นโยบายการบัญชี (Accounting Policy)

Download Report

Transcript นโยบายการบัญชี (Accounting Policy)

www.accounting.crru.ac.th
Asst.Prof. Dr.
Panchat Akarak
www.accounting.crru.ac.th
CURR
CURR
ห ม า ย ถึ ง
แนวทางทีแ
่ นะนาให้นักบัญชีใช้ยึดถือเป็ น
ห ลั ก ป ฏิ บั ต ิ ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม บั น ทึ ก
จาแนก สรุ ป ผล และรายงานเหตุก ารณ ์
เกีย
่ วกับการเงิน
หมายถึง แนวทางทีไ
่ ด้รับการรับรองและ
ยอมรับเป็ นส่ วนใหญ่จากผู้มีอ านาจหน้ าที่
ในวิ ช าชี พ การบั ญ ชี เพื่ อ ให้ นั ก บั ญ ชี
ยึดถือ
CRRU
หมายถึง มาตรฐานและการตีค วามที่
ออกโดยคณะกรรมการกาหนด
มาตรฐานการบัญ ชี ซึ่ ง ประกอบด้ วย
(1) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
(2) มาตรฐานการบัญชี (3)การตีความ
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และ
(4) การตีความมาตรฐานการบัญชี CRRU
• หมายถึง กฎเกณฑ ที
์ ่ใ ช้ ในการจัด ท างบการเงิน
ซึ่ ง ระบุ ถึ ง ข้ อมู ล ที่ ค วรแสดงและวิธ ี ใ นการจัด ท า
นาเสนองบการเงิน
• 1. เพือ
่ ให้ผู้ใช้งบการเงินทุกฝ่ายได้รับงบการเงินที่
จัดทาขึน
้ ภายใต้มาตรฐานการบัญชีเดียวกัน
• 2. เพือ
่ ให้งบการเงินสามารถเปรียบเทียบกันได้
• 3. เพือ
่ ให้ ผู้ สอบบัญ ชีส ามารถตรวจสอบและแสดง
ความเห็ นตองบการเงิ
นได้
่
• 4. มาตรฐานมีผลกระทบตอคุ
่ ณภาพของข้อมูลและมี
บทบาทตอการจั
ดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ
่
CRRU
• 5. มาตรฐานการบัญ ชี ม ีส วนส าคัญ ในการพัฒ นา
•
•
•
•
•
คานิยาม
(Definition)
การรับรูรายการ
(Recognition)
้
การเลิกรับรูรายการ
(Derecognition)
้
การวัดมูลคารายการ
(Measurement)
่
การน าเสนอรายการและการเปิ ดเผยข้อมูล
(Presentation and Disclosure)
CRRU
American Model)
Model)
America Model)
(British(Continental
( South
CRRU
( British-
American Model)
• ป ร ะ เ ท ศ แ อ ง โ ก ร - แ ซ ก ซ อ น ( AngloSaxon Countries) หรือเรียกวาบั
่ ญชีแบบบ
ริทช
ิ -อเมริกน
ั (British-American Model)
• การบัญ ชีรูปแบบทีต
่ อบสนองความต้องการ
ของผู้ ลงทุ น และผู้ ให้ กู้ ในการตัด สิ น ใจเป็ น
ใหญ่ เนื่ อ งจากมีพ ฒ
ั นาการตลาดหุ้ นทุ น
และหุ้ นกู้ ขนาดใหญ่ กิจ การขนาดใหญ
CRRU่
( Continental
Model)
• ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก ลุ่ ม ยุ โ ร ป ( Continental
European Group) หรือรูปแบบคอนติเนน
ตอล (Continental Model) หมายถึง
• ประเทศที่ ร วมอยู่ ในกลุ่ มนี้ ค ื อ ประเทศใน
ยุ โ ร ป แ ล ะ ญี่ ปุ่ น
ธุ ร กิ จ จ ะ ผู ก ติ ด กั บ
ธนาคารซึ่งเป็ นแหลงเงิ
่ นทุนส่วนใหญ่ การ
บั ญ ชี จ ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ฎ ห ม า ย
ตาม
กฎระเบียบทีก
่ าหนดโดยรัฐบาลเพือ
่ คานวณ
CRRU
(South
America
Model)
• โดยทั่ว ไปเป็ นการบัญ ชีมุ่งตอบสนองความ
ต้ องการของผู้ วางแผนของรัฐ บาล การ
บัญชีและการรายงานการเงินจึงมีวธ
ิ ป
ี ฏิบต
ั ท
ิ ี่
เป็ นแบบแผนเดียวกันเพือ
่ บังคับใช้กับหน่วย
ธุ ร กิจ และจัด เก็ บ ภาษี เ งิน ได้ ของรัฐ บาล
และเป็ นแบบจาลองการบัญชีเพือ
่ ปรับปรุงผล
จากภาวะเงินเฟ้อ เนื่องจากประเทศเหลานี
่ ้
เกิดภาวะเงินเฟอแบบรุนแรงเป็ นเวลานานCRRU
(Mixed
Economy Model)
• การเปลีย
่ นแปลงทางการเมืองในยุโรปส่งผลให้
ตะวั น อ อ ก แ ล ะ อ ดี ต ส หภ า พ โ ซ เ วี ย ต มี ค ว าม
ต้ อ ง ก า ร แ บ บ จ า ล อ ง ก า ร บั ญ ชี ที่ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ
เฉพาะเจาะจงเพือ
่ ให้สอดคล้องกับการวางแผน
ทางเศรษฐกิจทีเ่ ข้มงวดจากส่วนกลาง
• การบัญ ชีจึง มี 2 แบบ คือ การบัญ ชีท ี่เ น้ น
งบประมาณมีรู ป แบบเดีย วกัน และเน้ นระบบ
ตลาดทุ น นิ ย มจะใช้ แบบจ าลองของอัง กฤษCRRU
(Emerging Model)
• การบัญชี แบบจาลองอิสลามเป็ นความเชือ
่
และข้อห้ามทางศาสนา เช่น เรือ
่ งการคิด
ดอกเบีย
้ เงินกู้
• และแบบจ าลองมาตรฐานระหว่างประเทศ
มาจากการปรับการบัญชีระหวางประเทศให
่
้
สอดคล้ องกัน ซึ่ ง มีบ ทบาทกับ บริษั ท ข้ าม
ชาติและตลาดการเงินระหวางประเทศ
่
CRRU
1. มาตรฐานการบัญ ชี ท ี่อ อกโดยสมาคม
ผู้สอบบัญชีรบ
ั อนุ ญาตใน
สหราชอาณาจักร (ICAEW)
2. มาตรฐานการบัญ ชี ท ี่อ อกโดยสมาคม
ผู้สอบบัญชีรบ
ั อนุ ญาตใน
สหรัฐอเมริกา (AICPA)
3 . ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี ที่ อ อ ก โCRRU
ดย
• คณะกรรมการมาตรฐานการบัญ ชี ASB:
Accounting Standard Board
• อ อ ก ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี ชื่ อ SSAP:
Statement of Standards and Practices
• ตัง้ แตปี่ ค.ศ. 2005 สหราชอาณาจักรตกลง
CRRU
• คณะกรรมการออกมาตรฐานบัญชี FASB:
Financial Accounting Standards Board
• มาตรฐานการบัญชี SFAS: Statement of
Financial Accounting Standards
CRRU
คณะกรรมการออกมาตรฐานการบัญชี IASB:
International Accounting Standards
Board
มาตรฐานการบัญชี IFRS: International
Financial Reporting Standards หรือชือ
่
เดิม IAS: International
Accounting
CRRU
ความหลากหลายมาจากสาเหตุสาคัญเช่น
1. ปั จ จัย แวดล้ อมด้านต่าง ๆ เศรษฐกิจ
การเมือง สั งคม กฎหมาย
2 . ก า ร ยึ ด แ บ บ จ า ล อ ง ท า ง ก า ร บั ญ ชี ที่
แตกตางกั
น และ
่
3. แนวทางในการก าหนดมาตรฐานการ
บัญชีของแตละประเทศ
่
1. สาเหตุ ข องความแตกต่างในวิธ ีป ฏิบ ต
ั ิ
ทางการบัญชี
CRRU
1. สาเหตุ ข องความแตกต่ างในวิ ธ ี ป ฏิ บ ัต ิ
ทางการบัญชี เช่น
ในอัง กฤษ และเนเธอร แลนด
ไม
์
์ ่ถือ
เป็ นคาใช
อากร
่
้จายทางภาษี
่
แคนาดาและญีป
่ ่ ุน ถือเป็ นคาใช
่
้ จาย
่
ทางภาษีอากร
สหรัฐอเมริกากาหนดให้มีการวัดมูลคา่
ภาระหนี้สินภายใต้โครงการเงิน
บ า น า ญ ทุ ก ปี ท า ใ ห้ ห นี้ สิ น ตCRRU
าม
2. ผลของความแตกต่างในวิธป
ี ฏิบต
ั ท
ิ างการ
บัญชี มีดงั นี้
ทัศ นคติข องผู้ บริห ารใน
การเลื อ กใช้ วิ ธ ี ป ฏิ บ ั ต ิ ท างการบั ญ ชี
แตกตางกั
น ระหวางผู
่
่
้บริหารของธุรกิจ
ในประ เทศ กั บ ผู้ บริ ห ารของธุ ร กิ จ
ระหวางประเทศ
่
บ ริ ษั ท ผู้ รั บ ป ร ะ กั น ก า ร
CRRU
จาหน่ายหลักทรัพยจะประสบปั
ญ
หาใน
์
2. (ต่ อ) ผลของความแตกต่างในวิธ ีป ฏิบ ต
ั ิ
ทางการบัญชี มีดงั นี้
ส านั ก งานสอบบัญ ชี ข้ ามชาติ
อาจจะมี ร ายได้ เพิ่ ม ขึ้ น จากการให้ ความ
ปรึ ก ษาแก่ ลู ก ค้ า หรื อ การปรับ รายงาน
ทางการเงินทีท
่ าขึน
้ จากมาตรฐานการบัญชี
ชุดหนึ่งให้เป็ นอีกชุดหนึ่ง
CRRU
3. การปรับ ความหลากหลายของมาตรฐานการ
บัญชี
หน่ วยงานที่ท าหน้ าที่ก าหนด
มาตรฐานการบัญชีของประเทศ พยายามปรับ
ความปรับ ความหลากหลายทางการบัญ ชี ที่
เกิดขึน
้ ในประเทศ
FASB เสนอโครงการเปรียบเทียบกันและ
ในปี
ค.ศ.1989
และ Norwalk Project
ใ น ปี ค . ศ . 2 0 0 5 เ พื่ อ มุ่ ง ห วั ง ที่ จ ะ ล ด ข้ อ
แตกต่ างที่ เ กิด ขึ้ น จากทั้ง สองมาตรฐานโดย
พยาย ามที่ จ ะลด ข้ อแ ตกต่ างที่ เ กิ ด ขึ้ น โด ย
พยายามลูเข
เป็ น
่ ้าหากัน (Convergence) CRRU
การทาให้บัญชีมค
ี วามสอดคล้องกันในระดับภูมภ
ิ าค
หรือระดับโลก อาจแบงได
้ 3 วิธี คือ
่
1 . ก า ร ใ ช้ ข้ อ ต ก ล ง ท วิ ภ า คี
Agreements)
( Bilateral
ตัง้ แต่ 2 ประเทศขึน
้ ไป
2. การยอมรับรวมกั
น (Mutual Recognition)
่
ใช้ความรวมมื
อทางเศรษฐกิจ ใช้การเมืองในการ
่
เจรจาตกลงรวมกั
น
่
3. การปรับให้สอดคลองกั
น (Harmonization)
CRRU
้
กลุ่มที่ 1
IFRSs for PAEs
กลุ่มที่ 2
IFRSs for NPAEs
CRRU
• ปี 2522 มีมาตรฐานการบัญชีฉบับแรก (ใช้ของ
อเมริกา-อังกฤษ)
• ปี 2540 เกิด วิก ฤติเ ศรษฐกิจ ได้ ปรับ ปรุ ง พัฒ นา
มาตรฐานจาก IAS
• ปี 2543 ประกาศบัง คั บ ใช้ มาตรฐานการบัญ ชี
จานวน 33 ฉบับ
• ปี 2550 ประกาศยกเว้นการบังคับใช้มาตรฐานการ
บัญชี 8 ฉบับสาหรับ SME
CRRU
• ปี 2554 ประกาศใช้ มาตรฐานการรายงานทาง
•
•
•
•
•
แมบทการบั
ญชี ปรับปรุง 2552
่
มาตรฐานการบัญชี 33 ฉบับ
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 5 ฉบับ
การตีความมาตรฐานการบัญชี 5 ฉบับ
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
CRRU
4 ฉบับ
1. กรอบแนวคิด
2. การนาเสนองบการเงิน
3. การเปลีย
่ นแปลงนโยบายการบัญชีและการ
เปลี่ย นแปลงประมาณการทางการบัญ ชีแ ละการ
แก้ไขข้อผิดพลาด
4. เงินสดและรายการเทียบเทาเงิ
่ นสด
CRRU
5. ลูกหนี้
8. ทีด
่ น
ิ อาคาร และอุปกรณ ์
9. สิ นทรัพยไม
์ มี
่ ตวั ตน
10. อสั งหาริมทรัพยเพื
่ การลงทุน
์ อ
11. ต้นทุนการกู้ยืม
12. สั ญญาเช่า
13. ภาษีเงินได้
14. ประมาณการหนี้สินและหนี้สินทีอ
่ าจเกิCRRU
ดขึน
้
15. เหตุ ก ารณ์ ภายหลัง รอบระยะเวลา
รายงาน
16. รายได้
1 7 . ก า ร รั บ รู้ ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ข า ย
อสั งหาริมทรัพย ์
18. สั ญญากอสร
าง
่
้
CRRU
การใช้มาตรฐานการรายงานทาง
การเงินของไทย
PAEs
บริ ษัทมหาชน จากัด (บมจ.)
(Public Company)
ใช้ TFRSs for PAEs
ทังหมด
้
NPAEs
บริ ษัทไม่ใช่มหาชน จากัด (บจ.)
(Non-Public Company)
ใช้ TFRSs for
NPAEs
บังคับใช้ตัง้ แตวั
่ นที่ 1 มกราคม 2554
CRRU
เป็ นตนไป
•
•
•
•
•
ประเด็นความแตกตางระหว
าง
่
่
NPAEs กับ PAEs
จานวนผู้มีส่วนไดเสี
้ ย
(Stakeholders)
แหลงระดมเงิ
นทุน
่
ความซับซ้อนของธุรกรรมหรือ
รายการคาของธุ
รกิจ
้
คุณวุฒข
ิ องผูท
้ าบัญชี
CRRU
ตนทุนในการจัดทารายงานทางการ
ความแตกตางระหว
าง
NPAEs
่
่
บ PAEs
1. จานวนผู้มีสกั่ วนได
เสี
้ ย
(Stakeholders)
NPAEs
PAEs
ผู้มีส่วนไดเสี
้ ยมีจานวน
น้อย
ผู้ใช้งบการเงินมีกลุมเล็
่ ก
3 กลุม
่ ไดแก
้ ่
-เจ้าของกิจการ
-เจ้าหนี้
-หน่วยงานราชการ
ผู้มีส่วนไดเสี
้ ยมีจานวนมาก
ผู้ใช้งบการเงินมี 7 กลุม
่
ไดแก
้ ่
-ผู้ลงทุน
-ลูกจ้าง
-สถาบันการเงิน
-คูค
่ ้า
-ลูกคา้
-หน่วยงานกากับดูแล
ความแตกตางระหว
าง
่
่
NPAEs
กั
บ
PAEs
2. แหลงระดมเงินทุน (Capital
่
Market)
NPAEs
PAEs
ระดมเงินทุนจากเจ้าของ
หรือเจ้าหนี้
แหลงที
่ าของเงินทุนมี
่ ม
น้อย
จานวนเงินทุนน้อย
ระดมเงินทุนจาก
สาธารณชนทัว่ ไป
แหลงที
่ าของเงินทุน
่ ม
มาก
จานวนเงินทุนมีจานวน
มาก
CRRU
ความแตกตางระหว
าง
่
่
กัรบกรรมหรื
PAEsอ
3. ความซัNPAEs
บซ้อนของธุ
รายการคา้
(Complex Transactions)
NPAEs
PAEs
ลักษณะรายการคาง
้ าย
่
ไมซั
่ บซ้อน
ไมมี
่ ความหลากหลาย
ในรายการคาที
้ เ่ กิด
อาจจะอยูในพื
น
้ ที่ หรือ
่
ประเทศผูมี
้ ส่วนได้
ลักษณะรายการคา้
ยุงยาก
ซับซ้อน
่
มีเงินทุนมาก
เทคโนโลยีสงู
มีความหลากหลายใน
การประกอบธุรกิจCRRU
อยูใน
่
ความแตกตางระหว
าง
่
่
บ
PAEs
4. คุณNPAEs
วุฒข
ิ องผูกัท
าบั
ญ
ชี
้
(Controller)
NPAEs
PAEs
ผูท
ี ุณวุฒ ิ
้ าบัญชีมค
ปวส. สาขาการ
บัญชี
หรือ ปริญญาตรี
ผูท
ี ุณวุฒ ิ
้ าบัญชีมค
ปริญญาตรี สาขา
การบัญชี หรือ
สูงกวา่
CRRU
ความแตกตางระหว
าง
่
่
NPAEs
กั
บ
PAEs
5. ตนทุ
น
ในการจั
ด
ท
ารายงาน
้
ทางการเงิน
NPAEs
PAEs
ใช้มาตรฐานการรายงาน
ทางการเงิน
อยางง
NPAEs
่ าย
่
ต้นทุนในการจัดทาตา่
ประหยัดเวลา และ
คาใช
า่
่
้จายต
่
ใช้มาตรฐานการรายงาน
ทางการเงินเต็มรูปตาม
มาตรฐานการบัญชี PAEs
มีความยุงยาก
และ
่
ซับซ้อน ใช้เวลามาก
และคาใช
ง
่
้จายสู
่
CRRU
ผู้มีหน้าทีจ
่ ด
ั ทา
บัญชี
ห้างหุ้นส่วนจด
ทะเบียน
บริษท
ั เอกชนจากัด
นิตบ
ิ ุคคลตางประเทศ
่
กิจการรวมค
า้
่
บริษท
ั มหาชน
จากัด
NPAEs
PAEs
ใช้ TFRS for NPAEs
ใช้ TRFS for PAEs
ใช้งบการเงิน
แบบ 3
ห้ างหุ้นส่วน
จดทะเบียน
บริ ษัทจากัด
นิติบคุ คล
ต่าง ปตท.
ใช้งบ
การเงิ
ใช้งบ
การเงิ
น
ใช้งบ
การเงิ
น
กิจการ
ร่วมค้ า
ใช้งบ
การเงิ
น
การนาเสนองบการเงิน
งบการเงินทีส
่ มบูรณ ์
ของ NPAEs
งบแสดง
ฐานะ
การเงิน
งบ
กาไร
ขาดทุ
น
งบแสดง
การ
เปลีย
่ นแป
ลง
ส่วนของ
งบการเงินตองแสดง
้
เจ้าของ
เปรียบเทียบงวดปี กอน
่
หมาย
เหตุ
ประกอ
บ
งบ
การเงิ
CRRUน
การนาเสนองบการเงิน
งบการเงินทีส
่ มบูรณ ์
ของ PAEs
งบแสดง
ฐานะ
การเงิน
งบกาไร
ขาดทุน
เบ็ดเสร็จ
งบกระแส
เงินสด
งบ
แสดง
หมาย
เหตุ
การ
ประกอบ
เปลีย
่ นแป
ลง
งบ
น น
ส่วนของงบการเงิการเงิ
เจ้าของ
รวม
งบการเงินตองแสดงเปรี
ยบเทียบ
้
CRRU
งวดปี กอน
1 กรอบแนวคิด
PAE
s
NPA
Es
ใช้กรอบตามแมบทการบั
ญชีครบทุกรายการ
่
เช่น
-เกณฑคงค
างและการด
าเนินงานตอเนื
์
้
่ ่อง
-ลักษณะเชิงคุณภาพของงานการเงิน
-การรับรูรายการ
้
-องคประกอบในงบการเงิ
น
์
-แนวคิดเกีย
่ วกับทุนและการรักษาระดับทุน
ใช้กรอบแนวคิดตามแมบทการบั
ญชี
่
เหมือนกัน
CRRU
2
PAE
s
NPA
Es
การนาเสนองบการเงิน
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552)
ประกอบดวยงบการเงิ
นครบทุกงบ
้
-งบแสดงฐานะการเงิน
เปรี ยบเทียบกับงวดปี ก่อน
-งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
-งบกระแสเงินสด
-งบแสดงการเปลีย
่ นแปลงในส่วนของเจ้าของ
-งบการเงินรวม
-หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-งบแสดงฐานะการเงิน
เปรี ยบเทียบกับงวดปี ก่อน
-งบกาไรขาดทุน
-งบแสดงการเปลีย
่ นแปลงในส่วนของเจ้าของ CRRU
3
PA
Es
การเปลีย
่ นแปลงนโยบายการบัญชี การ
เปลีย
่ นแปลงประมาณการทางการบัญชี
อผิ
และการแกไขข
้ ดพลาด
้
มาตรฐานกาบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552)
-การเปลีย
่ นแปลงนานโยบายบัญชีใหมมาใช
่
้ ให้ปรับ
ยอนหลั
ง เวนแต
ไม
จานวนเงินของ
้
้
่ สามารถระบุ
่
ผลกระทบทีเ่ กิดขึน
้ ในแตละงวดได
่ น
่
้ ให้ใช้วิธเี ปลีย
ทันที
-การเปลีย
่ นแปลงประมาณการทางการบัญชี ให้ใช้
วิธเี ปลีย
่ นทันทีเป็ นตนไป
้
-การแกไขข
อผิ
ให้ปรับกับกาไร
้
้ ดพลาดงวดกอน
่
CRRU
สะสม
4 เงินสดและรายการ
PAE
s
เทียบเทาเงิ
่ นสด
-แสดงรวมกันในรายการ เงินสดและรายการ
เทียบเทาเงิ
่ นสด
-เงินฝากธนาคาร ถาหากมี
ขอจ
้
้ ากัดการถอน
ให้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบฯ
-เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร จัดเป็ นหนี้สิน
หมุนเวียน ไมให
่ ้นามาหักกลบกับรายการเงิน
สดและรายการเทียบเทาเงิ
่ นสด
CRRU
5 ลูกหนี้
PAE
s
มาตรฐานการบัญชี 101 หนี้สงสั ยจะสูญและ
หนี้สูญ
NPA
เหมือนกัน
-รับรูลู
ลคายุ
้ กหนี้ดวยมู
้
่ ตธิ รรม ณ วันเกิดรายการ
-วันสิ้ นงวด แสดงดวยมู
ลคาที
่ าดวาจะได
รั
้
่ ค
่
้ บ (หัก
คาเผื
่ หนี้สงสั ยจะสูญ)
่ อ
-วิธก
ี ารประมาณคาเผื
่ หนี้สงสั ยจะสูญ มี 3 วิธ ี
่ อ
(1)วิธอ
ี ต
ั รารอยละของยอดขาย
(2)วิธอ
ี ต
ั รารอย
้
้
ละของลูกหนี้ค้างชาระ
(3) วิธพ
ี จ
ิ ารณาเป็ นแตละราย
่
CRRU
6
PA
Es
สิ นค้าคงเหลือ
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 ปรับปรุง
2552
-บันทึกราคาทุน ประกอบดวย
ตนทุ
้
้
้ นในการซือ
ตนทุ
้ นแปลงสภาพ
-ใช้ราคาทุนเฉพาะเจาะจง ราคาซือ
้ กอนขายก
อน
่
่
และราคาทุนถัวเฉลีย
่ ถวงน
้าหนัก
่
-วันสิ้ นงวด แสดงดวยราคาทุ
นหรือมูลคาสุ
้
่ ทธิทจี่ ะ
ราคาใดจะต
า่ กวา่
ไดรั
่
้
้ บแลวแต
มูลคาสุ
ี่ ะไดรั
่ ทธิทจ
้ บ หมายถึง จานวนเงินสุทธิ
ทีก
่ จ
ิ การคาดวาจะได
รั
่
้ บจากการขายสิ นค้าตามปกติ
นทุ
หักดวยประมาณการต
้ นในการผลิตให้เสร็จและ
้
CRRU
7 เงินลงทุน
PA มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 105
เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
Es ประเภทการลงทุน
ตองจั
ด
้
-วันซือ
้ ใช้ราคาทุน ประกอบดวย
ราคาซือ
้ บวก
้
คาใช
เ่ กีย
่ วของ
่
้จายที
่
้
หลักทรัพยในความต
องการของตลาด
้
์
-ตราสารถือไวเพื
่ ค้า วันสิ้ นงวดให้ใช้ราคายุตธิ รรม
้ อ
รับรูผลต
างในงบก
าไรขาดทุน
้
่
่ ขาย วันสิ้ นงวดใช้ราคายุตฺธรรม
-ตราสารถือไวเผื
้ อ
รับรูผลต
างในส
้
่
่ วนของผู้ถือหุ้น
CRRU
-ตราสารถือจนครบกาหนด ใช้ราคาทุนตัดจาหน
่ าย
8 ทีด
่ น
ิ อาคารและอุปกรณ ์
PA
Es
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง
2552)
-วันซือ
้ ใช้ราคาทุน ประกอบดวย
ราคาซือ
้ ตนทุ
้
้ น
ทางตรงอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วของใน
้
การจัดหา การรือ
้ การขนยาย
การบูรณะสถาน
้
ทีต
่ ง้ั
-การแลกเปลีย
่ นใช้ราคายุตธิ รรมของสิ นทรัพยที
่ าไป
์ น
แลกเปลีย
่ น
-การคิดคาเสื
ี ด
ิ ให้พิจารณาอายุการ
่ ่ อมราคาและวิธค
ให้ประโยชนต
่ จการ
์ อกิ
CRRU
9 สิ นทรัพยไม
มี
ต
ว
ั
ตน
์ ่
PAE
s
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง
2552)
-วันไดมาใช
้
้ราคาทุน
-วันสิ้ นงวด วัดมูลคาด
นหักคาตั
่ วยราคาทุ
้
่ ดบัญชี
และคาเผื
่ การดอยค
า่ (ถามี
่ อ
้
้ )
-การตัดจาหน่าย ตามอายุการให้ประโยชนที
่ ราบ
์ ท
ไดชั
้ ดเจนแน่นอน
ถาไม
ทราบไม
ทราบอายุ
การให้ประโยชน์ ไม่
้
่
่
ตองตั
ดจาหน่าย จนกวาจะทราบ
้
่
-ถาสิ
่ ขึน
้ ให้ตีราคาใหมได
้ นทรัพยมี
่ ม
่ ้ CRRU
์ คาเพิ
10 อสั งหาริมทรัพยเพื
่ การลงทุน
์ อ
PAE มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง
2552)
s
-ไดแก
่ น
ิ อาคาร และส่วนของอาคาร
้ ที
่ ด
-มีไวเพื
่ เพือ
่ หาประโยชนจากการให
้ อ
้เช่า และการ
์
เพิม
่ ขึน
้ ของมูลคาสิ
่ นทรัพย ์
-วัดมูลคาเริ
่ แรกดวยราคาทุ
น
่ ม
้
-วันสิ้ นงวดแสดงดวยราคาทุ
น หักคาเสื
้
่ ่ อมราคา
สะสม และคาเผื
่ การดอยค
า่ หรือ
่ อ
้
อาจแสดงดวยวิ
ธม
ี ล
ู คายุ
้
่ ตธิ รรม (ไมหั
่ กคาเสื
่ ่ อม
ราคา) และรับรูก
ในงบกาไร
้ าไรหรือขาดทุน
CRRU
ขาดทุนทันที
11 ตนทุ
น
การกู
ยื
ม
้
้
PAE
s
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง
2552)
-ตนทุ
้ นการกูยื
้ มจากเงินกูวั
้ ตถุประสงคเฉพาะให
้รวม
์
เป็ นตนทุ
้ นหลังหักรายไดที
้ ่
เกิดขึน
้ จากเงินกูยื
่ คราว
้ มไปลงทุนชัว
-ตนทุ
้ นการกูยื
้ มจากเงินกูวั
้ ตถุประสงคทั
์ ว่ ไป ให้ใช้
อัตราถัวเฉลีย
่ ตัง้ ขึน
้ เป็ นทุน
-ตนทุ
้ นการกูยื
้ มให้รวมเป็ นตนทุ
้ นของสิ นทรัพยที
์ เ่ ขา้
เงือ
่ นไข มี 3 ประการ ดังนี้
(1) ตนทุ
้ จายจากการกู
ยืม
้ นการกูยื
้ มหรือดอกเบีย
่
้CRRU
12 สั ญญาเช่า
PA มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง
2552)
Es -มี 2 ประเภท คือ สัญญาเชาการเงิน และเชา
่
่
ดาเนินงาน
-สั ญญาเช่าการเงินหากสั ญญามีสถานการณอย
่
้ อย
์ างน
1 ขอจั
้ ดเป็ นสั ญญาเช่าการเงิน
(1) สั ญญาเช่าโอนความเป็ นเจ้าของในสิ นทรัพยให
์ ้แก่
ผู้เช่าเมือ
่ สิ้ นสุดสั ญญาเช่า
(2) ผู้เช่ามีสิทธิเลือกซือ
้ สิ นทรัพยด
ต
่ า่ กวา่
้
์ วยราคาที
มูลคายุ
่ ตธิ รรม ณ วันมีสิทธิเลือก
ซือ
้ ไมเกิ
5 ของมูลคายุ
ธิ รรม
่ นรอยละ
้
่ ตCRRU
13 ภาษีเงินได้
PAE มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง
2552)
s
NPA
-รับรูภาษี
เงินไดเป็
าไร
้
้ นคาใช
่
้จายในงบก
่
ขาดทุน และ
ายเป็
นหนี้สิน (ภาษีเงินได้
ภาษีเงินไดค
่
้
้ างจ
หัก ภาษีทช
ี่ าระลวงหน
่
้ า)
-หรือแสดงเป็ นสิ นทรัพยหรื
์ อหนี้สินภาษีเงินได้
รอการตัดบัญชีตามงบแสดงฐานะการเงิน
ให้ทางเลือก
CRRU
14 ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่
อาจเกิดขึน
้
PA
Es
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง
2552)
เรือ
่ ง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินทีอ
่ าจเกิดขึน
้ และ
สิ นทรัพยที
่ าจเกิดขึน
้
์ อ
-กิจการรับรูประมาณการหนี
้สิน ตามเงือ
่ นไข 3
้
ขอ
้ ดังนี้
(1) กิจการมีภาระผูกพันในปัจจุบน
ั ซึง่ เป็ นผลจาก
เหตุการณในอดี
ต(ตามกฎหมาย
์
หรือการอนุ มาน)
CRRU
15 เหตการณภายหลั
งรอบรอบระ
์
เวลารายงาน
PAE มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง
2552)
s
้ ระหวางวันสิ้ นรอบ
หมายถึง เหตุการณทีเ่ กิดขึน
่
์
ระยะเวลารายงานกับวันทีไ่ ดรั
ั ใิ ห้ออกงบ
้ บอนุ มต
การเงิน มี 2 ประเภท คือ
(1)เหตุการณที
ได
่
์ เ่ ป็ นหลักฐานยืนยันวาสถานการณ
์ ้
มีอยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ตอง
้
ปรับปรุงบัญชี
CRRU
(2)เหตุการณที
่ ใี้ ห้เห็ นวาสถานการณ
ได
น
้
่
้ ดขึ
์ ช
์ เกิ
16 รายได้
PAE
s
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 รายได้
(ปรับปรุง 2552)
-การรับรูรายได
จากการขายสิ
นค้า
้
้
(1) ไดโอนความเสี
่ ยงและผลตอบแทนทีม
่ น
ี ย
ั สาคัญ
้
ให้ผู้ซือ
้ แลว
้
(2) กิจการไมเกี
่ วของในการบริ
หารสิ นค้าอยาง
่ ย
้
่
ตอเนื
่ ่ อง
(3) กิจการสามารถวัดมูลคาของจ
านวนรายไดได
่
้ ้
อยางน
่ ถือ
่
่ าเชือ
(4) มีความเป็ นไปไดค
างแน
่ จ
ิ การจะไดรั
บ
้ อนข
่
้
่ ทีก
้CRRU
17 การรับรูรายได
จากการขาย
้
้
อสั งหาริมทรัพย ์
PA มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 102
-รายไดจากการขาย
อสั งหาริมทรัพยมี
้
์ 3
Es ทีด่ นิ ทีพ่ รอมสิ
่ งปลูกสราง
อาคารชุด
้
้
ประเภท คือ
-กิจการสามารถเลือกรับรูรายได
ได
้
้ ้ 3 วิธ ี คือ (1) รับรู้เป็ น
รายไดทั
ตราส่วนของงานที่
้ ง้ จานวน (2) รับรูเป็
้ นรายไดตามอั
้
ทาเสร็จ และ (3) การรับรูเป็
นคางวดที
ถ
่ งึ
้ นรายไดตามเงิ
้
่
กาหนดชาระ
-ถาหากกิ
จการจะรับรูรายได
ตามอั
ตราส่วนของงานทีท
่ าเสร็จ
้
้
้
หรือตามเงินคางวดที
ถ
่ งึ กาหนดชาระ
รายการขายตองเป็
นไป
่
้
ตามเงือ
่ นไข 9 ขอ
้ ดังนี้
(1) การขายเกิดขึน
้ แลว
้ จะขายมี
้ หรือการทาสั ญญาจะซือ
CRRU
จานวนไมน
40 ของพืน
้ ทีเ่ ปิ ดขายหรื
อให้
่ ้ อยกวาร
่ อยละ
้
17 การรับรูรายได
จากการขาย
้
้
อสั งหาริมทรัพย ์
PA มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 102
(ตอ)
่
Es (5) ผู้ขายมีความสามารถเก็บเงินเก็บเงินไดตาม
้
สั ญญา (ไมน
่ ้ อยกวา่ 20%)
(6) งานพัฒนาและงานกอสร
างไม
น
่
้
่ ้ อยกวาร
่ อยละ10
้
ของงานกอสร
างตามโครงการ
่
้
ทีเ่ สนอขาย
(7) ผู้ขายมีความสามารถทางการเงินดี
(8) การกอสร
างก
าวหน
่
้
้
้ าไปดวยดี
้
CRRU
(9) ผู้ขายสามารถประมาณเงินรับจากการขายรวม
18 สั ญญากอสร
าง
่
้
PAE
s
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง
2552)
-กิจการรับรูรายได
ค
างเป็
นรายไดทั
้
้ าก
่ อสร
่
้
้ ง้ จานวน
-กิจการรับรูเป็
างและต
นทุ
้ นรายไดค
้ าก
่ อสร
่
้
้ นการ
กอสร
างเป็
นรายไดและค
าใช
ตราส่วนของ
่
้
้
่
้จายตามอั
่
งานทีท
่ าเสร็จ(ขัน
้ ความสาเร็จ)
-กิจการจะตองรั
บรูผลขาดทุ
นทีค
่ าดวาจะเกิ
ดขึน
้ เป็ น
้
้
่
จากงานกอสร
างตามสั
ญญาเป็ นคาใช
นที
่
้
่
้จายทั
่
NPA เหมือนกัน
CRRU
19 ผลกระทบจากการเปลีย
่ นแปลงอัตรา
แลกเปลีย
่ นเงินตราตางประเทศ
่
PAE
s
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)
-ใช้อัตราแลกเปลีย
่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ แปลงคา่
เป็ นเงินบาท
-รายงานการเงิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน
กรณี รายการทีเ่ ป็ นตัวเงิน ให้แปลงคาโดยใช
่
้
อัตราปิ ด ดังนี้
-สิ นทรัพยที
่ นาคารรับ
์ เ่ ป็ นตัวเงิน ใช้อัตราทีธ
ซือ
้
-หนี้สินทีเ่ ป็ นตัวเงิน
ใช้อัตราทีธ
่ นาคารขาย
กรณี รายการทีไ่ มเป็
่ นตัวเงิน ให้แปลงคาโดย
่ CRRU
นโยบายการบัญชี
ประกอบดวยหั
ว ข้ อ
้
สาคัญ ดังนี้
1. ความหมายของนโยบายการบัญชี
2. วัตถุประสงคของการก
าหนดนโยบาย
์
การบัญชี
3. ลัก ษณะของนโยบายการบัญ ชีท ี่ค วร
เปิ ดเผย
4. เกณฑ ์ในการเปิ ดเผยนโยบายการ
CRRU
บัญชี
• ห ม า ย ถึ ง ห ลั ก ก า ร เ ฉ พ า ะ
ห ลั ก เ ก ณ ฑ ์ ป ร ะ เ พ ณี ป ฏิ บ ั ต ิ
ก ฎ เ ก ณ ฑ ์ ห รื อ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่
กิ จ ก า ร ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด ท า แCRRU
ละ
ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี เ ฉ พ า ะ เ รื่ อ ง
วิ ธ ี ก า ร ใ ช้ ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี ที่
ผู้ บริห ารของกิจ การได้ ใช้ ดุ ล พินิ จ ใน
การเลือกวิธป
ี ฏิบต
ั ท
ิ างการบัญชีเห้ นว่า
เหมาะสมที่สุ ด ส าหรับ สถานการณ ์นั้ น
เ พื่ อ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น ผ ล ก า ร
CRRU
ด าเนิ น งาน กระแสเงิ น สดและการ
เพือ
่ ให้ผู้บริหารเลือกใช้นโยบายการบัญชี
ในการปฏิบ ต
ั ต
ิ ามมาตรฐานการบัญ ชี ใน
ก ร ณี ที่ ม า ต ร ฐ า น ไ ม่ ไ ด้ ร ะ บุ ข้ อ ก า ห น ด
ผู้บริห ารต้องใช้ดุล ยพินิจ เพือ
่ ให้ งบการเงิน
ให้ขอมู
้ ลแกผู
่ ้ใช้ ดังนี้
• -เกีย
่ วของกั
บการตัดสิ นใจของผู้ใช้งบ
้
• -เชือ
่ ถือได้
•
CRRU
• ผู้บริหารเป็ นผู้ใช้ดุลยพินิจใจการเลือกวิธ ี
ปฏิบต
ั ท
ิ างการบัญชีการเปิ ดเผยข้อมูล มี
เรือ
่ งดังนี้
• 1. การเลือกใช้มาตรฐานการบัญชีหรือวิธ ี
ปฏิบ ัต ิต้ องเป็ นไปตามหลัก การบัญ ชี ท ี่
รับรองทัว่ ไป (GAAP)
• 2. มาตรฐานการบั ญ ชี ที่ ใ ช้ ส าหรั
CRRUบ
. เปิ ดเผยเกณฑ ์การวัด มู ล ค่ า
CRRU
นโยบายบัญ ชีท ส
ี่ าคัญ
ว่ า
นโยบายบัญ ชีท ี่ผู้ ใช้ งบการเงิน คาด
CRRU
1. วิธก
ี ารรับรู้รายได้
2. เกณฑในการจั
ดทางบการเงิน
์
3. คาเผื
่ หนี้สงสั ยจะสูญ
่ อ
4. การตีราคาสิ นค้าคงเหลือ
5. เงินลงทุน
6. ทีด
่ น
ิ อาคาร และอุปกรณ
CRRU
7. สิ นทรัพยไม
่ ตวั ตน
์ มี
8. รายการทีเ่ ป็ นเงินตราตางประเทศ
่
9. การบัญชีเกีย
่ วกับเงินกองทุ
นสารองเลีย
้ ง
่
ชีพและบาเหน็ จ
10. สารองตามกฎหมาย
11. กาไรตอหุ
่ ้น
CRRU
ตัว อย่าง
-บริษั ท รับ รู้ รายได้ จากการขาย เมื่อ ได้
โอนสิ ท ธิค วามเป็ นเจ้ าของสิ น ค้ าให้ กับ
ลูกค้า ตามปกติจะเกิดขึน
้ เมือ
่ บริษัทส่ง
สิ นค้าให้ลูกค้าตามคาสั่ งซือ
้ ของลูกค้า
CRRU
ตัว อย่าง
-บริษท
ั รับรู้รายไดจากการประกอบกิ
จการ
้
โรงแรม ซึ่งโดยส่วนใหญประกอบด
วย
่
้
ค่าห้ องพัก ค่าขายอาหาร เครื่อ งดืม
่
และบริก ารที่เ กี่ย วข้ องเป็ นรายได้ เมื่อ
ให้บริการแลว
้
CRRU
ตัว อย่าง
-บริษท
ั รับรู้รายไดจากการรั
บจ้างกอสร
้
่
้าง
ตามวิ ธ ี อ ั ต ราส่ วนของงานที่ ท าเสร็ จ
โ ด ย ใ ช้ อั ต ร า ส่ ว น ข อ ง ต้ น ทุ น ง า น
กอสร
้ จริงจนถึงวันสิ้ นปี กับ
่
้างทีเ่ กิดขึน
CRRU
•
ตัว อย่ าง
-บริษัทรับรู้รายไดจากการขายบ
่ น
ิ
้
้านพร้อมทีด
เมื่อ ได้ มีก ารท าสั ญญาจะซื้อ จะขาย และ
ได้ รับ ช าระเงิน ชั้น ต้ นจนถงระดับ หนึ่ ง แล้ ว
ตามวิธอ
ี ต
ั ราส่วนของงานทีท
่ าเสร็ จ ซึ่งจะ
ค านวณโดยการเปรี ย บเที ย บต้ นทุ น งาน
CRRU
ตัวอยาง
่
• -งบการเงิน จัด ท าขึ้น ตามประกาศสภา
วิชาชีพบัญชีฯฉบับที่ 20/2554 เรือ
่ ง
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ร า ย ง า น ท า ง ก า ร เ งิ น
ส า ห รั บ กิ จ ก า ร ที่ ไ ม่ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย
สาธารณะ
CRRU
• ตัว อย่าง
-ลู ก หนี้ เ ป็ นจ านวนสุ ท ธิท ี่ ห ั ก ค่ าเผื่ อ หนี้
สงสั ยจะสูญแลว
่ หนี้สงสั ยจะสูญ
้ คาเผื
่ อ
ประมาณขึ้น ตามจ านวนหนี้ ท ี่อ าจเรีย ก
เก็บไมได
่ ้
-บริษั ท ประมาณค่ าเผื่ อ หนี้ ส งสั ยจะสูCRRU
ญ
ตัวอยาง
่
-บริษัทตีราคาสิ นค้าคงเหลือตามราคาทุนหรือ
มูลคาสุ
ี่ ะได้รับทีต
่ า่ กวา่ ราคาทุนของ
่ ทธิทจ
สิ น ค้ า ค า น ว ณโ ดยวิ ธ ี เ ข้ า ก่ อ น อ อ ก ก่ อ น
(หรือ วิธ ีถ ัว เฉลี่ย ถ่ วงน้ า หนั ก ) ต้ นทุ น ของ
สิ น ค้ า ค ง เ ห ลื อ ที่ ซื้ อ ม า เ พื่ อ ข า ย
ประกอบด้วย ราคาซือ
้ และคาใช
น
่ ทุก
่
้จายอื
่
CRRU
ตัวอยาง
่
-เงินลงทุนในตราสารทุนในความต้องการของ
ตลาด ซึ่งบริษัทถือเป็ นหลักทรัพยเผื
่ ขาย
์ อ
แสดงดวยมู
ลคายุ
้
่ ตธิ รรม
-เงินลงทุนระยะยาวทีเ่ ป็ นเงินลงทุนในตราสาร
ทุ น ไม่ อยู่ในความต้ องการของตลาด ซึ่ ง
บริษั ท ถือ เป็ นเงิน ลงทุ น ทั่ว ไป แสดงด้ วย
CRRU
ตัว อย่ าง
-ที่ด ิน อาคาร และอุ ป กรณ ์แสดงด้ วย
ราคาทุ น หั ก ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ค่ า
เสื่ อมราคาสะสมคานวณโดยวิธเี ส้นตรง
ตามอายุ ก ารใช้ งานโดยประมาณของ
สิ นทรัพ ย ์ในอัต ราร้ อยละ 5-20ต่ อปี
CRRU
ตัวอยาง
่
-ที่ด น
ิ
อาคาร และอุ ป กรณ์แสดงด้วยราคา
ทุน ซึง่ คานวณจากราคาซือ
้ สิ นทรัพยที
์ เ่ ป็ น
เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ าเงิ น สดบวก
ค่าใช้ จ่ ายในการท าให้ สิ นทรัพ ย นั
์ ้ น อยู่ใน
สถานที่ห รือ สภาพที่พ ร้ อมจะใช้ งานตามที่
ประสงค ์
สิ นทรัพ ย ที
ทึ ก
์ ่ส ร้ างเอง บันCRRU
ตัวอยาง
่
-ที่ด น
ิ
แสดงด้วยราคาตลาดที่ม ก
ี ารประเมิน
โดยผู้เชีย
่ ะ
่ วชาญอิสระ บริษัทมีนโยบายทีจ
ให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระประเมินราคาสิ นทรัพย ์
ดั ง ก ล่ า ว ทุ ก ๆ 3 ปี แ ล ะ ใ น ร ะ ห ว่ า ง
ร ะ ย ะ เ ว ล า นี้ ห า ก มี ปั จ จั ย อื่ น ใ ด ที่ มี
ผลกระทบอย่ างมีส าระต่ อมู ล ค่ าสิ นทรัพ ย ์
CRRU
ตัวอยาง
่
- (ตอ)
่
- เ ว้ น แ ต่ ส่ ว น ที่ เ พิ่ ม ข อ ง ร า ค า ต า ม บั ญ ชี
หลังจากทีเ่ คยตีราคาลดลงในงวดกอน
และ
่
ไ ด้ บั น ทึ ก ล ด ยอ ดที่ ล ด ล ง ขอ งมู ล ค่ า ข อ ง
สิ นทรัพ ย ์จะถื อ เป็ นค่ าใช้ จ่ ายในงวดนั้ น
เว้นแตเป็
่ เี พิม
่ ขึน
้ CRRU
สน
่ นการลดลงจากราคาทีต
ตัวอยาง
่
-ต้นทุนการกู้ยืม หรือดอกเบีย
้ จายในระหว
าง
่
่
การกอสร
่
่
้าง ถือเป็ นรายจายฝ
่
่ ายทุน ตอเมื
่ อ
ดอกเบีย
้ นั้นเกิดขึน
้ เนื่องจากบริษัทต้องใช้เวลา
ช่ วงหนึ่ งในก ารก่ อสร้ าง หรื อ จั ด เตรี ย ม
สิ น ท รั พ ย ์ ก่ อ น ที่ สิ น ท รั พ ย ์ นั้ น พ ร้ อ ม ที่ จ ะ
น ามาใช้ ตามประสงค ์ หรื อ พร้ อมที่ จ ะขาย
CRRU
• ตัวอยาง
่
-ค่ าสิ ทธิบ ัต ร ถือ เป็ นรายจ่ ายฝ่ ายทุ น ซึ่ ง
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ค่ า จ ด ท ะ เ บี ย น สิ ท ธิ บ ั ต ร
ค่ าใช้ จ่ ายด้ านกฎหมาย และค่ าใข้ จ่ าย
-รายจ
สิ ทธิ
ใ ตั
นการเป็
นี้
โดยตรงอื
่น่ อทีให
่เ กี่้ยได
วข
ษั ท
ด บัญ ชี น
่ ายเพื
้ มาซึ
้ อง ่ ง บริ
ตัวนค
แทนจ
น ของ้
่คาดว
เป็
่ าย บัน ทึ ก เป็ นต
้ นทุ่าจะใช
่ายตามระยะเวลาที
่าใช้จาหน
สิ นทรัพยและตั
ดจ
าหน
ประโยชน
ธิบ
ต
ั รโดยวิ
ธเี ส้นตรง
่ ายโดยใช
้ วิธเี ส้นตรง
์จากสิ ท
CRRU
ตลอดอายุการใชงาน
ตัวอยาง
่
-ค่าความนิ ย มเกิด จากส่ วนของราคาทุ น ที่สู ง
กวามู
่ ลุมบริ
ษัท
่ ลคายุ
่ ตธิ รรมของเงินลงทุนทีก
่
มีส่วนแบงในสิ
นทรัพยสุ
ั
หรือ
่
์ ทธิของบริษท
บริษั ท ร่วม ณ วัน ที่ซื้อ กิจ การ ค่าความ
นิ ย มที่ เ กิ ด จ าก ก า รซื้ อ กิ จ กา รแสดงเ ป็ น
สิ นทรัพยไม
่ ตวั ตนในงบแสดงฐานะการเงิน
์ มี
CRRU
รวม บริษัท ไดพิจ ารณาทบทวนมู ล คาของ
ตัวอยาง
่
-บริษัท แปลงค่ารายการบัญ ชีใ นสกุ ล เงิน ตรา
ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ เ ป็ น เ งิ น บ า ท ต า ม อั ต ร า
แลกเปลีย
่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ ยกเว้น
ก ร ณี ที่ บ ริ ษั ท ท า สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย เ งิ น ตร า
ต่างประเทศไว้ล่วงหน้ า บริษัท จะแปลงค่า
ตามอัต ราแลกเปลี่ ย นล่ วงหน้ าในสั ญญา
CRRU
• ตัวอยาง
่
-(ต่อ) บริษั ท แปลงค่าสิ น ทรัพ ย และหนี
้ สิ นใน
์
สกุ ล เงิน ตราต่างประเทศซึ่ง คงเหลือ อยู่ ณ
วัน ที่ใ นงบแสดงฐานะการเงิน เป็ นเงิน บาท
ตามอัตราแลกเปลีย
่ น ณ วันนั้น ยกเว้ น
ก ร ณี ที่ บ ริ ษั ท ท า สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย เ งิ น ตร า
ลวงหน
้สินCRRU
นั้น
่
้ าไว้ สาหรับสิ นทรัพยและหนี
์
• ตัวอยาง
่
-(ต่ อ) เมื่ อ บริษั ท ท าการป้ องกัน ความเสี่ ยง
ให้กับรายการทีเ่ ป็ นเงินตราตางประเทศโดย
่
ใ ห้ สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย เ งิ น ต ร า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
ล่วงหน้ า
บริษั ท แปลงค่ าสิ นทรัพ ย และ
์
หนี้ สิ นที่ เ ป็ นตัว เงิน ที่ เ กี่ ย วข้ องกับ สั ญญา
ล่วงหน้ าด้ วยอัต ราแลกเปลี่ย นที่ร ะบุ ไ ว้ ใน
CRRU
สั ญญาลวงหนานั้น
บริษัทจะบันทึกกาไร
ตัวอยาง
่
-บริษัทได้จัดตัง้ กองทุนสารองเลีย
้ งชีพ โดย
ใช้ แผนการก าหนดอัต ราการจ่ ายสมทบ
โดยทีส
่ ิ นทรัพยของกองทุ
นได้แยกออกจาก
์
สิ น ท รั พ ย ์ ข อ ง บ ริ ษั ท แ ล ะ บ ริ ห า ร โ ด ย
ผู้ จัด การกองทุ น กองทุ น ส ารองเลี้ย งชี
พ
CRRU
ตัวอยาง
่
-บริษั ท มี เ งิ น บ าเหน็ จพิเ ศษให้ แก่ พนั ก งาน
ประจ าที่ ท างานต่ อเนื่ อ งไม่ ต่ า กว่ า 5 ปี
โดยค านวณจากเงิน เดือ นของพนัก งานใน
แตละเดื
อนพรอมพร
อมเบี
ย
้
่
้
้
CRRU
ตัวอยาง
่
-ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย ์
บริษัทจัดสรรจานวนเงินอย่างน้อยร้อย
ละ 5 ของก าไรสุ ท ธิ ทุ ก ครั้ง ที่ ม ี ก าร
ประกาศจ่ ายเงิน ปั น ผลเป็ นส ารองตาม
กฎหมาย จนกวายอดส
ารองทีจ
่ ด
ั สรรจ
่
CRRU
• ตัวอย่าง
-ก าไรต่อหุ้ นค านวณโดยการหารก าไรสุ ท ธิ
ดวยจ
านวนหุ้นทีอ
่ อกแลว
้
้ ณ วันสิ้ นปี
-บริษัทแสดงกาไรตอหุ
้ พืน
้ ฐานเพียงอยาง
่ ้นขัน
่
เดียวในงบกาไรขาดทุนเนื่องจากบริษัทไมมี
่
หุ้ นแปลงสภาพสาหรับการคานวณกาไรตอ
่
หุ้ นปรับลด กาไรตอหุ
้ พืน
้ ฐานคานวณ
่ ้ นขึน
CRRU
ตัวอยาง
่
-บริษั ท เปลี่ย นวิธ ีค านวณราคาทุ น ของสิ นค้ า
คงเหลือจากวิธเี ข้ากอนออกก
อน
เป็ นวิธถ
ี วั
่
่
เฉลีย
่ ตัง้ แต่ 1 มกราคม 25x3 ทัง้ นี้เพือ
่
ความสะดวกในการนาคอมพิวเตอรมาใช
้ใน
์
การบันทึกสิ นค้า บริษัทได้ปรับงบการเงินปี
ก่ อ น ต า ม วิ ธี ป รั บ ย้ อ น ห ลั ง ผ ล กCRRU
าร
จบบทที่ 3
่ อกมาตรฐานการบัญชี
• 1. หน่วยงานใดมีหน้าทีอ
ของประเทศไทย
ก. กรมสรรพากร
ข. กรมพัฒนาการค้า
ค. คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี
ง. คณะกรรมการก ากั บ ดู แ ลการประกอบ
วิชาชีพบัญชี
จ. คณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านการจัดทา
บัคญาตอบ
ชี
ค. คณะกรรมการ
กาหนดมาตรฐานการบัญชี
CRRU
• 2. มาตรฐานการบัญชีมค
ี วามหมายใกล้เคียงกับ
ข้อใดมากทีส
่ ุด
ก. มาตรฐานการสอบบัญชี
ข. นโยบายการบัญชี
ค. ธรรมเนียมประเพณีนิยม
ง. หลักการบัญชีทรี่ บ
ั รองทัว่ ไป
จ. ถูกทุกข้อ
คาตอบ
ง. หลักการบัญชีท ี่
รับรองทัว่ ไป
CRRU
• 3. เรือ
่ งสาคัญหรือส่วนประกอบของมาตรฐานการ
บัญชีมห
ี ลายอยาง
ยกเว้นข้อใด
่
ก. ข้อสมมติทางการบัญชี
ข. การรับรู้รายการ
ค. การนาเสนอรายงานทางการเงิน
ง. การวัดมูลคารายการ
่
จ. ถูกทุกข้อ
คาตอบ
บัญชี
ก. ข้อสมมติทางการ
CRRU
าลอง
• 4. มาตรฐานการบัญชีของไทยจัดอยูในแบบจ
่
ทางการบัญชีลก
ั ษณะใด ก. แบบจ าลองอัง กฤษอเมริกน
ั
ข. แบบจาลองแบบเศรษฐกิจแบบผสม
ค. แบบจาลองมาตรฐานระหวางประเทศ
่
ง. แบบจาลองมาตรฐานภาคพืน
้ ทวีป
จ. แบบจาลองแบบประยุกต ์
คาตอบ
ค. แบบจาลอง
มาตรฐานระหวางประเทศ
่
CRRU
• 5. สมาคมผู้สอบบัญชีรบ
ั อนุ ญาตในสหรัฐอเมริกา
มีบทบาทสาคัญในการกาหนดมาตรฐานการบัญชี
จากอดีต จนถึง ปัจ จุ บ น
ั
มีค ณะกรรมการใดบ้ าง
เรียงลาดับ
ก. APB, FASB, ARB
ข. ARB, FASB, APB
ค. APB, ARB, FASB
ง. ARB, APB, FASB
จ. ไมมี
ก ARB, APB, FASB
่ ข้อใดถูง.
คาตอบ
CRRU
• 6. มาตรฐานการบัญชีของไทย ส่วนทีแ
่ ตกตาง
่
จากมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ
จะกลาว
่
่
ไว้ในส่วนใดของมาตรฐานการบัญชี
ก. คานิยาม
ข. คาแถลงการณ ์
ค. คานา
ง. การบังคับใช้
จ. บทเฉพาะกาล
คาตอบ
ข. คาแถลงการณ ์
CRRU
• 7. สภาวิช าชีพ บัญ ชี ไ ด้ ก าหนดแนวทางปฏิบ ต
ั ิ
เกี่ ย วกับ การจัด ท าบัญ ชี แ ละงบการเงิ น ต้ อง
ปฏิบต
ั ใ
ิ ห้เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีและแนว
ปฏิบต
ั ท
ิ างการบัญชีทก
ี่ าหนดโดย
ก. คณะกรรมการมาตรฐานการบัญ ชี ข องส
หราชอาณาจักร
ข. คณะกรรมการ
มาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริกา
ค. สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ์
ง. คณะกรรมการ าก ากับ ดู แ ลการประกอบ
คาตอบ
ค. สภาวิชาชีพบัญชีใน
วิชาชีพบัญชี
พระบรมราชู
ป
ถั
ม
ภ
์
จ. คณะกรรมการมาตรฐานการบั
ญชีระหว
CRRU
่าง
• 8. ลักษณะของการปรับมาตรฐานการบัญชีของ
แต่ละประเทศให้สอดคล้องกัน วิธก
ี ารใด ทีใ
่ ช้
ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ โดยมีก ารเมือ งเป็ น
ช่องทางในการเจรจาตกลง
ก. การยอมรับรวมกั
น
่
ข. การใช้ข้อตกลงทวิภาคี
ค. การปรับให้สอดคลองกั
น
้
ง. การปรับให้สอดคลองกั
บกฎหมาย
้
จ. ข้อ ข และ
ค ถูก
คาตอบ
ก. การยอมรั
บรวมกัน
่
CRRU
• 9. ความคิดวา่ “มาตรฐานการบัญชีเหมาะสาหรับกิจการ
ทุกขนาด” หรือ “One size fits all” สภาวิชาชีพบัญชีฯ
เห็ นดวยหรื
อไมอย
้
่ างไร
่
ก. ไม่ เห็ น ด้ วย เพราะการก าหนดมาตรฐานการ
บัญ ชี จ ะยุ่ งยากมากและเสี ยเวลามากไม่ สามารถออก
มาตรฐานการบัญชีไดทั
้ นตอความต
่
้องการของสั งคม
ข. ไม่เห็ น ด้ วย เพราะธุ ร กิจ ที่ม ีข นาดและลัก ษณะ
แตกตางกั
นยอมใช
ี่ ตกตางกั
น
่
่
้มาตรฐานการบัญชีทแ
่
ค. เห็ นดวย
เพราะมาตรฐานการบัญชีทด
ี่ ค
ี วรสามรถ
้
นาไปใช้ไดกั
้ บกิจการทุกขนาด
ง. เห็ นดวย
เพราะมาตรฐานการบัญชีเดียวกันจะทา
้
ค
าตอบ
ข.
ไม
เห็
น
ด
วย
่
้ ่ างกัน สามารถ
ให้ งบการเงิ น ของกิ จ การที่ ม ี ข นาดต
CRRU
• 10 . ม า ต ร ฐา น ก า ร บั ญ ชี ข อง ไ ท ย มี ล ั ก ษ ณ ะ
อยางไร
่
ก. เป็ นกฎหมายที่อ อกตามพระราชบัญ ญัต ิ
วิชาชีพบัญชี
ข. แนวทางที่ว ช
ิ าชีพ บัญ ชีก าหนดโดยสมัค ร
ใจปฏิบต
ั ิ
ค. ข้อตกลงของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ง. จรรยาบรรณของผู
บัญชี
้ประกอบวิชาชีอ
คาตอบ
ก. เป็ นกฎหมายที
่พอกตาม
จ. ถูกทุกข้อ
พ.ร.บ.วิชาชีพบัญชี
CRRU
ทาแบบฝึ กหัดทายบท
้
3
•ขอ
4
้
•ขอ
5
้
อ
ทาแบบฝึ กหัดทายบทข
้ 4
้
4.1 รับรูขาดทุ
นจากมูลคาสิ
่ ดลงเขา้
้
่ นคาที
้ ล
บัญชีตนทุ
้ นขายหรือขาดทุนจากการตี
ราคาสิ นคาลดลง
้
4.2 ประมาณอายุการใช้งานตามอายุการ
ให้ประโยชน์ 10 ปี
4.2 รับรูรายได
เมื
่ ขาย และตัง้ คาเผื
่ หนี้
้
้ อ
่ อ
สงสั ยจะสูญ
4.4 ให้ผู้เชีย
่ วชาญประมาณมูลคาความ
่
เสี ยหาย และบันทึกบัญชี
ทาแบบฝึ กหัดทายบท
้
ข
อ
5
้
ควรปรับปรุง
ก. การรับรูรายได
และค
าใช
้
้
่
้จาย
่
ข. เงินลงทุนในหลักทรัพย ์
ง. รายการบัญชีทเี่ กิดขึน
้ ในสกุล
เงินตราตางประเทศ
่
จ. ทรัพยสิ์ นรอการขาย
ฉ. ทีด
่ น
ิ อาคาร และอุปกรณ-การตี
์
ราคาใหม่