หน่วยที่ 7 คุณภาพชีวิต

Download Report

Transcript หน่วยที่ 7 คุณภาพชีวิต

หน่ วยที่ 7
คุณภาพชีวติ
ความหมายของคุณภาพชีวติ (Quality of Life)
คุณภาพชีวิต หมายถึง สภาวะความพร้อมของบุคคลทั้งในด้าน
ร่ างกาย จิตใจ และด้านอื่นๆ ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตที่จะสามารถส่ งผลให้
เขาดารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข
กระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความหมายของคุณภาพชีวิตว่า คุณภาพ
ชีวิต หมายถึง ชีวิตที่มีสุขภาพสมบูรณ์ท้ งั ร่ างกายและจิตใจ สามารถปรับตัว
ให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมและสังคมที่ตนอยูไ่ ด้อย่างดี ในขณะเดียวกันก็
สามารถดารงชีวิตที่เป็ นประโยชน์ให้ตนเอง สังคม และประเทศชาติดว้ ย
ความหมายของการพัฒนาคุณภาพชีวติ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็ นการพัฒนาคนในทุกๆ ด้านไม่วา่ จะ
เป็ นด้านสุ ขภาพอนามัย การศึกษา จิตใจ คุณธรรม ความพร้อมในการ
ดารงชีวิตในสังคม ความสามารถในการประกอบอาชีพ รวมถึงการ
พัฒนาในทุกขั้นตอนของชีวิตนับตั้งแต่วยั เด็กจนถึงวัยสู งอายุเพื่อ
ประโยชน์ในการดารงชีวิตที่ดีข้ ึน ทั้งส่ วนบุคคล สังคม และ
ประเทศชาติ
ลักษณะของผู้ทมี่ ีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
ดัชนีช้ ีวดั ที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบว่าคนในสังคมใดมีคุณภาพชีวิตที่
ดีกว่ากันเรี ยกว่า “ข้อมูลความจาเป็ นพื้นฐาน (จปฐ)”
ข้อมูลความจาเป็ นพื้นฐาน คือ ข้อมูลในระดับครัวเรื อนที่แสดงถึง
ความจาเป็ นของคนในครัวเรื อนในด้านต่างๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่กาหนด
มาตรฐานขั้นต่าเอาไว้
เครื่ องชี้วดั ความจาเป็ นพื้นฐาน กาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการชี้วดั ว่า คน
ในแต่ละครัวเรื อนมีคุณภาพชีวิตขั้นต่าในเรื่ องนั้นๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง โดย
ปกติแล้วจะกาหนด 5 ปี ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เครื่ องชี้วดั ความจาเป็ นพื้นฐานที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้จดั เก็บข้อมูล
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)
ประกอบไปด้วย 8 หมวด 37 ตัวชี้วดั
หมวดที่ 1 สุ ขภาพดี (ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี)
หมวดที่ 2 มีบา้ นอาศัย (ประชาชนมีที่อยูอ่ าศัยและสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม)
หมวดที่ 3 ศึกษาถ้วนทัว่ (ประชาชนเข้าถึงบริ การสังคมขั้นพื้นฐาน
ที่จาเป็ นแก่การดารงชีวิต)
หมวดที่ 4 ครอบครัวสุ ขสบาย
หมวดที่ 5 รายได้มาก (ประชาชนมีการประกอบอาชีพ และมีรายได้
พอเพียงต่อการดารงชีวิต)
หมวดที่ 6 อยากร่ วมพัฒนา (ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนา
ความเป็ นอยูแ่ ละกาหนดชีวิตของตนเองและชุมชน)
หมวดที่ 7 พาสู่คุณธรรม (ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจของตนเอง
ได้ดีข้ ึน)
หมวดที่ 8 บารุ งสิ่ งแวดล้อม (ประชาชนมีจิตสานึก และร่ วมกัน
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม)
ปัจจัยในการพัฒนาคุณภาพชีวติ
1. ปัจจัยด้ านประชากร
คือ ขนาดหรื อจานวนประชากร โครงสร้างการกระจายตัว ความ
หนาแน่น คุณลักษณะและสถานภาพของประชากรรวมถึงการเปลี่ยนแปลง
ภาวะประชากร ทาให้ประชากรมีชีวิตที่มีความสมบูรณ์ท้ งั ร่ างกายและจิตใจ
มีโอกาสเข้าถึงการบริ การขั้นพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต
2. ปัจจัยด้ านการศึกษา
เป็ นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร
เนื่องจากการศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่งของการพัฒนาสติปัญญา และสุ ขภาพของ
บุคคลที่ดีอยูแ่ ล้วให้เจริ ญยิง่ ขึ้น
3. ปัจจัยด้ านเศรษฐกิจ
การที่ผลผลิตหรื อรายได้ของประชากรจะสู งขึ้นหรื อต่า ย่อมขึ้นอยูก่ บั ปั จจัย
ทางเศรษฐกิจ ดังต่อไปนี้
1) กาลังแรงงาน
หมายถึง จานวนประชากรวัยแรงงาน อายุระหว่าง 15 – 59 ปี ถ้ามี
จานวนมากก็จะทาให้ผลงานหรื อผลผลิตมีปริ มาณมาก
2) คุณภาพของแรงงาน
เป็ นปั จจัยที่ทาให้เกิดปริ มาณและคุณภาพของผลผลิตที่น่าพอใจ
3) เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
หมายถึง เครื่ องจักร เครื่ องทุ่นแรง
ปัจจัยที่สัมพันธ์ กนั ในวงจรเศรษฐกิจ
การออม
การอุปโภคบริ โภค
การลงทุน
การผลิต
แผนภูมิองค์ประกอบสาคัญในวงจรเศรษฐกิจ
จากแผนภูมิจะเห็นได้วา่ ประเทศใดประชากรมีการประกอบอาชีพ มีงาน
ท าและสร้ า งผลผลิ ต ได้ป ริ ม าณมาก ย่อ มมี ผ ลผลิ ต เหลื อ จากการอุ ปโภคและ
บริ โภค ซึ่งจะสามารถนาไปเก็บออมไว้
4. ปัจจัยด้ านทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม
สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพมีคุณประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
ที่นามาใช้เป็ นอาหาร ยารักษาโรค เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอ่ าศัย ฯลฯ
5. ปัจจัยด้ านคุณธรรมจริยธรรม
เป็ นปัจจัยสาคัญและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต คุณธรรม
จริ ยธรรม หมายถึง คุณงามความดีที่บุคคลควรปฏิบตั ิ และเป็ นตัวกาหนด
พฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลในด้านการตัดสิ นใจโดยหลักความ
ถูกต้อง ความผิด ความดี ความชัว่ การทาบุญหรื อการทาบาป
ความก้าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกบั คุณภาพชีวติ
1. ความสาคัญของวิทยาสาสตร์ และเทคโนโลยีกบั คุณภาพชีวิต
ความรู ้ทางวิทยาสาสตร์ และเทคโนโลยีปัจจุบนั ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ใน
ด้านต่างๆ มีการนาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนางานด้านต่างๆ ดังนี้
1) ด้านคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย
2) ด้านงานธรณี วทิ ยา อยูใ่ นรู ปของการแสวงหา ขุดค้น นาขึ้นมาใช้
3) ด้านการเกษตร และด้านอุตสาหกรรมเกษตร
4) ด้านวิชาชีพเภสัชศาสตร์
5) ด้านทันตแพทย์ศาสตร์ เป็ นต้น
2. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ กบั คุณภาพชีวติ
บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะต่อไปนี้
1) เป็ นบุคคลที่มีเหตุผล
2) อยากรู้อยากเห็น มีความสงสัย
3) รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
4) มีความกระตือรื อร้น อยากคิด อยากทา
5) มีความมานะ พากเพียร
6) มีความซื่ อสัตย์ ใจเป็ นกลาง
7) มีความรับผิดชอบ
8) มีความถ่อมตน
9) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี