มาตรฐานการบัญชี

Download Report

Transcript มาตรฐานการบัญชี

มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่ างประเทศ
(IFRS)
ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์
รองศาสตราจารย์ประจาภาควิชาการบัญชี
คณะพาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ
1
มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่ างประเทศ (IFRS)
• ครอบคลุมถึง
–
มาตรฐานการบัญชี (International Accounting Standard; IAS)
–
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (International Financial Reporting Standard; IFRS) (มีผลบังคับใช้มี 9 ฉบับ) =
(มีผลบังคับใช้ มี 29 ฉบับ)  TAS
TFRS
– การตีความมาตรฐานการบัญชี (Standing
Interpretation Committee; SIC) (มีผลบังคับใช้
มี 11 ฉบับ) (TSIC)
– การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (International
Financial Reporting Interpretation Committee; IFRIC) (มีผล
บังคับใช้มี 16 ฉบับ)  TFRIC
2
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• ครอบคลุมถึง
– มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
(มีผลบังคับใช้มี 30 ฉบับ)
– การตีความมาตรฐานการบัญชี (มีผลบังคับใช้มี 3 ฉบับ)
3
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• ส่ วนใหญ่อา้ งอิงจาก IFRS (ปรับปรุ ง 1993, 1997-1999 และ
2005/2006) ซึ่ งอาจแตกต่างจากฉบับที่คณะกรรมการมาตรฐาน
การบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) แก้ไขสิ้ นสุ ดในปี 2008
( IFRS ฉบับเข้าเล่มปี 2009 (Bound Volume 2009)) และฉบับ
ที่มีการปรับปรุ งในปี 2009 อย่างมีสาระสาคัญ
– TAS 1 (2006) การนาเสนองบการเงิน
– TAS 2 (2006) สิ นค้าคงเหลือ
– TAS 7 (2006) งบกระแสเงินสด
4
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• ส่ วนใหญ่อา้ งอิงจาก IFRS (ต่อ)
– TAS 8 (2006) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง
บัญชีและข้อผิดพลาด
– TAS 10 (2005) เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล
– TAS 11 (2006) สัญญาก่อสร้าง
– TAS 16 (1998) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
– TAS 17 (2006) สัญญาเช่า
– TAS 18 (1993) รายได้
5
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• ส่ วนใหญ่อา้ งอิงจาก IFRS (ต่อ)
– TAS 21 (1993) ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา
ต่ างประเทศ  2555
– TAS 23 (2006) ต้นทุนการกูย้ มื
– TAS 24 (1994) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่
เกี่ยวข้องกัน
– TAS 27 (2006) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
– TAS 28 (2006) เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม
– TAS 31 (2006) ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า
6
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• ส่ วนใหญ่อา้ งอิงจาก IFRS (ต่อ)
– TAS 33 (1997) กาไรต่อหุน้
– TAS 34 (2006) งบการเงินระหว่างกาล
– TAS 36 (2006) การด้อยค่าของสิ นทรัพย์
– TAS 37 (1997) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สิ นทรัพย์ที่
อาจเกิดขึ้น
– TAS 38 (2006) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
– TFRS 3 (2006) การรวมธุรกิจ
7
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
•
ส่วนใหญ่อา้ งอิงจาก IFRS (ต่อ)
–
TFRS 5 (2006) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก
• บางฉบับอ้างอิงจาก IFRS ที่ยกเลิกแล้ว
–
TAS 14 (1994) การเสนอข้ อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน = TFRS 8
–
TAS 107 (1998) การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิน
–TAS 103 การเปิ ดเผยข้ อมูลในงบ
การเงินของธนาคารและสถาบันการเงิน
ทีค่ ล้ ายคลึงกัน = TFRS 7
8
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
•
บางฉบับอ้างอิงจากมาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริ กา
(US GAAP)
–
TAS 102 การรั บรู้ รายได้สาหรั บธุรกิจอสัง หาริ มทรั พย์  2553
–
TAS 104 การบัญชีสาหรับการปรับโครงสร้ างหนีท้ มี่ ีปัญหา
–
TAS 105 การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนีแ้ ละตราสารทุน
–
TAS 106 การบัญชีสาหรับกิจการทีด่ าเนินธุรกิจและเฉพาะด้ านการลงทุน
• บางฉบับไม่ ได้ อ้างอิงจากมาตรฐานบัญชีสากล (Local GAAP)
= 55
พอ 56 ไปอยู่ TFRS 9
– TAS 101 หนีส้ งสั ยจะสู ญและหนีส้ ู ญ
9
มาตรฐานการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยในปัจจุบัน
• การตีความมาตรฐานการบัญชี ไม่ เป็ นไปตามสากล
–
ฉบับที่ 2 งบการเงินรวม-บริษัทย่ อยที่เป็ นกิจการเฉพาะกิจ  2541: AMC
–
ฉบับที่ 3 เครื่องมือทางการเงินแบบผสมทีอ่ อกโดยสถาบันการเงิน : 2541 สถาบันการเงินออก SLIPS/CAPS
–ฉบับที่ 9 สิ นทรัพย์ ทลี่ ูกหนีโ้ อน
ให้ เพือ่ ชาระหนี้  2555 พอ
รอบปี 56 ไปอยู่ใน TFRS 9
10
แนวทางการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงาน
ทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐาน
การรายงานทางการเงินฉบับใหม่ ที่จะมีผลบังคับใช้ ปี 2554
*มีการเปลี่ยนแปลงในหลักการสาคัญ
** มิได้มีการเปลี่ยนแปลงในหลักการสาคัญ
***มาตรฐานฉบับใหม่เพิม่ เติมจากของไทยในปัจจุบนั
11
กิจการทีม่ ิใช่ กจิ การทีม่ ีส่วนได้ เสี ยต่ อสาธารณะ (NPAE)
• กิจการที่ไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้
– กิจการที่มีตราสารทุนหรื อตราสารหนี้ของกิจการซึ่งมีการซื้อขายใน
ตลาดสาธารณะ (ไม่วา่ จะเป็ นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรื อ
ต่างประเทศหรื อการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์รวมทั้งตลาดใน
ท้องถิ่นและในภูมิภาค) หรื อ
– กิจการที่นาส่ งหรื ออยูใ่ นกระบวนการของการนาส่ งงบการเงินของ
กิจการให้แก่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด
หลักทรัพย์หรื อหน่วยงานกากับดูแลอื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการออก
ขายหลักทรัพย์ใดๆ ในตลาดสาธารณะ หรื อ
12
กิจการทีม่ ิใช่ กจิ การทีม่ ีส่วนได้ เสี ยต่ อสาธารณะ (NPAE)
• กิจการที่ไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้
– กิจการที่ดาเนินธุรกิจหลักในการดูแลทรัพย์สินของกลุ่ม
บุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงินตามพระราชบัญญัติ
สถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 บริ ษทั ประกันชีวิต บริ ษทั ประกันวินาศภัย
บริ ษทั หลักทรัพย์ กองทุนรวม เป็ นต้น หรื อ
– บริ ษทั มหาชนตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชน จากัด พ.ศ. 2535
(รวมบ มหาชน ที่ delist
ออกไปจากตลาด)
13
ฉบับที่
มาตรฐานการบัญชี
PAE NPAE
1* การนาเสนองบการเงิน (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
x
x
เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
2** สิ นค้าคงเหลือ (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 x
x
พฤษภาคม 2553)
7** งบกระแสเงินสด (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่
x
26 พฤษภาคม 2553)
8** นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
x
x
และข้อผิดพลาด (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่
26 พฤษภาคม 2553)
10** เหตุการณ์ภายหลังงวดที่รายงาน (ได้ประกาศในราชกิจจา
x
x
นุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
11** สัญญาก่อสร้าง (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่
x
x
14
26 พฤษภาคม 2553)
ฉบับที่
มาตรฐานการบัญชี
16* ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (คาดว่าจะสามารถลงประกาศในราช
กิจจานุเบกษาได้ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553 )
17** สัญญาเช่า (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม 2553)
18** รายได้ (คาดว่าจะสามารถลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาได้
ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553) (มีส่วนต่ างเกี่ยวกับการรั บรู้
PAE NPAE
x
x
x
x
x
x
x
-
x
x
รายได้ ของธุรกิจของอสังหาริ มทรั พย์ เนื่องจากจะมีการยกเลิกมาตรฐาน
การบัญชี ของไทยในปั จจุบัน TAS 102 เมื่อมีการประกาศใช้ )
19*** ผลประโยชน์ของพนักงาน (คาดว่าจะสามารถลงประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาได้ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553 )
23* ต้นทุนการกูย้ มื (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม 2553)
15
ฉบับที่
มาตรฐานการบัญชี
24** การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้องกัน
(ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม
2553)
26*** การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์หลัง
เกษียณอายุ (คาดว่าจะสามารถลงประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาได้ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553 )
27* งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (ได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
28* เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
วันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
29*** การรายงานในภาวะเศรษฐกิจเงินเฟ้ อรุ นแรง (ได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
PAE NPAE
x
-
x
x
x
-
x
-
x
x
16
ฉบับที่
มาตรฐานการบัญชี
PAE NPAE
31* ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ x
วันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
33** กาไรต่อหุ น้ (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26
x
x
พฤษภาคม 2553)
34** งบการเงินระหว่างกาล (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
x
x
วันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
36** การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ x
x
วันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
37** ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจ
x
x
เกิดขึ้น (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม 2553)
17
ฉบับที่
มาตรฐานการบัญชี
PAE
NPAE
38**
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
วันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
x
x
x
x
40*** อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน (ได้ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
18
ฉบับที่
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
2*** การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ (คาดว่าจะสามารถลงประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาได้ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553 )
3* การรวมธุรกิจ (คาดว่าจะสามารถลงประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาได้ประมาณปลายเดือนธันวาคม 2553 )
5** สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่
ยกเลิก (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม 2553)
6*** การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ (ได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553)
PAE NPAE
x
x
x
x
x
x
x
19
การเปลีย่ นแปลงที่สาคัญจาก TAS หรือ TFRS ฉบับเดิม –
TFRS ฉบับใหม่ ที่จะมีผลบังคับใช้ ปี 2554
20
TAS 1 การนาเสนองบการเงิน
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาที่ปรากฏอยูใ่ นแต่ละย่อหน้า
เดิม
มาตรฐานการบัญชี
งบดุล
งวดการรายงานทางการเงิน
ส่ วนได้เสี ยของผูถ้ ือหุน้ ส่ วนน้อย
วันที่ในงบดุล
งบกาไรขาดทุน
เปลีย่ นเป็ น
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน (ไม่ได้บงั คับ)
ความถี่ของการรายงาน
ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ/งบเฉพาะ
กาไรขาดทุน
21
TAS 1 การนาเสนองบการเงิน
• กาหนดให้
– รายได้และค่าใช้จ่ายต้องแสดงในงบการเงินเดียว (งบกาไรขาดทุน
เบ็ดเสร็ จ) หรื อในงบการเงินสองงบ (งบเฉพาะกาไรขาดทุนและ
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ)
– ส่ วนประกอบของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นต้องแสดงไว้ใน
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
– กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมต้องแสดงไว้ในงบการเงิน
– ห้ามไม่ให้กิจการแสดงองค์ประกอบของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ เช่น การ
เปลี่ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของที่ไม่ได้เกิดจากรายการกับผูเ้ ป็ นเจ้าของ
22
ตัวอย่ าง งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
แสดงการนาเสนอกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงบเดียวและจาแนกค่ าใช้ จ่ายตามหน้ าที่
23
ตัวอย่ าง งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
แสดงการนาเสนอกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงบเดียวและจาแนกค่ าใช้ จ่ายตามหน้ าที่ (ต่ อ)
24
ตัวอย่ าง งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
แสดงการนาเสนอกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในสองงบและจาแนกค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ
25
ตัวอย่ าง งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
แสดงการนาเสนอกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในสองงบและจาแนกค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ (ต่ อ)
26
ตัวอย่าง งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ
27
ตัวอย่ าง งบแสดงฐานะการเงิน (บางส่ วน)
28
TAS 1 การนาเสนองบการเงิน
• กาหนดให้ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูลเปรี ยบเทียบกับงวดก่อน โดยเปิ ดเผย
ข้อมูลอย่างน้อยสองงวดสาหรับงบการเงินแต่ละงบและหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินที่เกี่ยวข้อง ซึ่งข้อกาหนดดังกล่าวได้รวมถึงการ
กาหนดให้รวมงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่แรก
สุ ดที่นามาเปรี ยบเทียบไว้ในงบการเงินฉบับสมบูรณ์ เมื่อ
– ได้นานโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบตั ิยอ้ นหลังหรื อ
– การปรับงบการเงินย้อนหลัง หรื อ
– เมื่อมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่
29
TAS 1 การนาเสนองบการเงิน
• สาหรับงบการเงินซึ่ งมีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1
มกราคม 2554 และเป็ นรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่กิจการนา TAS 1
มาใช้
– ถือเป็ นการนานโยบายการบัญชีมาปรับปรุ งย้อนหลังหรื อจัดประเภท
รายการในงบการเงินใหม่ (ดูยอ่ หน้าที่ 39) (ซึ่ งหมายถึงการแสดงงบการเงิน
เปรี ยบเทียบสามปี )
– สามารถเลือกที่จะแสดงงบแสดงฐานะการเงินเพียงสองงบโดยไม่แสดง
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่นามาเปรี ยบเทียบ
(ซึ่ งหมายถึงการแสดงงบการเงินเปรี ยบเทียบสองปี )
30
TAS 2 สิ นค้ าคงเหลือ 2554 หลักการเหมือนกับ 2549
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาที่ปรากฏอยูใ่ นแต่ละย่อหน้า
เดิม
มูลค่ายุติธรรมหักประมาณการ
ต้นทุนในการขาย
เปลีย่ นเป็ น
มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย
ส่ วนงานธุรกิจ, ส่ วนงานในภูมิภาค ส่ วนงานดาเนินงาน
นายหน้าซื้อขายผลิตผลทาง
การเกษตร
นายหน้า-ผูค้ า้ สิ นค้าโภคภัณฑ์
วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
วันสิ้ นงวด
31
TAS 2 สิ นค้ าคงเหลือ
•
•
ไม่อนุญาตให้นาผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นโดยตรงจากการซื้อสิ นค้าด้วยสกุลเงินตราต่างประเทศไปรวมเป็ นต้นทุนในการซื้อสิ นค้านั้น
ในกรณี ที่มีการซื้อสิ นค้าโดยมีเงื่อนไขการจ่ายชาระเงินนานเกินกว่าระยะเวลาการได้สินเชื่อตามปกติ ผลต่างระหว่างจานวนเงินที่จ่ายจริ งกับราคาซื้อที่ตอ้ งจ่ายภายใต้
เงื่อนไขการให้สินเชื่อตามปกติให้รับรู ้เป็ นดอกเบี้ยจ่ายตลอดระยะเวลาการจัดหาเงิน
• ใช้ วธิ ีการคานวณต้ นทุนวิธีเดียวกันสาหรับ
สิ นค้ าคงเหลือทุกประเภทซึ่งมีลกั ษณะและการ
ใช้ ที่คล้ายคลึงกัน
–FIFO
–Weighted average
–Specific identification
32
TAS 2 สิ นค้ าคงเหลือ
• ยกเลิกการอ้ างอิงถึงหลักการจับคู่รายได้ กบั ค่ าใช้ จ่าย
• มูลค่าที่ลดลงของสิ นค้าคงเหลือเนื่องจากการปรับมูลค่าให้
เท่ากับมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ รวมทั้งผลขาดทุนทั้งหมดที่เกี่ยวกับ
สิ นค้าคงเหลือต้องบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่ปรับมูลค่าสิ นค้า
ให้ลดลงหรื อมีผลขาดทุนเกิดขึ้น
• จานวนที่เกิดจากการกลับรายการปรับลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือที่
เกิดจากการเพิม่ ขึ้นของมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ ต้องรับรู้โดยนาไป
หักจากมูลค่าของสิ นค้าคงเหลือที่รับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี
ที่มีการกลับรายการดังกล่าว
33
TAS 16 ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ 2554
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาที่ปรากฏอยูใ่ นแต่ละย่อหน้า
เดิม
มูลค่าเสื่ อมสภาพ
ราคาตามบัญชี
ราคาซาก
อายุการใช้งาน
ค่าเผือ่ การด้อยค่า
ราคาทุน
วันที่ในงบดุล
เปลีย่ นเป็ น
จานวนที่คิดค่าเสื่ อมราคา
มูลค่าตามบัญชี
มูลค่าคงเหลือ
อายุการให้ประโยชน์
ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม
ต้นทุน
วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
34
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
• ต้องประเมินต้นทุนทั้งหมดตามหลักการของการรับรู ้รายการ
โดยทัว่ ไป ต้นทุนดังกล่าวประกอบด้วย
– ต้นทุนเริ่ มแรกเพื่อให้ได้มาหรื อก่อสร้างรายการที่ดิน อาคารและ
อุปกรณ์ และ
– ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง (ต่อเติม ดัดแปลง ปรับปรุ ง เปลี่ยนแทน)
หลักการของการรับรู้รายการโดยทัว่ ไป
– มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน
อนาคตจากรายการนั้น
– สามารถวัดค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ
35
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
• ต้นทุนของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์รวมถึง
– ต้นทุนในการรื้ อ การขนย้าย หรื อการบูรณะสภาพของสิ นทรัพย์ ซึ่ง
เป็ นภาระผูกพันของกิจการอันเกิดขึ้นจากการติดตั้งสิ นทรัพย์
ดังกล่าว
– ต้นทุนในการรื้ อ การขนย้าย หรื อการบูรณะสภาพของสิ นทรัพย์ซ่ ึง
เป็ นภาระผูกพันของกิจการที่เกิดขึ้นอันเป็ นผลจากการใช้ประโยชน์
จากสิ นทรัพย์น้ นั ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อวัตถุประสงค์อื่น
นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ในการผลิตสิ นค้าคงเหลือ
36
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
• ต้องคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนประกอบของรายการทีด่ ิน
อาคารและอุปกรณ์แต่ละส่ วนที่มีนยั สาคัญแยกต่างหากจากกัน
(component approach)
• ตัวอย่าง (เฉลยในชั้นเรี ยน)
– 1/1/2552 ซื้อเครื่ องจักรราคา 100 บาท อายุการให้ประโยชน์ 5 ปี
กิจการคิดค่าค่าเสื่ อมราคาเครื่ องจักรโดยใช้วิธีเส้นตรงโดยไม่ได้มี
การคิดค่าเสื่ อมราคาส่ วนประกอบแต่ละส่ วนที่มีนยั สาคัญแยก
ต่างหากจากกัน
– 1/1/2554 กิจการได้เปลี่ยนวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาจาก Lump-sum
Approach เป็ น Component Approach ข้อมูลที่จาเป็ นต่อการบันทึก
การเปลี่ยนวิธีคิดค่าเสื่ อมราคามีดงั นี้
37
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
ส่ วนประกอบ
มูลค่ า
มูลค่ าคงเหลือ
30
อายุการให้
ประโยชน์ คงเหลือ
2
A
B
อื่นๆ
50
20
3
10
2
1
4
38
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (เฉลย)
39
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (เฉลย)
40
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (เฉลย)
41
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
• ต้องวัดมูลค่าคงเหลือของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ดว้ ย
จานวนที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปัจจุบนั จากการจาหน่าย
สิ นทรัพย์ประหนึ่งว่าสิ นทรัพย์มีอายุและสภาพทีค่ าดว่าจะเป็ น
เมื่อสิ้ นสุ ดอายุการให้ประโยชน์
• ต้องเริ่ มคิดค่าเสื่ อมราคารายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เมื่อ
สิ นทรัพย์น้ นั พร้อมที่จะใช้งาน
• ยังคงต้องคิดค่าเสื่ อมราคาต่อไปจนกว่าได้ตดั สิ นทรัพย์น้ นั ออก
จากบัญชี แม้วา่ จะหยุดใช้งานสิ นทรัพย์ในรอบระยะเวลา
ดังกล่าว
42
TAS 16 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์
• ในกรณี ที่นา TAS 16 มาถือปฏิบตั ิสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี
2554
– การแยกส่ วนประกอบที่มีนยั สาคัญ (การคิดค่าเสื่ อมราคาจากต้นทุนของ
รายการที่แยกส่ วนประกอบตามที่กาหนดในย่อหน้าที่ 44 ถึง 47) และ
ต้นทุนสาหรับการรื้ อ การขนย้าย และการบูรณะสถานที่ต้ งั ของ
สิ นทรัพย์ ให้ปรับงบการเงินย้อนหลัง ทั้งนี้
• อาจเลือกปรับไปข้างหน้าสาหรับการแยกส่ วนประกอบที่มีนยั สาคัญ
สิ นทรัพย์ที่มีอยู่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 และ
• ต้องเปิ ดเผยข้อเท็จจริ งนี้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
43
TAS 18 รายได้
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาที่ปรากฏอยูใ่ นแต่ละย่อหน้า
เดิม
วันที่ในงบดุล
ต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้อง
เปลีย่ นเป็ น
วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
ต้นทุนของการทารายการที่เกี่ยวข้อง
• มีผลให้ยกเลิก TAS 102
44
TAS 18 รายได้
• มีการเปลี่ยนแปลงในขอบเขตของ TAS กล่าวคือ
– มีการยกเลิกการไม่ถือปฏิบตั ิ TAS ฉบับนี้กบั รายได้ที่เกิดจากการขายสิ นทรัพย์ที่
ไม่ใช่สินค้าและรายได้หรื อรายการกาไรที่กาหนดไว้ใน TAS ฉบับอื่นออก
– มีขอ้ ความระบุชดั เจนว่า TAS ฉบับนี้ไม่ถือปฏิบตั ิกบั การรับรู ้ผลิตผลทาง
การเกษตรเมื่อเริ่ มแรก
45
TAS 18 รายได้
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาในย่อหน้าที่ 32
– หากกิจการซื้ อเงินลงทุนที่ระบุอตั ราดอกเบี้ยโดยมีดอกเบี้ยคงค้างที่เกิดขึ้นก่อน
การซื้ อ กิจการต้องปั นส่ วนดอกเบี้ยที่ได้รับในเวลาต่อมาระหว่างดอกเบี้ยรับที่
เกิดขึ้นในช่วงเวลา (ที่เกิดขึ้น) ก่อนการซื้ อและหลังการซื้ อเพื่อรับรู้เป็ นรายได้
เฉพาะส่ วนที่เกิดขึ้นหลังการซื้ อ (ในกรณี ที่กิจการซื้ อตราสารทุนที่มีการ
ประกาศจ่ายเงินปั นผลจากกาไรสุ ทธิ ที่เกิดขึ้นก่อนการซื้ อตราสารทุนนั้น
กิจการต้องนาเงินปั นผลดังกล่าวมาหักจากต้นทุนของตราสารทุน หากไม่
สามารถปั นส่ วนเงินปั นผลดังกล่าวได้ ต้องรับรู ้เงินปั นผลทั้งจานวนเป็ นรายได้
เว้นแต่จะเห็นได้ชดั เจนว่าเงินปั นผลดังกล่าวเป็ นการคืนทุนให้ตราสารทุน)
(ข้ อความที่อยู่ในวงเล็บเป็ นถ้ อยคาที่ตัดออก)
46
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 13
โปรแกรมสิ ทธิพเิ ศษแก่ ลูกค้ า
• กิจการที่ให้สิทธิในการแลกของรางวัลแก่ลูกค้าต้องปันส่ วนสิ่ ง
ตอบแทนที่ได้รับหรื อค้างรับจากรายการขายเริ่ มแรกให้กบั สิ ทธิ
ในการแลกของรางวัลแก่ลูกค้าไปเป็ นภาระหนี้สินที่กจิ การต้อง
จัดหาสิ นค้าหรื อบริ การฟรี หรื อให้ส่วนลดในสิ นค้าหรื อบริ การ
ในอนาคต
• ต้องวัดมูลค่าสิ่ งตอบแทนที่ได้รับที่ปันส่ วนไปยังสิ ทธิในการ
แลกของรางวัลแก่ลูกค้า โดยอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรม ซึ่งคือ
จานวนเงินที่ได้รับเมื่อนาสิ ทธิในการแลกของรางวัลแก่ลูกค้า
ไปขายแยกต่างหาก
47
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 13
โปรแกรมสิ ทธิพเิ ศษแก่ ลูกค้ า
• ต้องรับรู ้มูลค่าสิ่ งตอบแทนที่ปันส่ วนไปยังสิ ทธิในการแลกของ
รางวัลเป็ นรายได้เมื่อลูกค้ามาใช้สิทธิและได้ปฏิบตั ิตามสัญญา
ภาระผูกพันที่จะจัดหารางวัลนั้น
48
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 13
โปรแกรมสิ ทธิพเิ ศษแก่ ลูกค้ า
ตัวอย่ าง – รางวัลที่จัดหาโดยกิจการ
ร้านขายปลีกแห่งหนึ่งมีโปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้าโดยใช้คะแนน
สะสม หากสมาชิกซื้อสิ นค้าในร้านครบตามจานวนเงินที่ระบุไว้ สมาชิก
จะได้รับคะแนนซึ่งเป็ นไปตามโปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้า โดย
คะแนนนี้สามารถใช้ในการซื้อสิ นค้าในครั้งต่อไปได้ คะแนนนี้ไม่มีวนั
หมดอายุ ในงวดหนึ่ง ร้านได้ให้คะแนนแก่สมาชิกไป 100 คะแนน ซึ่ง
ผูบ้ ริ หารคาดว่าจะมีสมาชิกมาใช้สิทธิจานวน 80 คะแนน และผูบ้ ริ หาร
ประมาณมูลค่ายุติธรรมของแต่ละคะแนนเท่ากับ 1,000 บาท และตั้ง
รายได้รับล่วงหน้าไว้จานวน 100,000 บาท
49
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 13
โปรแกรมสิ ทธิพเิ ศษแก่ ลูกค้ า
ปี ที่ 1 สิ้ นปี ที่ 1 มีสมาชิกมาใช้สิทธิเพื่อแลกซื้อสิ นค้าจานวน 40 คะแนน
เป็ นจานวนครึ่ งหนึ่งจากที่ผบู ้ ริ หารคาดไว้ กิจการรับรูร้ ายได้
(40 คะแนน/80 คะแนน *) x 100,000 = 50,000 บาท
ปี ที่ 2 ในปี ที่ 2 ผูบ้ ริ หารปรับปรุ งการคาดการณ์เป็ น 90 คะแนนที่จะมี
สมาชิกมาใช้สิทธิท้ งั หมด
ในระหว่างปี ที่ 2 มีสมาชิกมาใช้สิทธิ 41 คะแนน ดังนั้นรวมผูม้ าใช้สิทธิ
ทั้งหมด 40 + 41 = 81 คะแนน กิจการจะรับรู ้รายได้สะสมจานวน
(81 คะแนน/90 คะแนน) x 100,000 = 90,000 บาท ในปี ที่ 1 กิจการรับรู ้
รายได้ไปแล้ว 50,000 บาท ดังนั้น กิจการจะรับรู ้รายได้ในปี ที่ 2 จานวน
40,000 บาท
50
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 13
โปรแกรมสิ ทธิพเิ ศษแก่ ลูกค้ า
ปี ที่ 3 ในปี ที่ 3 มีสมาชิกมาใช้สิทธิเพิ่ม 9 คะแนน ทาให้จานวนคะแนนที่
มีผมู ้ าใช้สิทธิท้ งั หมดเป็ น 81+9= 90 ผูบ้ ริ หารยังคงคาดว่ามีสมาชิกมาใช้
สิ ทธิจานวน 90 คะแนน คือ ไม่มีสมาชิกมาใช้คะแนนเพิ่มเติมหลังจากปี
ที่ 3 ดังนั้น รายได้สะสมมีจานวน (90 คะแนน/90 คะแนน) x 100,000 =
100,000 บาท กิจการได้รับรู ้รายได้ไปแล้วจานวน 90,000 บาท
( 50,000 บาทในปี ที่ 1 และ 40,000 บาทในปี ที่ 2 ) ดังนั้น กิจการรับรู ้
ส่ วนที่เหลืออีก 10,000 บาท ในปี ที่ 3 กิจการได้ทยอยรับรู ้รายได้
รับล่วงหน้าเมื่อเริ่ มแรกเป็ นรายได้ท้ งั หมดแล้ว
51
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15
สั ญญาสาหรับการก่ อสร้ างอสั งหาริมทรัพย์
• สัญญาสาหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ถือเป็ นสัญญา
ก่อสร้างซึ่ งอยูภ่ ายใต้ขอบเขตของ TAS 11 ก็ต่อเมื่อผูซ้ ้ื อสามารถ
ระบุส่วนประกอบโครงสร้างหลักของการออกแบบ
อสังหาริ มทรัพย์ก่อนที่การก่อสร้างจะเริ่ มขึ้น และ/หรื อสามารถ
กาหนดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหลักได้ในระหว่างที่มกี าร
ก่อสร้าง (ไม่วา่ ผูซ้ ้ือใช้สิทธิ หรื อไม่กต็ าม)
– หากผูซ้ ้ือมีความสามารถดังกล่าว ผูซ้ ้ือต้องรับรู ้รายได้ตามเกณฑ์ที่
กาหนด TAS 11
– หากผูซ้ ้ือมีความสามารถดังกล่าว ผูซ้ ้ือต้องรับรู ้รายได้ตามเกณฑ์ที่
กาหนด TAS 18
52
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15
สั ญญาสาหรับการก่ อสร้ างอสั งหาริมทรัพย์
• หากถือปฏิบตั ิตาม TAS 11 โดยสามารถประเมินผลของงาน
ก่อสร้างได้อย่างน่าเชื่อถือ กิจการสามารถรับรู้รายได้โดยอ้างอิง
กับขั้นความสาเร็ จของกิจกรรมตามสัญญา
• หากต้องให้บริ การพร้อมทั้งจัดหาวัสดุก่อสร้าง เพื่อทาตาม
ข้อตกลงในสัญญาในการส่ งมอบอสังหาริ มทรัพย์ให้กบั ผูซ้ ้ื อ
สัญญาดังกล่าวถือเป็ นสัญญาการขายสิ นค้า ดังนั้น ต้องรับรู้
รายได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดใน TAS 18.
53
TAS 33 กาไรต่ อหุ้น
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาที่ปรากฏอยูใ่ นแต่ละย่อหน้า
เดิม
งบกาไรขาดทุน
วันที่ในงบดุล
เปลีย่ นเป็ น
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
• ให้แนวทางและตัวอย่างเพิ่มเติมในเรื่ องที่ซบั ซ้อน เช่น
ผลกระทบของหุน้ สามัญที่อาจต้องออกตามเงื่อนไข ตราสารที่
อาจเปลี่ยนเป็ นหุน้ สามัญของบริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้าหรื อ
บริ ษทั ร่ วม ตราสารที่มีสิทธิร่วมในส่ วนทุน สิ ทธิเลือกขายที่
กิจการออก สิ ทธิเลือกขายและสิ ทธิเลือกซื้อที่กิจการซื้ อมา และ
เครื่ องมือทางการเงินที่กาหนดให้ตอ้ งมีการแปลงสภาพ
54
TAS 33 กาไรต่ อหุ้น
• TAS ฉบับเดิมใช้ถือปฏิบตั ิกบั กิจการที่มีหุน้ สามัญหรื อตราสารที่
อาจเปลี่ยนเป็ นหุน้ สามัญที่ซ้ือขายต่อสาธารณชน และกิจการที่
อยูใ่ นกระบวนการออกหุน้ สามัญ หรื อตราสารที่อาจเปลีย่ นเป็ น
หุน้ สามัญเพื่อเสนอขายต่อสาธารณชน TAS ฉบับนี้ใช้ถือปฏิบตั ิ
กับงบการเงินเฉพาะกิจการหรื องบการเงินของบริ ษทั ของกิจการ
หรื องบการเงินรวมของกลุ่มกิจการซึ่งบริ ษทั ใหญ่ทมี่ ีลกั ษณะ
ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
– มีหุน้ สามัญหรื อตราสารที่อาจเปลี่ยนเป็ นหุ น้ สามัญที่ซ้ื อขายในตลาดสาธารณะ
(ในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรื อต่างประเทศ หรื อศูนย์กลางซื้ อขาย
หลักทรัพย์นอกตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงตลาดในประเทศและภูมิภาค) หรื อ
– ได้ยนื่ หรื ออยูใ่ นกระบวนการยืน่ งบการเงินของกิจการต่อคณะกรรมการกากับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อองค์กรกากับดูแลอื่น โดยมีวตั ถุประสงค์
เพื่อเสนอขายหุน้ สามัญในตลาดสาธารณะ
55
TAS 33 กาไรต่ อหุ้น
• มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคาในย่อหน้าที่ 4
– หากกิจการนาเสนอทั้งงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการซึ่ง
จัดทาตาม TAS 27 TAS ฉบับนี้กาหนดให้(เปิ ดเผยเฉพาะข้อมูลของ
งบการเงินรวมเท่านั้น)เปิ ดเผยเฉพาะกาไรต่อหุน้ ตามข้อมูลของงบ
การเงินรวม หาก(มีการนาเสนองบการเงินเฉพาะกิจการ ให้เปิ ดเผย
กาไรต่อหุน้ ดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการด้วย)เลือกที่จะ
นาเสนอกาไรต่อหุน้ ตามข้อมูลของงบการเงินเฉพาะกิจการ ให้แสดง
ข้อมูลกาไรต่อหุน้ ดังกล่าวในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ กิจการไม่
จาเป็ นต้องนาเสนอข้อมูลกาไรต่อหุน้ ดังกล่าวในงบการเงินรวม
(ข้ อความที่ขีดเส้ นใต้ เป็ นรายการที่ เพิ่มเติมข้ อความที่อยู่ในวงเล็บเป็ นถ้ อยคาที่
ตัดออก)
56
TAS 33 กาไรต่ อหุ้น
• มีการเพิ่มเติมภาคผนวก ก แนวทางในการนามาปฏิบตั ิ และ
ภาคผนวก ข การแก้ไขประกาศอื่น
57
Question & Answer