ทักษะการตัดสิ นใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553 ทักษะ : ความชั ดเจนและความชานาญ ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง ซึ่ งบุ ค คล สามารถสร้ างขึน้ ได้ จากการเรียนรู้.
Download
Report
Transcript ทักษะการตัดสิ นใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553 ทักษะ : ความชั ดเจนและความชานาญ ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง ซึ่ งบุ ค คล สามารถสร้ างขึน้ ได้ จากการเรียนรู้.
ทักษะการตัดสิ นใจ
นัทธี จิตสว่าง
28 มีนาคม 2553
1
ทักษะ :
ความชั ดเจนและความชานาญ
ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง ซึ่ งบุ ค คล
สามารถสร้ างขึน้ ได้ จากการเรียนรู้
2
การตัดสิ นใจ :
หมายถึง กระบวนการในการ ที่
จ ะ พิ จ า ร ณ า ท า ง เ ลื อ ก ต่ า ง ๆ
ให้ เหลือทางเลือกเดียว
3
หน้ าทีส่ าคัญทีส่ ุ ดของ นัก
บริหาร คือ
“การตัดสิ นใจ”
4
“ถ้ าให้ ข้าพเจ้ าสรุปในวลีเดียวว่ า
ผู้จดั การทีด่ เี ป็ นยังไงแล้ วล่ ะก้ อ
ข้ าพเจ้ าบอกได้ เลยว่ า คือ ความสามารถ
ในการตัดสิ นใจ”
ลี ไอค็อกคา
อดีตประธานบริษทั รถยนต์ ไครสเล่อร์ ชาวเอเมริกนั
5
ประเภทของการตัดสิ นใจ
1. ตัดสิ นใจโดยใช้ ประสบการณ์
2. ตัดสิ นใจโดยการลองผิดลองถูก
3. ตัดสิ นใจโดยการสั งเกต
4. ตัดสิ นใจโดยหลักวิทยาศาสตร์
6
•การตัดสิ นใจแบบใช้ สัญชาตญาณ
•การตัดสิ นใจแบบใช้ เหตุผล
7
การตัดสินใจจากสัญชาตญาณ
นิยาม: การตัดสินใจบนพื้นฐานของสัญชาตญาณหรือ
ความรูส้ ึกล่วงหน้า
มีศกั ยภาพหรือความเป็ นไปได้สูง
ผูบ้ ริหารจะมีการตัดสินใจจากสัญชาตญาณที่
ประสบผลสาเร็จมาก หากเคยมีประสบการณ์ในด้านนั้นๆ
มานาน
ผูบ้ ริหารจะตัดสินใจจากสัญชาตญาณเมื่อไม่มีเวลาในการทา
วิจยั ศึกษาข้อมูล
8
การตัดสินใจแบบใช้เหตุผล
นิยาม: การตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลความจริงและ
การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
6 ขั้นตอนในการตัดสินใจแบบใช้เหตุผล
-
ตระหนักรับรูถ้ ึงความจาเป็ นในการตัดสินใจ
กาหนดแนวทางในการตัดสินใจ
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ระบุทางเลือกอื่นๆที่เป็ นไปได้
ประเมินผลทางเลือกแต่ละข้อ
เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
9
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง
สัญชาตญาณ
เหตุผล
กระบวนการที่ให้ผลที่ตอ้ งการ
กระบวนการตัดสินใจที่ค่านิยม
กระบวนการที่ให้ผลที่ตอ้ งการ
กระบวนการตัดสินใจเชิง
เต็มไปด้วยประสบการณ์
วิทยาศาสตร์
เต็มไปด้วยการวิจยั และข้อมูล
ความจริง
10
การตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพ
1. มีข้อมูลพร้ อม
2. ความถูกต้ อง ความดี
3. มีความกล้ าหาญ
11
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
1. ไม่ มขี ้ อมูลเพียงพอ
12
Simon :
มนุษย์ ไม่ สามารถตัดสิ นใจได้
โดยอาศัยหลักเหตุผลอย่ างสมบูรณ์
ทาได้ แค่ เพียง
การตัดสิ นใจทีพ่ อใจสูงสุด
13
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
2. ผลประโยชน์
14
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
3. อิทธิพล
15
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
4. ความเคยชิน ทาตามกันมา
16
“การตัดสิ นใจของผู้นา
ต้ องนาคนไปในที่ที่เขา
ไม่ เคยไปมาก่ อน”
17
"การทาสิ่ งทีซ่ ้าซากอยู่เหมือนเดิม
แล้ วหวังจะให้ เกิดผล
ที่แตกต่ างไปจากเดิม
เป็ นความวิกลจริตประเภทหนึ่ง”
A.E
18
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
5. ค่ านิยม
19
บทบาทของค่านิยม
ค่านิยมมีบทบาทสาคัญในกระบวนการตัดสินใจ
ค่านิยมทางเศรษฐกิจและสังคมมีผลกระทบต่อการ
ตัดสินใจมากที่สุด
ค่านิยมทางเศรษฐกิจ: เกี่ยวข้องกับ
การมุ่งเน้นในการสร้างรายได้
ให้กบั องค์กร
ค่านิยมทางสังคม: เกี่ยวข้องกับ
การทาให้ชีวิตของผูร้ บั บริการหรือ
เจ้าหน้าที่และชุมชนดียงิ่ ขึ้น
20
การตัดสิ นใจที่ไม่ มีประสิ ทธิภาพ
6. ไม่ กล้ าตัดสิ นใจ
21
“ถ้ าให้ ข้าพเจ้ าไม่ ได้ ทาอะไรผิด
นั่นเป็ นเพราะข้ าพเจ้ า
ไม่ ได้
ตัดสิ นใจทาอะไร”
เจเนอรัล จอห์ นสัน
ผู้ก่อตั้งบริษทั จอห์ นสัน แอนด์ จอห์ นสัน
22
สรุป: การตัดสิ นใจทีไ่ ม่ มีประสิ ทธิภาพ
1.ไม่ มขี ้ อมูลเพียงพอ
2.ผลประโยชน์
3.อิทธิพล
4.ความเคยชิน
5.ค่ านิยม
6.ไม่ กล้ าตัดสิ นใจ
23
ปั จจัยที่สง่ ผลต่อการตัดสินใจ
ความเสี่ยงในการตัดสินใจ
ความสาคัญของระยะเวลา
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
24
การมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็ นทีม: กระบวนการในการแก้ไขปั ญหาและ
ประเด็นต่างๆ โดยมอบหมายกลุม่ คนหลายคนที่มีพ้ นฐาน
ื
แตกต่างกันรวมกันเป็ นกลุม่
25
- โปร่ งใส
- ช่ วยกันคิด
- ร่ วมรับผิดชอบ
- ประชาธิปไตย
26
เทคนิคทีช่ ่ วยในการตัดสิ นใจ
- ระดมสมอง
- แผนที่ความคิด
- การคิดทางขวาง
- หมวก 6 ใบ
- Decision Trees
27
28
29
30
ขั้นตอนในการตัดสิ นใจที่สาคัญ
1.กาหนดเป้ าหมาย
2.รวบรวมข้ อมูล
3.ระบุทางเลือก
4.ประเมินทางเลือกโดยดูถงึ ผลทีต่ ามมา
5.เลือกทางเลือกทีด่ ที สี่ ุ ด
6. ดาเนินการ
7.ประเมินผลการตัดสิ นใจ
31