1_Introduction_Sheet_metal_Tech

Download Report

Transcript 1_Introduction_Sheet_metal_Tech

1. การใช้ งานโลหะแผ่ นและการประยุกต์ นาโลหะแผ่ นไป
ใช้ ประโยชน์
อ.ธรรม์ณชาติ วันแต่ง
วิชา เทคโนโลยีโลหะแผ่น
Production Technology PCRU
โลหะ
โลหะจาพวกเหล็ก
โลหะนอกจาพวกเหล็ก
เหล็กดิบ
เหล็กหล่อ
เหล็กกล้า
โลหะหนัก
โลหะเบา
โลหะผสม
ทองแดง
อะลูมิเนียม
ทองเหลือง
เงิน
แมกนีเซียม
บรอนซ์
ตะกัว่
เบริลเลียม
โลหะซินเตอร์
ดีบุก
อืน่ ๆ
อืน่ ๆ
อืน่ ๆ
ผ่ านกรรมวิธีรีดร้ อน
ผ่ านกรรมวิธีรีดเย็น
• Bloom
เป็ นการขึน้ รูปครัง้ แรกจาก ingot
(cross sectional area > 230 cm2). 15 15cm
• Billet ผ่านกรรมวิธีรีดร้อนลดขนาด
(cross sectional area > 40 mm2).
• Slab ผ่านกรรมวิธีรีดร้อนลดขนาด ingot
(cross sectional area > 100 cm2 and with a
width ≥ 2 x thickness).
• Plate
thickness > 6 mm.
• Sheet
thickness < 6 mm
and width > 600 mm.
• Strip
thickness < 6 mm
and width < 600 mm.
1. เหล็กแผ่ นรีดร้ อนสาหรับใช้ งานทั่วไป (เหล็กแผ่ นดา)
2. เหล็กแผ่ นรีดร้ อนสาหรับงานโครงสร้ าง
3. เหล็กแผ่ นขาว Cold Rolled Steel Sheet
4. เหล็กแผ่ นลาย Checkered Plates
5. สั งกะสี แผ่ นเรียบ Galvanized Steel Sheets
6. เหล็กชุบซิ้งค์ Electro Galvanized Steel
7. สแตนเลสแผ่ น
เบอร์ 304
เบอร์ 304L
ออสเตนิติก
เบอร์ 316
เบอร์ 316L
เบอร์ 430
เฟอร์ ริติก
8. แผ่ นเหล็กอาบสั งกะสี
9. แผ่ นหลังคาเหล็กเคลือบสี ฉีดพียูโฟม
10. ทองแดงแผ่น
11. ทองเหลืองแผ่น
12. อลูมิเนี ยมแผ่น และอื่นๆ
การตรวจวัดความหนาของโลหะแผ่ น
เทคโนโลยีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่ที่นิยมใช้กนั
ในปัจจุบนั มีอยู่ 4 ประเภท คือ
1. พลาสมา (Plasma)
2. เลเซอร์ (Laser)
3. แรงดันน้า (Water jet)
4. เครื่องเจาะระบบหัวตอก (Turret Punching)
1. พลาสม่า (Plasma)
พลาสม่ าเป็ นสถานะที่ 4 ของสสาร เกิดจากการกระตุ้นอิเล็กตรอนให้
หลุดจากอะตอมของสสาร ทาให้ เกิดพลังงานสู งมาก จนกลายเป็ น
พลังงานความร้ อนที่นามาใช้ ในการตัดโลหะ
ข้ อดี
สามารถตัดงานได้ หนามาก สามารถตัดสเตนเลสได้ หนาถึง 3” และ
ด้ วยความเร็วสู งกว่ าวิธีอนื่ ๆ
จุดด้ อย
ร่ องตัดมีขนาดค่ อนข้ างใหญ่ และเอียง(เตเปอร์ ) จะเหมาะกับงานหนา
ทีม่ ีรูปร่ างไม่ ซับซ้ อน
วัสดุ
ความหนา
สเตนเลส
เหล็ก
3-50mm
3-30mm
2. เลเซอร์ (Laser)
เลเซอร์ เป็ นการตัดโดยใช้ พลังงานความร้ อนเหมือนกับการตัดด้ วยพ
ลาสม่ า แต่ กระบวนการผลิตพลังงานที่นามาใช้ ตัดต่ างกัน ทาให้ เปลวที่ใช้
ในการตัด เล็กและแคบกว่ าพลาสม่ ามาก
ข้ อดี
เหมาะกับงานบางทีต่ ้ องการความละเอียดสู ง โดยมีความคลาดเคลือ่ น
เพียง +/-0.15mm
ร่ องตัดมีขนาดเล็ก, สั นแนวตัดตรง
ข้ อเสี ย
ข้ อจากัดเรื่องความหนา จะตัดสเตนเลสได้ ประมาณ 15-19 mm
ค่ าใช้ จ่ายค่ อนข้ างสู งเมื่อเทียบกับวิธีอนื่ ๆ ตั้งแต่ ราคาเครื่องตัดเลเซอร์
รวมไปถึง แก๊ ส หัวนอซเซิล และวัสดุสิ้นเปลืองต่ างๆ
วัสดุ
สเตนเลส
เหล็ก
อลูมเิ นียม
ความหนา
0.4-15mm
0.4-22mm
0.4-8mm
3. แรงดันน้า (waterjet)
สามารถแบ่ งเป็ น 2 ระบบใหญ่ ๆคือ
ระบบทีใ่ ช้ แรงดันนา้ เพียงอย่ างเดียว (Pure water jet)
ระบบทีใ่ ช้ สารกัดกร่ อน (abrasive) ช่ วยในการตัด (Abrasive jet) สาหรับงาน
โลหะ ใช้ แรงดันนา้ ทีส่ ู งมากเป็ นส่ วนสาคัญในกระบวนการตัด
ข้ อดี
• กระบวนการทั้งหมดไม่ มีความร้ อนเข้ ามาเกีย่ วข้ อง
• เหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียดปานกลางตัดงานได้ หนา และ มีความเอียง
ของร่ องตัดน้ อย
• ตัดวัสดุได้ หลายประเภท ตั้งแต่ เหล็ก สเตนเลส อลูมิเนียม ทองเหลือง ทองแดง
พลาสติก ไม้ ยาง หิน เซรามิค แก้ว โดยไม่ ทาให้ วสั ดุหลอมเหลว หรือสู ญเสี ย
คุณสมบัติทางกายภาพไป
• ค่ าใช้ จ่ายโดยรวมจะน้ อยกว่ าการตัดเลเซอร์
ข้ อด้ อย
ตัดงานได้ ค่อนข้ างช้ า และร่ องตัดยังมีขนาดใหญ่ กว่ าการตัดด้ วยเลเซอร์
4. เครื่องเจาะระบบหัวตอก (Punching)
punching เป็ นการใช้ หัวตอกเจาะลงไปบนแผ่ นโลหะ (ต่ างจากการตัดทั้งสาม
วิธีที่กล่าวมาข้ างต้ น) ให้ เกิดเป็ นรูหรือแนวตัดตามลักษณะรูปร่ างของหัวตอก
ด้ วยวิธีนีท้ าให้ เครื่อง punching ต้ องมีหัวตอกหลายประเภท หลายขนาด เพือ่
รองรับแบบงานตัดได้ หลากหลาย
ข้ อดี
•สามารถปั๊มเจาะได้ ด้วยความเร็วสู ง แม่ นยา กับแบบงานทีม่ ีหัวแม่ พมิ พ์รองรับ
•วิธีนีจ้ ึงเหมาะกับงานบางผลิตเป็ นจานวนมากในลักษณะ mass production
ข้ อเสี ย
•ไม่ สามารถใช้ กบั งานหนาได้ สเตนเลส ประมาณ 3-4 mm
•แนวตัดที่เป็ นเส้ นโค้ งจะต้ องใช้ หัวแม่ พมิ พ์ตอกต่ อๆกันทาให้ ได้ แนวตัดที่ไม่
สวยเหมือนการตัดด้ วยวิธีอนื่
•การเสี ยเวลาในการจัดเตรียมหัวแม่ พมิ พ์ด้วย, แบบทีม่ ีรูเยอะ
จบบท