ppt - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Download Report

Transcript ppt - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 12
เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตเบือ้ งต้ น คุณธรรม
และจริยธรรมวิชาชีพ
เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตเบือ้ งต้ น (INTRODUCTION TO INTERNET)
อินเทอร์ เน็ตหมายถึงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ปั จจุบนั เป็ น
เครื อข่ายที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่าย
จานวนมาก อินเทอร์ เน็ตเชื่อมโยงเครื อข่ายทัว่ โลกโดยใช้ ภาษาที่ใช้ สื่อสาร
กันระหว่างคอมพิวเตอร์ ทวั่ โลกเรี ยกว่า โพรโทคอลหรื อเกณฑ์วิธี
(Protocol) ในปั จจุบนั ใช้ โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี (Transmission Control
Protocol/Internet Protocol: TCP/IP) เป็ นมาตรฐานที่ทาให้ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ตา่ งๆ ทัว่ โลกสามารถเชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ ซึง่ ทีซี
พี/ไอพีเป็ นการกาหนดรูปแบบการสื่อสารระหว่างซอฟต์แวร์ การจัดการ
โอนย้ ายข้ อมูล การแสดงสถานะของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่อยูบ่ นเครื อข่าย
ตลอดจนกฎระเบียบต่าง ๆ ที่กาหนดให้ ทาเมื่อเกิดความผิดพลาดหรื อต้ อง
ทา เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดความผิดพลาด
ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต
 ด้ านการศึกษา
 ด้ านธุรกิจและการพาณิชย์
 ด้ านการบันเทิง
 ด้ านการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้ อมูล
การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต (1)
(Modem) การ
เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตในรูปแบบนี ้จะใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และโมเด็ม ซึ่งมีทงแบบ
ั้
ติดตังภายในเครื
้
่ อง (Internal Modem) และแบบติดตังภายนอกเครื
้
่ อง (External
Modem) โดยโมเด็มจะเป็ นตัวเชื่อมต่อกับผู้ให้ บริการต่างๆ ทาให้ สามารถเชื่อมต่อ
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้
 การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตโดยใช้ คอมพิวเตอร์ และการ์ ดแลน (LAN) การ
เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตในรูปแบบนี ้จะใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และการ์ ดแลน ซึง่ มีทงั ้
ภายในเครื่ องและภายนอกเครื่ อง การ์ ดแลนมีทงแบบใช้
ั้
สายแลน และแบบแลนไร้ สาย
(Wireless LAN: WLAN) ในปั จจุบนั นิยมใช้ แบบแลนไร้ สายเนื่องจากไม่ต้องเสียเวลา
ในการเดินสาย และติดตังง่
้ าย อีกทังในปั
้ จจุบนั แลนไร้ สายมีราราถูกและ
ประสิทธิภาพที่สงู มากขึ ้นทาให้ การติดต่อสื่อสารสามารถติดต่อสื่อสารได้ อย่างไม่มี
ปั ญหาการเชื่อมต่อโดยใช้ การ์ ดแลนโดยมากจะเป็ นการเชื่อมต่อภายในองค์กร
หน่วยงาน หรื อมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ดังนันการ
้
ติดต่อในรูปแบบนี ้จะต้ องเข้ าสูร่ ะบบผู้ให้ บริการของหน่วยงานของตนเอง
 การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตโดยใช้ คอมพิวเตอร์ และโมเด็ม
การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต (2)
 การเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ตโดยใช้ โทรศัพท์ มือถือการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตใน
รูปแบบนี ้ปั จจุบนั เริ่มได้ รับความนิยมมากขึ ้นเนื่องจากโทรศัพท์มือถือในปั จจุบนั
รองรับการเชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทังจากผู
้
้ ให้ บริการมือถือเองหรื อเชื่อมต่อกับผู้
ให้ บริการต่างๆ การเชื่อมต่อในรูปแบบนี ้จะสามารถใช้ งานอินเทอร์ เน็ตได้ เช่นเดียวกับ
การเชื่อมต่อในรูปแบบอื่นๆ เพียงแต่อาจจะเห็นภาพที่มีขนาดเล็กลง แต่มีความ
สะดวกสบายในการเชื่อมต่อเนื่องจากมือถือมีขนาดเล็กเหมาะสาหรับการใช้ งาน
อินเทอร์ เน็ตในทุกๆ ที่
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (1)
 บริ การไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail: Electronics Mail)



อีเมลสานักงาน ซึง่ เป็ นอีเมลที่สร้ างจากหน่วยงาน บ่งบอกถึงหน่วยงานของผู้ใช้ เช่น
อีเมล [email protected] ซึง่ เป็ นอีเมลของหน่วยงานของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC)
อีเมลโดยไอเอชพีหรื อผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ต บางท่านเป็ นผู้ใช้ ที่ไม่มีหน่วยงานดังนัน้
อีเมลโดยไอเอชพีก็เป็ นอีเมลอีกแบบหนึง่ โดยทัว่ ไปเมื่อผู้ใช้ บริการสมัครเป็ นสมาชิก
อินเทอร์ เน็ตจากผู้ให้ บริ การ ส่วนมากผู้ให้ บริการก็จะให้ บริการอีเมลด้ วย แต่มกั ไม่นิยม
ใช้ กนั เนื่องจากไม่บง่ ชี ้สถานภาพของบุคคล
อีเมลโดยฟรี อีเมล์ทวั่ ไป ปั จจุบนั เว็บไซต์หลายเว็บไซต์ให้ บริ การบัญชีอีเมล์
ฟรี สาหรับผู้สนใจทัว่ ไป ดังเช่น Hotmail, Yahoo, Gmail ซึง่ เป็ นผู้ให้ บริ การ
อีเมลที่เป็ นที่นิยมเป็ นอย่างสูงในปั จจุบนั อีกทังมี
้ การพัฒนาไปอย่างมากทัง้
ความจุและรูปแบบการให้ บริ การที่สะดวกรวดเร็ว ดังนันผู
้ ้ ใช้ อินเทอร์ เน็ต
ส่วนมากจึงเลือกใช้ อีเมลลักษณะนี ้
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (2)
ประเภทของโดเมนจะบ่งบอกหน่วยงานต่างๆ ทังของรั
้
ฐและเอกชน ประเภท
ของโดเมนชนิดต่างๆ ดังเช่น
com บ่งบอกถึงหน่วยงานด้ านธุรกิจและการค้ า
edu บ่งบอกถึงสถาบันการศึกษา
gov บ่งบอกถึงองค์กรรัฐ
mil บ่งบอกถึงองค์กรทหาร
net บ่งบอกถึงองค์กรให้ บริการเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
org บ่งบอกถึงองค์กรไม่แสวงหากาไร
Pro บ่งบอกถึงหน่วยงานที่เชี่ยวชาญในระดับอาชีพ
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (3)
 บริ การถ่ ายโอนแฟ้มข้ อมูล
(FTP: File Transfer Protocol)
การบริการถ่ายโอนแฟ้มข้ อมูลหรื อเอฟทีพีเป็ นบริการถ่ายโอนข้ อมูลข้ าม
เครื อข่าย โดยใช้ ในการอัปโหลด (Upload) ข้ อมูลจากเครื่ องลูกไปยังเครื่ อง
แม่ข่าย (Server) ใช้ ในการดาวน์โหลด (Download) ข้ อมูล จากเครื่ องแม่
ข่าย มาไว้ ที่เครื่ องลูก ดังแสดงในรูป
Download
Upload
Server
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (4)
 บริ การใช้ เครื่ องข้ ามเครื อข่ าย
บริ การใช้ เครื่ องข้ ามเครื อข่ายเป็ นบริ การที่ใช้ ทรัพยากรของเครื่ องอื่น บริ การนี ้เป็ นบริ การที่
เป็ นประโยชน์ และประหยัดค่าใช้ จ่าย โดยสามารถใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่หา่ งไกลออกไปโดย
เสมือนอยู่ที่หน้ าเครื่ องนันๆ
้ โดยตรง จึงเป็ นบริ การอีกรูปแบบหนึง่ ทีอ่ นุญาตให้ ทางานบน
เครื่ องคอมพิวเตอร์ อื่นที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ที่อยู่บนอินเทอร์ เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้ งาน
ในการใช้ เครื่ องข้ ามเครื อข่ายคือโปรแกรมเทลเน็ต (Telnet)
 บริ การการสนทนาบนเครื อข่ าย (Talk หรื อ Chat)
บริ การสนทนาบนเครื อข่าย เป็ นการติดต่อสื่อสารเพื่อใช้ ในการโต้ ตอบกันผ่านทางเครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ต เป็ นบริ การที่ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างสูงเนื่องจากเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตใน
ปั จจุบนั มีความเร็วที่สงู ขึ ้นทาให้ พฒ
ั นารูปแบบการสนทนาบนเครื อข่ายได้ หลายรูปแบบ
ผู้ใช้ บริ การสามารถคุยโต้ ตอบ ทังในรู
้ ปแบบของข้ อความ รูปภาพ หรื อทังภาพและทั
้
งเสี
้ ยงใน
เวลาเดียวกันได้ ตัวอย่างของโปรแกรมในการสนทนาดังเช่นเอ็มเอชเอ็น (Windows Live
Messenger: MSN) ที่ปัจจุบนั ได้ พฒ
ั นาไปอย่างมากทาให้ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ทงภาพ
ั้
และเสียง
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (5)
 บริ การการค้ นหาข้ อมูล
(Search Engine)
บริการการค้ นหาข้ อมูลเป็ นบริการเพื่อใช้ ประโยชน์ในการค้ นหาข้ อมูลที่
ต้ องการในโลกแห่งเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตมีขนาด
ใหญ่มาก มีปริมาณข้ อมูลมหาศาลดังนันเครื
้ ่ องมือที่สาคัญในการหาข้ อมูล
คือผู้ให้ บริการค้ นหาข้ อมูลต่างๆ โดยส่วนใหญ่การค้ นหาข้ อมูลจะค้ นหา
ข้ อมูลจากคาสาคัญ (Keywords) ที่ผ้ ใู ช้ ป้อนเข้ าไป จากนันผู
้ ้ ให้ บริการการ
ค้ นหาข้ อมูลจะแสดงรายการที่น่าจะเป็ นสิ่งที่เราค้ นหาออกมา ปั จจุบนั
โปรแกรมค้ นหา (Search Engine) มีผ้ ใู ห้ บริการจานวนมาก แต่ที่ได้ รับ
ความนิยมสูงสุดในปั จจุบนั ได้ แก่ กูเกิล (Google) ส่วนยาฮู (Yahoo) เป็ น
ลาดับรองลงมา
รูปแบบการให้ บริการผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (6)
 บริ การเว็บไซต์
(Web Site)
บริการเว็บไซต์เป็ นบริการที่ให้ ข้อมูลต่างๆ แก่ผ้ ใู ช้ บริการ เว็บไซต์คือเว็บ
เพจหลายๆหน้ าที่เชื่อมโยงระหว่างกันและกัน เว็บไซต์มีหลากหลาย
ประเภทดังเช่นเว็บไซต์เพื่อใช้ ในการค้ าขาย เว็บไซต์ในการโฆษนา เว็บไซต์
ในการให้ ข้อมูล เว็บไซต์การสอน เว็บไซต์องค์กรต่างๆ และเว็บไซต์อื่นๆ อีก
มากมาย เว็บไซต์หนึง่ แห่งจะมีเว็บเพจที่เป็ นหน้ าหลักหรื อเป็ นหน้ าแรกสุด
ที่ผ้ ใู ช้ เปิ ดอ่าน เว็บเพจหน้ าหลักจะเก็บหัวเรื่ องที่เราสามารถหาได้ จาก
เว็บไซต์ หัวเรื่ องแต่ละหัวเรื่ องมักจะมีตวั เชื่อมไปยังเว็บเพจที่แสดง
รายละเอียด ดังนันหน้
้ าหลักของเว็บไซต์จงึ ทาหน้ าที่เสมือนเป็ นสารบัญ
ของหนังสือที่บอกหมายเลขหน้ าของหัวเรื่ อง
รู ปแบบการให้ บริการผ่ านเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต (7)
เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web: WWW) คือพื ้นที่ที่เก็บข้ อมูลข่าวสารที่เชื่อมต่อกัน
ทางอินเทอร์ เน็ต โดยการกาหนดยูอาร์ แอลหรื อโปรแกรมชี ้แหล่งทรัพยากรสากล
(Universal Resource Locator: URL) คาว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะใช้ สบั สนกับคาว่า
อินเทอร์ เน็ตแต่โดยจริ งแล้ วเวิลด์ไวด์เว็บเป็ นเพียงแค่บริ การหนึง่ บนอินเทอร์ เน็ตเท่านัน้
เวิลด์ไวด์เว็บปั จจุบนั ได้ รับความนิยมสูงสุดของระบบอินเทอร์ เน็ต
มาตรฐานหลักที่ใช้ ในเว็บคือยูอาร์ แอล (Uniform Resource Locator: URL) เป็ น
ระบบมาตรฐานที่ใช้ กาหนดตาแหน่งที่อยู่ของเว็บเพจแต่ละหน้ า เอชทีทีพี (HyperText
Transfer Protocol: HTTP) เป็ นตัวกาหนดลักษณะการสื่อสารระหว่างเว็บเบราว์เซอร์
และเซิร์ฟเวอร์ เอชทีเอ็มแอล (HyperText Markup Language: HTML) เป็ นตัวกาหนด
ลักษณะการแสดงผลของข้ อมูลในเว็บเพจ
คุณธรรมและจริยธรรมวิชาชีพทางด้ านคอมพิวเตอร์
(MORAL AND ETHICS)
คุณธรรม แปลว่า สภาพคุณงามความดี ส่วนจริยธรรม แปลว่า ธรรมที่เป็ นข้ อ
ประพฤติปฏิบตั ิ ศีลธรรม กฎศีลธรรม บางครัง้ ก็เรี ยกควบกันไปเป็ นคุณธรรม
จริยธรรม คุณธรรมที่แท้ จริงมีคณ
ุ ค่าภายในตัวของมัน คือทาให้ ผ้ ูครอบครองเป็ น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ คุณธรรมต้ องตังอยู
้ บ่ นความรู้ สังคมที่คนในสังคมไม่มีคณ
ุ ธรรม
จริยธรรม ก็จะเป็ นสังคมไร้ ระเบียบ มีการเบียดเบียนละเมิดและขัดแย้ งกัน ทาให้
สังคมนันอยู
้ อ่ ย่างไม่สงบสุข ดังนันจึ
้ งมีความจาเป็ นที่จะต้ องมีคณ
ุ ธรรมและ
จริยธรรมวิชาชีพทางด้ านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ สงั คมอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสุข
จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กาหนดขึ ้นเพื่อใช้ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ
หรื อควบคุมการใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ หรื อหลักเกณฑ์ที่ประชาชน
ตกลงร่วมมือกันเพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิร่วมกันในสังคมให้ สงั คมอยู่
อย่างมีความสุข
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
สารสนเทศ (1)
ความเป็ นส่ วนตัว (Information Privacy)
ความเป็ นส่วนตัวโดยทัว่ ไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็ นสิทธิที่เจ้ าของ
สามารถที่จะควบคุมข้ อมูลของตนเองในการเปิ ดเผยให้ กบั ผู้อื่น สิทธินีใ้ ช้ ได้ ครอบคลุม
ทังปั
้ จเจกบุคคล กลุม่ บุคคล และองค์การต่างๆ
 ความถูกต้ องของข้ อมูล (Information Accuracy)
ในการใช้ คอมพิวเตอร์ ให้ ได้ ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ คุณลักษณะที่สาคัญประการหนึง่
คือ ความน่าเชื่อถือได้ ของข้ อมูล ทังนี
้ ้ข้ อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้ อยเพียงใด
ย่อมขึ ้นอยู่กบั ความถูกต้ องในการบันทึกข้ อมูล ประเด็นด้ านจริ ยธรรมที่เกี่ยวข้ องกับ
ความถูกต้ องของข้ อมูล โดยทัว่ ไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็ นผู้รับผิดชอบต่อความ
ถูกต้ องของข้ อมูลที่จดั เก็บและเผยแพร่ และผู้ใดจะเป็ นผู้รับผิดชอบหากเกิด
ข้ อผิดพลาด ซึง่ ในการเผยแพร่ข้อมูลควรจะได้ รับการตรวจสอบความถูกต้ องก่อนที่จะ
นาไปเผยแพร่ รวมถึงการปรับปรุงข้ อมูลให้ มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี ้ควรให้
สิทธิแก่บคุ คลในการเข้ าไปตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลของตนเองได้

จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
สารสนเทศ (2)
 ความเป็ นเจ้ าของ
(Information Property)
ความเป็ นเจ้ าของ หมายถึงกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สนิ ซึง่ อาจเป็ น
ทรัพย์สนิ ทัว่ ไปที่จบั ต้ องได้ เช่น โทรศัพท์แบบพกพา นาฬิกา คอมพิวเตอร์
หรื ออาจเป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาที่จบั ต้ องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
 การเข้ าถึงข้ อมูล (Data Accessibility)
การเข้ าถึงข้ อมูลเป็ นสิทธิในการเข้ าถึงข้ อมูลเนื่องจากในบางครัง้ อาจจะถูก
จากัดสิทธิเพื่อรักษาความปลอดภัยของระบบ ปั จจุบนั การเข้ าใช้ งานระบบ
คอมพิวเตอร์ ในองค์กรมักจะมีการกาหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้ งาน ทังนี
้ ้
เพื่อเป็ นการป้องกันการเข้ าไปดาเนินการต่างๆ กับข้ อมูลของผู้ใช้ ที่ไม่มีสว่ น
เกี่ยวข้ อง และเป็ นการรักษาความลับของข้ อมูล
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศร่ วมกัน
ไม่ใช้ คอมพิวเตอร์ ทาร้ ายหรื อละเมิดผู้อื่น
 ต้ องไม่รบกวนการทางานของผู้อื่น
 ต้ องไม่สอดแนมหรื อแก้ ไขเปิ ดดูในแฟ้มของผู้อื่น
 ต้ องไม่ใช้ คอมพิวเตอร์ เพื่อการโจรกรรมข้ อมูลข่าวสาร
 ต้ องไม่ใช้ คอมพิวเตอร์ สร้ างหลักฐานที่เป็ นเท็จ
 ต้ องไม่คด
ั ลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
 ต้ องไม่ละเมิดการใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
 ต้ องไม่นาเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็ นของตน
 ต้ องคานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทา
 ต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (1)
 กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ เสมอด้ วยการลงลายมือชื่อ
ธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมัน่ มากขึ ้นในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ในการทาธุรกิจผ่านเครื อข่าย
 กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้ างพืน
้ ฐานสารสนเทศให้ ท่ วั ถึง และ
เท่ าเทียมกัน (National Information Infrastructure Law) เพื่อก่อให้ เกิดการ
ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานสารสนเทศ นับเป็ นกลไก
สาคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล ้าของสังคม และเพื่อสนับสนุนให้ ท้องถิ่นมี
ศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนาไปสู่
สังคมแห่งปั ญญาและการเรี ยนรู้อย่างยัง่ ยืนต่อไป
กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (2)
(Data Protection Law) เพื่อ
ก่อให้ เกิดการรับรองสิทธิและให้ ความคุ้มครองข้ อมูลส่วนบุคคล ทังนี
้ ้โดยคานึงถึง
การรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขนพื
ั ้ ้นฐานในความเป็ นส่วนตัว เสรี ภาพในการ
ติดต่อสื่อสาร และความมัน่ คงของรัฐ
 กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer
Crime Law) เพื่อกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบ
การทางานของคอมพิวเตอร์ ทังนี
้ ้เพื่อเป็ นหลักประกันสิทธิเสรี ภาพและการคุ้มครอง
การอยูร่ ่วมกันของสังคม ทาให้ สงั คมสามารถอยูด่ ้ วยกันอย่างสงบสุข
 กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds
Transfer Law) เพื่อกาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอน
เงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เป็ นระบบการชาระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ เกิดความเชื่อมัน่ ต่อระบบการทาธุรกรรมทางการเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ ้น
 กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้ อมูลส่ วนบุคคล
แบบฝึ กหัดทบทวน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
อินเทอร์ เน็ตคืออะไร จงอธิบาย
จงอธิบายประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตมา 5 ตัวอย่าง พร้ อมทังอธิ
้ บาย
โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol: TCP/IP) คืออะไร จง
อธิบาย
ประเภทขอโดเมนดังต่อไปนี ้ บ่งบอกถึงหน่วยงานอะไรบ้ าง com, edu, gov, mil, net, org, Pro
จงยกตัวอย่าง รูปแบบการให้ บริ การผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตมา 5 ตัวอย่าง พร้ อมทังอธิ
้ บาย
จงอธิบายคาว่าเว็บไซต์ และเว็บเพจ
จงยกตัวอย่างอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ ากับเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต และให้ อธิบาย
ลักษณะการเชื่อมต่อ
จริ ยธรรมเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ ที่ร้ ูจกั กันในลักษณะตัวย่อว่า
PAPA คืออะไรจงอธิบาย
เพื่อให้ การอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์ เน็ตสงบสุขจึงควรปลูกฝั งจริ ยธรรมและคุณธรรมให้ กบั
ผู้ใช้ งานร่วมกัน ซึง่ อาจจะปฏิบตั ิตามบัญญัติ 10 ประการ มีอะไรบ้ างจงอธิบาย
ทาไมถึงต้ องมีกฎหมาย และจริ ยธรรม ที่เกี่ยวข้ องเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
http://www.udru.ac.th
เอกสารอ้ างอิง
งามนิจ อาจอินทร์ , ความรู้ท่ วั ไปเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ ., กรุงเทพฯ, 2542.
เตชา อัศวสิทธิถาวร, เทคโนโลยีสารสนเทศเบือ้ งต้ น., กรุงเทพฯ, วังอักษร, 2547.
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร., 2552.
วศิน เพิ่มทรัพย์, และวิโรจน์ ชัยมูล, ความรู้เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ., กรุงเทพฯ, 2548.
ศรี ไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล, เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ., กรุงเทพฯ, 2547.
J. O’Brien, Management Information Systems: Managing Information Technology in the
Networked Enterprise., McGraw-Hill, 1996.
J. O’Brien, Introduction to Information Systems: Essentials for the E-Business Enterprise,
McGraw-Hill, 2003.
[Online]. Available: http://www.jariyatam.com/ethics-of-using-computer [30 เมษายน2552].
[Online]. Available: http://www.nukul.ac.th/it/content/10/10-1.html [30 เมษายน 2552].
[Online]. Available: http://www.thai3dviz.com/board/blog.php?b=19 [30 เมษายน 2552].
http://www.udru.ac.th
http://www.udru.ac.th