร
กาหนดผูป้ ระเมิน
• กลุมปฏิ
บต
ั งิ าน
่
ประกอบดวย
้
1. ผู้บังคับบัญชา
2. เพือ
่ นรวมงาน
่
3. ผู้รับบริการ
4. ตนเอง
5. ผู้ถูกประเมินเสนอชือ
่
• กลุ่มหัวหน้ างาน
ประกอบด้ วย
1. ผู้บังคับบัญชา
2. เพือ่ นร่ วมงาน
3. ตนเอง
4. ผู้ใต้ บังคับบัญชา
5. ผู้รับบริการ
รายละเอียดข้ อมูลการประเมิน Competency
• การประเมินความสามารถเชิงสมรรถนะ แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม
ประกอบด้ วย
1. ความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก ( Core Competency )
ใช้ สาหรับทุกคน
2. ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านการบริหาร ( Managerial
Competency ) ใช้ สาหรับผู้บริหาร
3. ความสามารถเชิงสมรรถนะเฉพาะ ( Functional
Competency ) ใช้ สาหรับตาแหน่ งอืน่ ทีม่ ใิ ช่ ผ้บู ริหาร
ความสามารถเชิงสมรรถนะหลัก ( Core Competency )
ใช้ สาหรับทุกคน ประกอบด้ วย
- จริยธรรม
- มุ้งเน้ นผู้รับบริการ
- การทางานเป็ นทีม
- ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์และการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
- แรงจูงใจสู่ ความสาเร็จ
ความสามารถเชิงสมรรถนะด้ านการบริหาร
( Managerial Competency ) ใช้ สาหรับผู้บริหารคือ
1. การวางแผนและการจัดการ
2. ทักษะในการแก้ ปัญหา
3. วิเคราะห์ งานและความคิดเชิงวิเคราะห์
4. การมอบหมายงาน ติดตามงาน การสอนและแนะนางาน
5. ภาวะผู้นา
• ความสามารถเชิงสมรรถนะเฉพาะ ( Functional
Competency ) ใช้ สาหรับตาแหน่ งอืน่ ทีม่ ใิ ช่ ผู้บริหาร
1. ความรู้ความเข้ าใจในงานทีร่ ับผิดชอบ
2. ทักาะทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานทีร่ ับผิดชอบ
3. ความสามารถในการประสานงาน
คะแนนประเมิน Competency
ผู้ท่ ไี ด้ รับคะแนนประเมินเฉพาะความสามารถเชิงสมรรถนะ
(Competency) ต่ากว่ าร้ อยละ 70 จะต้ องได้ รับการพัฒนา
อย่ างเร่ งด่ วนจากคณะ/หน่ วยงาน
การเลื่อนขั้นเงินเดือน
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือน
หลักเกณฑ์ การพิจารณา
กลุ่มข้ าราชการ
แบ่ งข้ าราชการออกเป็ น 2 กลุ่ม
- กลุ่มผู้ดารงตาแหน่ งประเภทวิชาการ
- กลุ่มผู้ดารงตาแหน่ งประเภทผู้บริหาร ประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือ
เชี่ยวชาญเฉพาะ และ ประเภททัว่ ไป
ข้ าราชการทั้ง 2 กลุ่ม เลือ่ นเงินเดือนในวงเงินทีไ่ ด้ รับจัดสรร
ร้ อยละ 2.9 ของเงินเดือนข้ าราชการในคณะ/หน่ วยงานที่มีคนครอง
ณ วันที่ 1 มีนาคม
หากวงเงินของกลุ่มใดมีเหลือ สามารถเกลีย่ ให้ กลุ่มอืน่ ได้ แต่ ต้อง
ไม่ เกินวงเงินรวมของคณะ/หน่ วยงาน ที่ได้ รับจัดสรร
• การเลือ่ นขั้นเงินเดือนให้ คานวณจากฐานในการคานวณ และช่ วง
เงินเดือนตามประเภทตาแหน่ ง ที่ ก.พ.อ. กาหนด ( ฐานในการคานวณ )
• การเลือ่ นเงินเดือนตามผลการประเมินการปฏิบัติงาน โดยนาผลการ
ปฏิบัติงานมาคิดเป็ นคะแนนประเมิน ดังนี้
ผลประเมิน ดีเด่ น คะแนน 90 – 100
ดีมาก คะแนน 80 – 89
ดี
คะแนน 70 - 79
พอใช้ คะแนน 60 - 69
ต้ องปรับปรุง คะแนน ต่ากว่ า 60 ไม่ รับการเลือ่ นเงินเดือน
• ข้ าราชการทีม่ ีผลงานดีเด่ นสามารถเลือ่ นได้ ไม่ เกินร้ อยละ 6 จากฐาน
ในการคานวณ
• การคานวณจานวนเงินสาหรับเลือ่ นเงินเดือน ถ้ ามีเศาไม่ ถึงสิบบาทให้ ปรับ
เป็ นสิ บบาท
• ข้ าราชการทีไ่ ด้ รับคะแนนประเมินต่ากว่ าร้ อยละ 60 ไม่ เลือ่ นเงินเดือน
• ข้ าราชการทีไ่ ด้ รับเงินเดือนสู งสุ ดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสู งสุ ด หรือใกล้ถึง
เงินเดือนสู งสุ ด ของสายงานหรือระดับตาแหน่ งที่ ก.พ.อ.กาหนดให้ ได้ รับ
เป็ นค่ าตอบแทนพิเศา
• อธิการบดีเป็ นผู้พจิ ารณาการเลือ่ นขั้นเงินเดือนกรณีพเิ ศา ในอัตราไม่
เกิน ร้ อยละ 2 ให้ กบั ผู้ได้ รับอนุญาตให้ ไปศึกาาในประเทศ หรือไปศึกาา
ฝึ กอบรมต่ างประเทศ การปฏิบัติงานครึ่งปี แรก ( ตั้งแต่ 1 ตค. - 31 มีค.)
ซึ่งมีผลการปฏิบัติราชการน้ อยกว่ า 4 เดือน แต่ ไม่ น้อยกว่ า 3 เดือน
• กลุ่มลูกจ้ างประจา
- การเลือ่ นขั้น ค่ าจ้ าง และการจ่ ายค่ าตอบแทนพิเศา ในวันที1่ เมย. ให้
เลือ่ นได้ 1 ขั้น และ ร้ อยละ 4 สาหรับผู้ทมี่ ีผลงานและผลสั มฤทธิ์ดีเด่ น
ไม่ เกินร้ อยละ 15 ของจานวนลูกจ้ างประจา ในคณะ/หน่ วยงาน ทีม่ ีคน
ครอง ณ วันที่ 1 มีค. เฉพาะที่เป็ นจานวนเต็ม สาหรับเศาโควตาทีเ่ หลือ
ให้ รวมไว้ ทสี่ ่ วนกลาง
- การเลือ่ นขั้นค่ าจ้ างตามผลการปฏิบัติงาน นาผลการปฏิบัติงานมาคิดเป็ น
คะแนนประเมิน
ผลการประเมิน ดีเด่ น คะแนน 90 – 100
เป็ นทีย่ อมรับ คะแนน 60 – 89
ต้ องปรับปรุง คะแนน ต่ากว่ า 60 ไม่ ได้ รับการเลือ่ นค่ าจ้ าง
การเพิ่มค่าจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย
• กลุมพนั
กงานมหาวิทยาลัย
่
1. รอบปี ทแ
ี่ ลวมาต
องมี
เวลาปฏิบต
ั งิ านไมน
้
้
่ ้ อยกวา่
8 เดือน
2. รอบปี ทแ
ี่ ลวมาต
องไม
ลา
หรือมาทางานสาย
้
้
่
เกินวาที
่ ธิการบดีกาหนด
่ อ
3. การเพิม
่ คาจ
้ อยูกั
่ ้างขึน
่ บผลการประเมินการ
ปฏิบต
ั งิ าน ในรอบทีผ
่ านมา
โดยใช้หลักเกณฑ ์
่
และวิธก
ี ารประเมินผลการปฏิบต
ั ริ าชการของ
พนักงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ พ.ศ.
2554
การเพิม
่ คาจ
่ ้าง ณ 1 ตุลาคม 2554
ให้คานวณคะแนนประเมิน โดยนาคะแนน
การประเมินในรอบที่ 1
วันที่
1
กันยายน
2553
ถึง วันที่
28
กุมภาพันธ ์
2554
มารวมกับคะแนน
ประเมินในรอบที่ 2
วันที่ 1
มีนาคม
2554
ถึง
วันที่
31 สิ งหาคม 2554
แลวหารด
วย
2 จึงจะเป็ นคะแนนประเมินเพือ
่
้
้
นามาพิจารณามาเพิม
่ คาจ
่ ้าง
ผู้มีคะแนนประเมิน
น้อยกวาร
60
ต้องปรับปรุง และ
่ อยละ
้
ไมไดรับการพิจารณาเพิม
่ คาจาง
ให้ เพิม่ ค่ าจ้ างแก่พนักงานแต่ ละคนได้ ไม่ เกินร้ อยละ 10
ของค่ าจ้ าง ภายในวงเงินเพิม่ ค่ าจ้ างร้ อยละ 4 ของอัตราค่ าจ้ าง
ทีม่ ีคนครองของกลุ่ม ณ วันที่ 1 กันยายน 2554
ของแต่ ละหน่ วยงาน
การเพิม่ ค่ าจ้ างพนักงานมหาวิทยาลัยทีจ่ ้ างด้ วยเงินงบประมาณ
หากเงินเหลือสามารถโอนไปเพิม่ ค่ าจ้ างแก่พนักงานมหาวิทยาลัยทีจ่ ้ าง
ด้ วยเงินรายได้ ของคณะ/หน่ วยงานได้
สาหรับการเบิกจ่ ายให้ เบิกจ่ ายจากเงินรายได้ ของคณะ/หน่ วยงาน
นั้น ๆ
การปฏิบตั ิงาน
การปฏิบัติงานในแต่ ละรอบการประเมิน
• ต้ องไม่ ลาป่ วย – กิจ เกิน 9 ครั้ง หรือ
• มาสายไม่ เกิน 9 ครั้ง หรือ
• จานวนวันลารวมกันไม่ เกิน 23 วัน
เหตุผลการไม่เลื่อนเงินเดือนหรื อค่าตอบแทน
•
•
•
•
•
ผลการประเมินต่ากว่ า ร้ อยละ 60
ถูกลงโทาทางวินัยทีห่ นักกว่ าโทาภาคทัณฑ์
ถูกสั่ งพักราชการเกินกว่ า 2 เดือน
ขาดราชการโดยไม่ มีเหตุผลอันสมควร
ปฏิบัติราชการเป็ นเวลาน้ อยกว่ า 4 เดือน หรือได้ ปฏิบัติราชการมาแล้ว
เป็ นเวลาไม่ น้อยกว่ า 4 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย
• ลาศึกาา ฝึ กอบรม ดูงาน มีเวลาปฏิบัติงานน้ อยกว่ า 4 เดือน
• ลาติดตามคู่สมรสไปปฏิบัตริ าชการหรือปฏิบัติงานในต่ างประเทศ มีเวลา
ปฏิบัติงานน้ อยกว่ า 4 เดือน
• ลาป่ วย ลากิจ เกิน 9 ครั้ง หรือมาสายเกิน 9 ครั้ง
และวันลาป่ วย ลากิจ รวมกันแล้วเกิน 23 วัน
สวัสดี
เจ้าหน้าที่
กองธุรการ
งานการ