2-PS 715 - WordPress.com

Download Report

Transcript 2-PS 715 - WordPress.com

สังคมชุมชนระหว่างประเทศ
(International Society)
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
๒๕๓๑
ทฤษฎีทุกสรรพสิ่ งร้ อยรัดเป็ นหนึ่งเดียว
ทุกสรรพสิ่ งร้อยรัดเป็ นหนึ่งเดียว
ทุกสรรพสิ่ งไม่เที่ยงแท้แน่นอน
สิ่ งที่แน่นอน คือ ความเปลี่ยนแปลง
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคาแหง 2518
สงวนลิขสิ ทธ์ตามกฏหมาย
“การไม่ คดิ คือ การพ่ายแพ้ต้งั แต่ เริ่มต้ น”
รศ.ดร. พงษ์ ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
2519
“สั งคมทุกสั งคมมีชนชั้น”
รศ.ดร. พงษ์ ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
2519
“ชาติใดไร้วฒ
ั นธรรม
ชาตินัน้ ไม่มีเอกลักษณ์ของความเป็ นชาติ”
รศ.ดร. พงษ์ ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
2539
ค่าของความเป็ นมนุษย์ ต้องอยูเ่ หนือวัตถุ
ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคาแหง
บัญญัติแปดประการ
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
1. คิดแล้วค่อยเชื่อ (2518)
2. เน้นองค์ความคิดมากกว่าองค์ความรู ้ (2518)
3. จงอย่าเป็ นมนุษย์มิติเดียว (2518)
4. ค่าของความเป็ นมนุษย์ตอ้ งอยูเ่ หนือวัตถุ (2518)
5. ใครครอบครองสื่ อ ครอบครองเป็ นเจ้าในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
(25๒๓)
6. ใครได้ประโยชน์ (2518)
7. จริ ยธรรมครองใจ (2518)
8. สันติภาพแห่งความรัก ( 2542 )
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ความขัดแย้ งในสั งคมชุมชนระหว่ างประเทศ :
ค่ านิยม ผู้นา และสั นติภาพ
รศ.ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ทฤษฎีทุกสรรพสิ่ งร้ อยรัดเป็ นหนึ่งเดียว
ทุกสรรพสิ่ งร้อยรัดเป็ นหนึ่งเดียว
ทุกสรรพสิ่ งไม่เที่ยงแท้แน่นอน
สิ่ งที่แน่นอนคือความเปลี่ยนแปลง
ดร. พงษ์ ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามตาแหง 2518
สงวนลิขสิ ทธิ์ตามกฎหมาย
• ระบบทุนนิยมเป็ นตัวกาหนด (Capitalism)
• กระแสวัตถุนิยม (Materialism)
• กระแสบริ โภคนิยม (Consumerism)
สัง่ สมความมัง่ คัง่ (Accumulation of Wealth)
• ความเป็ นปัจเจกชน (Individualism)
• ความเห็นแก่ตวั (Self-Interest)
การ
• ความขัดแย้ ง คือ ความเห็นที่แตกต่ างหรือทัศนคติหรือ
โลกทัศน์ ทไี่ ม่ เหมือนกันของปัจเจกชนที่มีต่อบทบาท
พฤติกรรมของผู้แสดงและสภาวะแวดล้ อมของสั งคม
(Pearce and Littlejohn,1997 :55)
• ความขัดแย้ งอาจจะเกิดจากการให้ ความสาคัญกับความ
ถูกต้ อง(Rightness)กับความดี
(Goodness) ทีแ่ ตกต่ างกันพร้ อมทั้งมองถึงวิถี
ชีวติ และการดาเนินชีวติ ที่ดไี ม่ เหมือนกันก็อาจจะนาไปสู่
ความขัดแย้ งได้
(Bartos and Wehr , 2002 : 41)
สาเหตุของความขัดแย้ งอาจเกิดจาก
เหตุผลทีส่ าคัญ 5 ประการ
1. ลักษณะโดยธรรมชาติของมนุษย์ (The Nature of Man)
2. ขีดจากัดในการรับรู ้ของมนุษย์ (Perceptual Limitation
of Man)
“มนุษย์ เป็ นเชลยของประสบการณ์ ” (ดร.พงษ์ ศานต์ พันธุลาภ , 2546 : [19] )
3. ความยากไร้และความเหลื่อมล้ าของความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ
(Poverty and Disparities in Wealth )
4. โครงสร้างภายในของรัฐ (The Internal Structure of
States)
5. ระบบการเมืองระหว่างประเทศ (The International
Political System)
ความขัดแย้ งอาจจะเกิดจากปัจจัยอืน่ อีกได้ ดังนี้
1. จานวนสมาชิกที่มีอยูใ่ นสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
2. ทรัพยากรธรรมชาติค่อนข้างจากัด
3. การแข่งขันกันระหว่างรัฐเล็กกับรัฐใหญ่
4. การพึ่งพาอาศัยกันในโลกยุคโลกาภิวตั น์
5. สั งคมชุ มชนระหว่ างประเทศมีลกั ษณะทีเ่ ป็ นพลวัตร
6. สั งคมชุ มชนระหว่ างประเทศมีลกั ษณะทีเ่ ป็ นอนาธิปไตย
7. ทุนข้ ามชาติ
8. สั งคมไร้ พรมแดน
9. แรงงานลอดรัฐ (ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ , 2546 : 7-40)
ความขัดแย้ งทางด้ านค่ านิยม
(Conflict of Values)
1. ปัจเจกกับสาธารณชน
( Individualism VS. Collectivism)
2. วัตถุนิยมกับจิตนิยม
(Materialism VS. Spiritualism)
3. ความทันสมัยกับประเพณี นิยม
(Modernization VS. Traditionalism)
4. ความปรารถนาที่จะเอาชนะธรรมชาติกบั ความกลมกลืนกับธรรมชาติ
(Mastery over Nature VS. Harmony with
Nature)
5. การรวมศูนย์กบั การกระจายศูนย์อานาจ
(Centralization VS.Decentralization)
6. การเมืองระบอบประชาธิปไตย (Political Democracy)
กับการเมืองระบอบเผด็จการ
(Political Authoritarianism & Totalitarianism)
7. ศีลธรรมกับศีลธรรมสวนกระแส
(Moral Value VS. Opposed Moral Value)
8. ความขัดแย้งทางค่านิยมกับกฎระเบียบโลก
(Conflict of Values and Global Order)
ทฤษฏีสื่อครอบโลก
( Global Media Theory )
ของ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ใครครอบครององค์ ความรู้ สามารถครอบครองข้ อมูลข่ าวสาร
ใครครอบครองข้ อมูลข่ าวสาร สามารถครอบครองสื่ อ
ใครครอบครองสื่ อ
สามารถครอบครองความเป็ นเจ้ า
ในสั งคมชุ มชนระหว่ างประเทศ
ทฤษฏีสื่อครอบโลก
(Global Media Theory)
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ ได้นาเสนอทางวิชาการดังนี้
ครั้งที่ 1 ที่ Rockefeller College, The University of New
York (Albany), U.S. ,September, 1980.
ครั้งที่ 2 ที่ School of Oriental & African Studies,
University of London, U.K. , August, 1993.
ครั้งที่ 3 ที่ U.S. Embassy in Bangkok, Thailand
ให้กบั นักศึกษา U.S. Air War College, March, 2006.
สื่ ออาจครอบงาในรูปแบบดังต่ อไปนี้
สื่ อทางเดียว (One-way Communication)
การผูกขาด (Monopoly)
การประสานประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest)
เกิดวัฒนธรรมข้ามชาติ (Global Culture)
ก่อให้เกิดความฝันข้ามชาติ (Global Dreams) และ พฤติกรรม
ร่ วมข้ามชาติ (Global Behavior)
• ทาให้โลกเป็ นหนึ่งเดียวภายใต้อารยธรรมอเมริ กนั
(Globalization of Americanization)
•
•
•
•
•
ในทัศนะของ ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ผูน้ าคือ บุคคลที่สามารถมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น
สามารถใช้อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีอยูช่ กั จูง
ใจให้ผอู ้ ื่นปฏิบตั ิตามนโยบาย พร้อมทั้งอุทิศตน
นอกเหนือไปจากภาระหน้าที่ของงานประจา นอกจากนั้น
ผูน้ ายังเป็ นบุคคลที่จะทาให้นโยบายของชาติหรื อองค์การ
ประสบผลสาเร็ จตามเป้ าหมาย
ความเป็ นผู้นานั้นดูได้ จากหลัก 3 ประการ
1. คุณภาพของความเป็ นผู้นา
2. ความสามารถในการกาหนดและการนานโยบายไปปฏิบตั ิของผู้นา
3. โครงสร้ างขององค์ กร
ลักษณะเฉพาะตัวของผู้นา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
พลังขับเคลือ่ น
ความปรารถนาทีจ่ ะเป็ นผู้นา
ความซื่อสั ตย์ และการยึดหลักคุณธรรม
ความเชื่อมั่นในตนเอง
ความเฉลียวฉลาด
ความรอบรู้ในหน้ าทีก่ ารงาน
ค่ านิยมเป็ นปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่ง เมื่อค่ านิยมมีบทบาทและ
อิทธิพลต่ อความเชื่อและพฤติกรรมของผู้นา ค่ านิยมและความ
เชื่อของผู้นาจะนาไปสู่ นโยบายทีก่ ่ อให้ เกิดความร่ วมมือหรือ
ความขัดแย้ ง สงคราม หรือสั นติภาพ ความมั่งคัง่ หรือ ความ
หายนะ โดยใช้ สื่อเป็ นเครื่องมือ
THANK
YOU
BY
Dr.Pongsan Puntularp
ผูน้ า อานาจรัฐ และนโยบายต่างประเทศ
Leader , State Power and
Foreign Policy
“ทุกสรรพสิ่ งร้อยรัดเป็ นหนึ่ งเดียว”
มนุษย์กบั ศาสตร์
องค์รวม
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ผูน้ า
• “ผูน้ า คือ บุคคลที่สามารถมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น สามารถใช้อานาจ
หน้าที่และความรับผิดชอบที่มีอยูช่ กั จูงใจให้ผอู ้ ื่นปฏิบตั ิตามนโยบาย
และอุทิศตนนอกเหนือไปจากภาระหน้าที่ประจา นอกจากนั้น ผูน้ ายัง
เป็ นบุคคลที่จะทาให้นโยบายของชาติหรื อองค์การประสบผลสาเร็ จตาม
เป้ าหมาย” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• ทฤษฏีรัฐบุรุษผูย้ ง่ิ ใหญ่ (Great Man Theory of
History)
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ความเป็ นผูน้ า
• คุณภาพของความเป็ นผูน้ า
• ความสามารถในการกาหนดและนานโยบายปฏิบตั ิ
• โครงสร้างองค์กร
รู ปแบบของผูน้ ากับโครงสร้างของระบบการเมือง
ผูน้ าแบบประชาธิปไตย
ผูน้ าแบบเผด็จการ
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
แนวทางการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผูน้ า
•
•
•
•
•
Traditional Approach
Philosopher King
Trait Theories
Behavioral theories
Trait Theories
–
–
–
–
–
–
พลังขับเคลื่อน
ความปรารถนาที่จะเป็ นผูน้ า
ความซื่อสัตย์และยึดหลักคุณธรรม
ความเชื่อมัน่ ในตนเอง
ความเฉลียวฉลาด
ความรอบรู้ในหน้าที่การงาน
ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• Max Weber
๑ อานาจตามกฎหมาย
๒ อานาจตามประเพณี นิยม
๓ อานาจที่มาจากบารมี
ผูน้ าบารมี
“ผูน้ าบารมีจะต้องมีวิสยั ทัศน์และสามารถแสดงวิสยั ทัศน์น้ นั ให้เป็ นที่
ประจักษ์แก่สาธารณชน พร้อมทั้งกล้าที่จะกาหนดและดาเนินนโยบาย
ตามวิสยั ทัศน์ของตน” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• Behavioral theories
“ทฤษฏีบทบาทและพฤติกรรมของผูน้ าสามารถระบุถึงพฤติกรรมที่แตกต่างระหว่างผูน้ าที่มี
ประสิ ทธิภาพกับผูน้ าที่ไร้ประสิ ทธิภาพ”
เจมส์ เดวิด บาร์เบอร์
อุปนิสยั และแบบฉบับ ๔ กลุ่ม
๑ ประเภทกระตือรื อร้นและเฉี ยบขาด
๒ ประเภทกระตือรื อร้นและสันโดษ
๓ ประเภทเฉื่ อยชาและอ่อนโยน
๔ ประเภทเฉื่ อยชาและสันโดษ
ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• บทบาทผูน้ ากับภาวะวิกฤต
Franklin D. Roosevelt
1933-1945 Great Depression
New Deal
Manhattan Project
Ronald Regan
Supply-side economy
Trickle Down theory
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• บทบาทผูน้ าในเชิงอุดมคติ
“สังคมที่จะพัฒนาและก้าวหน้าอย่างมัน่ คงนั้น ต้องอาศัยผูน้ าที่มีจริ ยธรรมและยึดมัน่
ในหลักคุณธรรมในการปกครอง” ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
“อานาจคือธรรม”
จริ ยธรรม
๑ แนวทางเชิงอรรถประโยชน์นิยม
๒ แนวคิดที่เน้นสิ ทธิ ส่วนบุคคล
๓ แนวคิดเรื่ องความยุติธรรม
๔ แนวคิดเรื่ องสัญญาประชาคม สัจจนิยม อุดมคตินิยม
“จริ ยธรรมเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่ องความดีและความถูกต้องนั้นเป็ นพลังเชื่อมโยง
มนุษย์กบั มนุษย์และมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อมเข้าด้วยกัน” ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
“การเมืองเป็ นพฤติกรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ที่ตอ้ งการปกครอง ต้องการมี
อานาจ ต้องการมีอิทธิพล และต้องการครอบงาผูอ้ ื่น”
จริ ยธรรมกับการเมือง
๑ จริ ยธรรม ส่ วนบุคคล การเมือง ต่อสังคม
๒ จริ ยธรรม ยากที่จะประเมิน การเมือง ประเมินได้
๓ กฎและการลงโทษ จริ ยธรรม เฉพาะตัว การเมือง กฎหมาย
๔ จริ ยธรรม กรรมดี การเมือง ดีส่วนรวม
ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
• ความจริ ง ๔ ประการ ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
๑ จริ งต่อตนเอง
๒ จริ งต่อผูอ้ ื่น
๓ จริ งต่อศาสนา
๔ จริ งต่อประเทศชาติ
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”
( ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓) พระปฐมบรมราชโองการ
“ถ้าผูน้ าไทยได้นอ้ มนาพระราชดารัสนี้มาใช้เป็ นแนวทางในการบริ หาร
ประเทศผสมผสานกับระบบเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ประเทศไทยบ้านเรา
ก็คงจะได้มีโอกาสทะยานขึ้นมายืน่ ผงาดในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
ได้สง่างามอีกครั้งหนึ่งเมื่ออัตราส่ วนของจริ ยธรรมกับการเมืองสามารถ
ที่จะคลุกเคล้าและผสานกันได้ในอัตราส่ วนที่เหมาะสมและกลมกลืน
โดยมีผนู ้ าในทุกระดับของประเทศทาตนเป็ นแม่แบบแก่ชาวไทยทั้ง
มวล” ดร.พงษ์ศานต์ พันธุลาภ, ๒๕๔๖:๒๓๖-๒๓๘
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
ทฤษฏีสื่อครอบโลก
ใครครอบครององค์ความรู้
สามารถครอบครองข้อมูลข่าวสาร
ใครครอบครองข้อมูลข่าวสาร สามารถครอบครองสื่ อ
ใครครอบครองสื่ อ
สามารถครอบครองความเป็ นเจ้า
ในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
( ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ , 2523)
“ โลกนี้ เป็ นของมนุษย์เราทุกคน
ถ้ามนุษย์เราร้อยรัดดวงใจให้เป็ นหนึ่งเดียว”
ดร. พงษ์ศานต์ พันธุลาภ
คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ธันวาคม 2544