การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ( Externat Environment Analysis )

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ( Externat Environment Analysis )

การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก
( External Environment Analysis )
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายนอกขององค์กร
 เนื่ องจากสภาพแวดล้ อมมีการเปลี่ยนแปลงได้
และ มีอิทธิ พลต่ อ
การด าเนิ น งานหากผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ ด าเนิ น การทราบถึ ง ความ
เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับองค์ การก็จะสามารถ
รั บ มื อ กับ การเปลี่ย นแปลงนั้ น ได้ ดั ง นั้ น องค์ ก รจึ ง ควรมี ก าร
วิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมต่ างๆที่มีผลกระทบต่ อธุรกิจ เพื่อเป็ นการ
ประเมินหา จุดแข็ง จุดอ่ อน โอกาส และ อุปสรรค ขององค์ การ
ผลการวิ เ คราะห์ มั ก ถู ก ใช้ เ ป็ นรากฐานของการก าหนดกลยุ ท ธ์
เพื่ อ ที่ จ ะท าให้ บรรลุ ต าม วิ สั ย ทั ศ น์ ภารกิ จ เป้ าหมาย หรื อ
นโยบายขององค์ กร ในการวิเคราะห์ SWOT Analysis
ความหมายของ SWOT
ANALYSIS
หรือหน่วยงานในปั จจุบนั เพือ่ ค้นหาจุดแข็ง
จุดเด่น จุดด้อย หรือสิง่ ที่อาจเป็ นปั ญหาสาคัญในการดาเนินงานสู่สภาพที่ตอ้ งการ
ในอนาคตซึง่ แบ่งไว้คือ
 เป็ นการวิเคราะห์สภาพองค์การ
SWOT
เป็ นตัวย่อที่มีความหมายดังนี้
Strengths
 Weaknesses
 Opportunities
 Threats

- จุดแข็งหรือข้ อได้ เปรียบ
- จุดอ่ อนหรือข้ อเสี ยเปรียบ
- โอกาสที่จะดาเนินการได้
- อุปสรรค ข้ อจากัด หรือปัจจัยทีค่ ุกคามการ
ดาเนินงานขององค์ การ

คื อ การวิ เ คราะห์ โ ดยการส ารวจจากสภาพการณ์ มี 2 ด้ า น คื อ
สภาพการณ์ ภายในและสภาพการณ์ ภายนอก
ดังนั้นการวิเคราะห์
SWOT จึงเรี ยกได้ ว่าเป็ นการวิเคราะห์ สภาพการณ์ (Situation Analysis) ซึ่ งเป็ น
การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่ อน เพือ่ ให้ ร้ ู ตนเอง (รู้ เรา) รู้ จัก สภาพแวดล้ อม
(รู้ เขา) ชั ดเจน และวิเคราะห์ โอกาส-อุปสรรค การวิเคราะห์ ปัจจัยต่ าง ๆ
ทั้งภายนอกและภายในองค์ กร ซึ่งจะช่ วยให้ ผ้ ูบริหารขององค์ กรทราบถึงการ
เปลี่ยนแปลงต่ าง ๆ ที่เกิดขึน้ ภายนอกทั้งสิ่ งที่ได้ เกิดขึ้นแล้ วและแนวโน้ มการ
เปลีย่ นแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงเหล่ านี้ ที่มีต่อ
องค์ กรธุรกิจ และจุดแข็ง จุดอ่ อน และความสามารถด้ านต่ าง ๆ ที่องค์ กรมีอยู่
ซึ่ ง ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ จ ะเป็ นประโยชน์ อ ย่ า งมากต่ อ การก าหนดวิ สั ย ทั ศ น์
การกาหนดกลยุทธ์ และการดาเนินตามกลยุทธ์ ขององค์ กรทีเ่ หมาะสมต่ อไป
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก

สภาพแวดล้ อมต่ าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์ กรซึ่งปัจจัยเหล่ านี้
จะช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจได้ ว่ า มี อิท ธิ พ ลต่ อ การด าเนิ น งานขององค์ ก รมี จุ ด แข็ ง
จุดอ่ อนที่เป็ นคุณลักษณะภายใน ที่อาจจะทาลายผลการดาเนินงาน โอกาส
ทางสภาพแวดล้ อมจะเป็ นสถานการณ์ เพื่อการบรรลุเป้ าหมายองค์ กร ผล
จากการวิเคราะห์ SWOT นี้จะใช้ เป็ นแนวทางในการกาหนดวิสัยทัศ น์
กาหนดกลยุทธ์ เพือ่ ให้ องค์ กรเกิดการพัฒนาไปในทางที่เหมาะสม โดยแบ่ ง
3 ขั้นตอนดังนี้
 การประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร
 การประเมินสภาพแวดล้ อมภายนอกองค์ กร
 ระบุสถานการณ์ จากการประเมินสภาพแวดล้ อม
3.1 การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กร หมายถึง
 การประเมินสภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร วิเคราะห์ และพิจารณาทรั พยากรและ
ความสามารถภายในองค์ กร ทุกๆ ด้ าน เพือ่ ที่จะระบุจุดแข็งและจุดอ่ อนขององค์ กร
แหล่ งที่มาเบือ้ งต้ นของข้ อมูลเพือ่ การประเมินสภาพแวดล้ อมภายใน คือระบบข้ อมูล
เพือ่ การบริหารที่ครอบคลุมทุกด้ าน ทั้งในด้ านโครงสร้ าง ระบบ ระเบียบ วิธี
ปฏิบัติงาน บรรยากาศในการทางานและทรัพยากรในการบริหาร(คน เงิน วัสดุ การ
จัดการ )
 - จุดแข็งขององค์ กร (S-Strengths) เป็ นการวิเคราะห์ ปัจจัยภายในจากมุมมองของผู้ที่
อยู่ภายในองค์ กร จุดเด่ นขององค์ กรที่องค์ กรควรนามาใช้ ในการพัฒนาองค์ กรได้ และ
ควรดารงไว้ เพือ่ การ เสริมสร้ างความเข็มแข็งขององค์ กร
 - จุดอ่ อนขององค์ กร (W-Weaknesses) เป็ นการวิเคราะห์ ปัจจัยภายในจากมุมมอง
ของผู้ที่อยู่ภายในองค์ กรนั้น ๆ เองว่ าปัจจัยภายในองค์ กรที่เป็ นจุดด้ อย ข้ อเสี ยเปรียบ
ขององค์ กรที่ควรปรับปรุงให้ ดขี นึ้ หรือขจัดให้ หมดไป อันจะเป็ นประโยชน์ ต่อองค์ กร
3.2 การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก หมายถึง

การประเมิ น สภาพแวดล้ อ มภายนอกองค์ ก รนั้ น สามารถค้ น หา
โอกาสและอุ ป สรรคการด าเนิ น งานของที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก
สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจทั้งในและระหว่ างประเทศที่เกี่ยวกั บการ
ดาเนินงาน เช่ น อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน
การงบประมาณ สภาพแวดล้ อมทางสั งคม เช่ น ระดับการศึ กษาและ
อั ต รารู้ หนั ง สื อ ของประชาชน การตั้ ง ถิ่ น ฐานและการอพยพของ
ประชาชน ลักษณะชุ มชน ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่ านิยม ความเชื่ อ
และวัฒนธรรม สภาพแวดล้ อ มทางการเมือ ง เช่ น พระราชบัญญัติ
พระราชกฤษฎีกา มติคณะรัฐมนตรี และ
สภาพแวดล้ อมทางเทคโนโลยี
3.3 ระบุสถานการณ์จากการประเมินสภาพแวดล้อม

เมือ่ ได้ ข้อมูลเกีย่ วกับ จุดแข็ง-จุดอ่ อน โอกาส-อุปสรรค จากการวิเคราะห์
ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกด้ วยการประเมินสภาพ แวดล้ อมภายในและ
สภาพแวดล้ อมภายนอกแล้ว ให้ นาจุดแข็ง-จุดอ่ อนภายในมาเปรียบเทียบ
กับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอกเพือ่ ดูว่าองค์ กร กาลังเผชิญสถานการณ์
เช่ นใดและภายใต้ สถานการณ์ เช่ นนั้น องค์ กรควรจะทาอย่ างไร โดยทั่วไป
ในการวิเคราะห์ SWOT ดังกล่ าวนี้ องค์ กร จะอยู่ในสถานการณ์ 4 รู ปแบบ
ดังนี้
ข้อพิจารณาในการวิเคราะห์ SWOT
1. ควรวิเคราะห์ แยกแยะควรทาอย่ างลึกซึ้ง เพื่อให้ ได้ ปั จจัยที่มี
ความสาคัญจริง ๆ เป็ นสาเหตุหลัก ๆ ของปัญหาทีแ่ ท้ จริง กล่ าวคือ เป็ น
ปัจจัยทีม่ ีประโยชน์ ในการนาไปกาหนดเป็ นนโยบาย ตลอดจนสามารถ
นาไปกาหนดกลยุทธ์ ที่จะทาให้ องค์ การ/ ชุ มชนบรรลุเป้าหมายที่เป็ น
ผลลัพธ์ ข้นั สุ ดท้ าย (Result)
 2. การกาหนดปั จจัยต่ าง ๆ ไม่ ควรกาหนดของเขตของความหมาย
ของปั จจัยต่ าง ๆ ไม่ ว่าจะเป็ น จุดอ่ อน (W) หรื อ จุดแข็ง (S) หรื อ
โอกาส (O) หรือ อุปสรรค (T) ให้ มีความหมายคาบเกี่ยวกัน จาเป็ น
อย่ างยิ่งที่จะต้ องตัดสิ นใจ และชี้ ชัดว่ าปั จจัยที่กาหนดขึ้นมานั้นเป็ น
ปัจจัยในกลุ่มใด ทั้งนี้เพราะปัจจัยที่อยู่ต่างกลุ่มกัน ก็ต้องสมควรที่จะ
นาไปกาหนดกลยุทธ์ ทตี่ ่ างกันออกไป

การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกการแข่งขันในเชิงธุรกิจ
* การเก็บรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อม องค์กรควรได้ศึกษา เก็บรวบรวม
ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทัง้ ภายใน และ ภายนอกกิจการ เพื่อทาให้ทราบถึง
ความเปลี่ยนแปลง และ ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้น การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจทาได้หลาย
วิธีรว่ มกัน ดังนี้
1. จากข้อมูล จากหน่วยงานเก็บรวบรวมไว้แล้ว
2. ข้อมูลจากพนักงานในองค์การ
3. หนังสือพิมพ์ วารสารทางธุรกิจต่างๆ
4. หน่วยงานของรัฐ หรือ เอกชน
5. ฐานข้อมูลต่างๆ ทัง้ ภายใน ภายนอกองค์กร
6. ข้อมูลจากลูกค้า และ ผูจ้ ดั ส่งวัตถุดบิ
7. ข้อมูลจากการวิเคราะห์ของผูเ้ ชีย่ วชาญการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลง
ของสภาวะแวดล้อม
สภาพแวดล้อมการดาเนินงาน (TASK ENVIRONMENT)

การวิ เ คราะห์ ส ภาพแวดล้ อ มการด าเนิ น งานขององค์ ก ร เรี ย กว่ า การวิ เ คราะห์
อุตสาหกรรม (Industrial Analysis) คือ กลุ่มขององค์ กรที่มีผลิตผลและบริ การ
คล้ ายคลึงกัน หรื อ กลุ่มธุ รกิจที่มีลักษณะเดียวกัน สภาพแวดล้ อมการดาเนิ นงานจะ
ประกอบไปด้ วยปัจจัยที่เฉพาะเจาะจง และ กระทบต่ อการบริหารงานขององค์ กรในทันที
เช่ น คู่แข่ งขัน ลูกค้ า แรงงาน และ ผู้จัดจาหน่ าย ซึ่งรู ปแบบการวิเคราะห์ อุตสาหกรรม
ที่ นิ ย มใช้ กั น คื อ รู ป แบบการประเมิ น สภาวะการแข่ งขั น ภายในอุ ต สาหกรรม
(5-F Model) ของ Michael E. Porter หรือ Five Force Model ประกอบไปด้ วย
5 ปัจจัย คือ
1. การคุกคามของผู้เข้ ามาใหม่ (New Entrants)
2. คู่แข่ งขันในอุตสาหกรรม (Industry Competitors)
3. การคุกคามของผลิตภัณฑ์ ทดแทน (Substitutes)
4. อานาจการเจรจาต่ อรองของผู้ซื้อ (Bargaining Power OF Buyers)
5. อานาจการต่ อรองของผู้จาหน่ ายวัตถุดบิ (Bargaining Power of Suppliers)
MODEL. ของ MICHAEL E. PORTER หรือ FIVE FORCE MODEL ประกอบด้ วย 5 ปัจจัย
คู่แข่ งขันรายใหม่
แรงจากการคุกตามของคู่แข่ งรายใหม่
คู่แข่ งปัจจุบัน
( แรงจากการแข่ งขัน
ภายในอุตสาหกรรม )
ซัพพลายเออร์
แรงจากอานาจต่ อรอง
ของชัพพลายเออร์
ลูกค้า
แรงจากอานาจต่ อรองของลูกค้า
สินค้าทดแทน
PORTER ‘ S FIVE FORCE MODEL
สรุป การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกของการแข่งขันในองค์การ
สภาพแวดล้ อมภายนอก แบ่ งออกเป็ น สภาพแวดล้ อมภายนอกองค์ กร และ
สภาพแวดล้ อมภายในองค์ กร การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมเรียกว่ า SWOT Analysis
การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน ทาให้ ทราบถึง จุดเด่ น และจุดด้ อย ส่ วน การ
วิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายนอก ทาให้ ทราบถึง โอกาส และ อุปสรรคสภาพแวดล้ อม
ภายนอก มีอยู่ 2 ส่ วน คือ สภาพแวดล้ อมทัว่ ไป และ สภาพแวดล้ อมการดาเนินงาน
 สภาพแวดล้ อมทัว
่ ไป เช่ น เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย สั งคม วัฒนธรรม
เทคโนโลยีภูมศิ าสตร์
 สภาพแวดล้ อมการดาเนินงานเป็ นปัจจัยทีม
่ ผี ลโดยตรงต่ อธุรกิจในอุตสาหกรรมนั้นๆ
เช่ นคู่แข่ งขัน ลูกค้ า รัฐบาล ชุ มชน ผู้จาหน่ ายวัตถุดบิ การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมการ
ดาเนินการ บางที เรียกว่ า การวิเคราะห์ อุตสาหกรรม รูปแบบทีน่ ิยมใช้ ในการวิเคราะห์
คือ Porter’s 5 F Model ประกอบด้ วยปัจจัย 5 ปัจจัย คือ การคุกคามของผู้เข้ ามาใหม่
คู่แข่ งขันในอุตสาหกรรม การคุกคามของผลิตภัณฑ์ ทดแทน อานาจต่ อรองของผู้ซื้อ
และ อานาจต่ อรองของผู้ขายการวิเคราะห์ SWOT โดยละเอียด จะมีการให้ ค่าคะแนน
และ ถ่ วงนา้ หนัก ซึ่งจะเป็ นข้ อมูลทีล่ ะเอียดชัดเจนมากขึน้ ในการกาหนดกลยุทธ์ ต่อไป

จบการนาเสนอ

ผูจ้ ดั ทา
นางรินจง อุทยั
รหัส
นางสุ กญ
ั ญา หน่ ายคอน รหัส
นางบุปผา ตันตะราวงศา รหัส
นางพิมลรัตน์ อินจิ๋ว รหัส
นางบารมี ตันติกลุ
รหัส
กลุ่ม 2
5202411051
5202411081
5202411089
5202411101
5202411102