ถอดรหัสสู่ความอยู่ดีมีสุข ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

Download Report

Transcript ถอดรหัสสู่ความอยู่ดีมีสุข ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

วิสัยทัศน์ ประเทศไทย ปี 2570
“คนไทยภาคภูมใิ จในความเป็ นไทย มีมติ รไมตรีบนวิถี
ชีวติ แห่ งความพอเพียง ยึดมัน่ ในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และ
หลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพืน้ ฐานทีท่ ั่วถึง มี
คุณภาพ สั งคมมีความปลอดภัยและมัน่ คง อยู่ในสภาวะแวดล้ อม
ทีด่ ี เกือ้ กูลและเอือ้ อาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็ นมิตร
กับสิ่ งแวดล้ อม มีความมัน่ คงด้ านอาหารและพลังงาน อยู่บน
ฐานทางเศรษฐกิจทีพ่ งึ่ ตนเองและแข่ งขันได้ ในเวทีโลก สามารถ
อยู่ในประชาคมภูมภิ าคและโลกได้ อย่ างมีศักดิ์ศรี”
พันธกิจของประเทศ
๑.การพัฒนาต้ องอยู่บนพืน้ ฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒.ปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจประเทศไทยให้ พงึ่ ตนเองและแข่ งขันได้ ใน
ตลาดโลก
๓.ปรับโครงสร้ างทางสั งคมให้ มคี วามเอือ้ อาทรและพึง่ พาตนเองได้
สามารถดารงอยู่อย่ างมั่นคงภายใต้ บริบทการเปลีย่ นแปลง
๔.ร่ วมมือกันจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ให้ เกิดความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนต้ องดาเนินชีวติ ด้ วย
จิตสานึกในคุณค่ าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
๕.เสริมสร้ างวัฒนธรรมประชาธิปไตยควบคู่กบั การบริหารจัดการที่ดีเพือ่
สร้ างสั นติสุขและความเป็ นธรรมในสั งคมไทย
สถานการณ์
คนและสังคม
การพัฒนาศักยภาพคน
สภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต่อการพัฒนา
การบริหารจัดการ
ประเด็นท้าทาย
การเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากร
การเคลื่อนย้ายคน
อย่างเสรี
การพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีกบั ผลกระทบ
ต่อสังคมไทย
Pyramid of Thai Population
2513
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
Baby Boom
The working age population
2513
has to support for a
comparative large population
of children.
2552
2570
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
75+
70-74
65-69
60-64
55-59
50-54
45-49
40-44
35-39
30-34
25-29
20-24
15-19
10-14
5-9
0-4
Aging Population
Demographic Dividend
The working age population dominates
the pyramid, so there is possibility that
they will be well able to support the old
and the young.
Child
Working
Age
2552
Old
The working age population
needs to support a large
population of older people.
2570
Implication is Manpower Structure is changing due to demographic change
“แนวทางการสร้ างความสมดลุ ของเศรษฐกิจไทย”
ในบริ บทเสริ มสร้ างชุมชนเข้ มแข็งทัว่ ประเทศตามปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนระดับประเทศ
การขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ
พอเพียง
สู่สถานศึกษา
การสร้าง
ความเข้าใจ
ว่าธุรกิจกับ
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นเรื่องเดียวกัน
คุณธรรมนา
ความพอเพียง
การขับเคลื่อนระดับชุมชน
เป้ าหมาย ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
การจัดการความรู ้
ข้อมูล องค์ความรู ้
เป็ นสิ่งสาคัญ
การขยายผล
การประชาสัมพันธ์
การเสริมสร้าง
ผูน้ าแห่งความ
พอเพียง
การเสริมสร้าง
องค์กรการเงิน
ชุมชน
ที่เข้มแข็ง
กุญแจสำคัญ ๕ ประกำร
ถอดรหัส สู.่ ..ควำมอยู่ดีมีสขุ ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
กุญแจดอกแรก
มีสมั มาชีพ
ประหยัด รู้จกั ออม ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุนเกินขนาด
ทาบัญชีครัวเรือน / บัญชีรายรับ รายจ่าย
ภาครัฐและบริษทั มี CSR ร่วมเสริมสร้างสัมมาชีพ
กุญแจสำคัญ ๕ ประกำร
ถอดรหัส สู.่ ..ควำมอยู่ดีมีสขุ ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
กุญแจดอกที่สอง
ร่วมมือร่วมใจ จัดทา
และดาเนินการแผนชุมชน
“ระเบิดจากข้างใน” โดยชุมชน ของชุมชน และเพื่อชุมชน
อบต. ร่วมมือร่วมใจกับชุมชน ภาครัฐ และทุกภาคส่วนสังคม
จัดระบบบริหารจัดการที่สอดคล้องกับความต้องการชุมชน
กุญแจสำคัญ ๕ ประกำร
ถอดรหัส สู.่ ..ควำมอยู่ดีมีสขุ ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
กุญแจดอกที่สาม
เสริมสร้าง
องค์กรการเงินชุมชนให้เข้มแข็ง
เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ ยน
กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ ธนาคารหมู่บา้ น กลุ่มออมทรัพย์ ฯลฯ
ชุมชนระเบิดจากข้างใน ร่วมมือร่วมใจกัน
คิด ทา บริหารจัดการ นาสู่การพึ่งตนเองได้
 ช่วยเหลือกันและกัน เกิดความสามัคคี มีสวัสดิการชุมชน
กุญแจสำคัญ ๕ ประกำร
ถอดรหัส สู.่ ..ควำมอยู่ดีมีสขุ ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
กุญแจดอกที่สี่
เป็ นกัลยาณมิตร เรียนรู้ ถ่ายทอด
ต้นแบบความพอเพียงระหว่างกัน
สร้างเครือข่ายกัลยาณมิตรเศรษฐกิจพอเพียง
รวมกลุ่มร่วมมือและจัดเวทีการเรียนรู้ระหว่างกัน
ตัง้ ศูนย์เรียนรู้และเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ระหว่างกัน
ผ่านสื่อต่างๆ เช่น เว็บไซด์ วิทยุชมุ ชน ฯลฯ
กุญแจสำคัญ ๕ ประกำร
ถอดรหัส สู.่ ..ควำมอยู่ดีมีสขุ ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน
กุญแจดอกที่ห้า
ใช้กญ
ุ แจทัง้ สี่ดอก ด้วยความพอเพียง
กระบวนการตรวจสอบ
๓ องค์ประกอบแห่งความพอเพียง ( Three Step Test)
ความมันใจใน
่
๒ เงื่อนไข (Two Confidence Test)
กุญแจดอกที่ห้า
กระบวนการตรวจสอบความพอเพียงที่ใช้ไขกุญแจทัง้ สี่ดอก
สอดคล้องกับหลัก สัปปุริสธรรม ๗
ความมีเหตุมีผล
๑. รูเ้ หตุ
๒. รูผ้ ล
ความพอประมาณ
๓. รูต้ น
๔. รูป้ ระมาณ
๕. รูก้ าล
มีภมู ิ ค้มุ กันที่ดี
๖. รูบ้ ุคคล
๗. รูช้ ุมชน
ความรู้
คุณธรรม
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๑. ธัมมัญญุตา = รู ้จกั เหตุ
ความรู ้จกั ธรรม หรื อ รู ้จกั เหตุ คือ รู ้หลักความจริ ง รู ้ หลักการ รู ้
หลักเกณฑ์ รู ้กฎแห่งธรรมดา รู ้กฎเกณฑ์แห่งเหตุผล รู ้จกั วิเคราะห์
สาเหตุของสถานการณ์และรู ้หลักการที่จะทาให้เกิดผล รู ้วา่ จะต้อง
กระทาเหตุอนั นี้ หรื อกระทาตามหลักการข้อนี้ จึงจะให้เกิดผลที่
ต้องการอันนั้น เป็ นต้น
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๒. อัตถัญญุตา = รู ้จกั ผล
ความรู ้จกั อรรถ รู ้ความมุ่งหมาย หรื อ รู ้จกั ผล คือ รู ้ความหมาย รู ้ความมุ่ง
หมาย รู ้ประโยชน์ที่ประสงค์ รู ้จกั ผลที่จะเกิดขึ้นสื บเนื่องจากการกระทา
หรื อความเป็ นไปตามหลัก เช่น รู ้วา่ หลักธรรมหรื อภาษิตข้อนั้นๆ มี
ความหมายว่าอย่างไร หลักนั้นๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร กาหนดไว้หรื อ
พึงปฏิบตั ิเพื่อประสงค์ประโยชน์อะไร การที่ตนกระทาอยูม่ ีความมุ่ง
หมายอย่างไร เมื่อทาไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างดังนี้เป็ นต้น
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๓. อัตตัญญุตา = รู ้จกั ตน
ความรู ้จกั ตน คือ รู ้วา่ ตัว เรานั้น ว่ามีสถานภาพเป็ นอะไร ฐานะ ภาวะ
เพศ กาลัง ความรู ้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เป็ นต้น ว่า
ขณะนี้ เท่าไร อย่างไร แล้วประพฤติให้เหมาะสม และรู ้ที่จะแก้ไข
ปรับปรุ งต่อไป
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๔. มัตตัญญุตา = รู ้จกั ประมาณ
ความรู ้จกั ประมาณ คือ ความพอดี เช่น รู ้จกั ประมาณในการบริ โภคปัจจัย
สี่ รู ้จกั ประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ รู ้จกั ประมาณ กาลังของตนเอง
ในการทางาน เป็ นต้น
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๕. กาลัญญุตา = รู ้จกั กาล
ความรู ้จกั กาล คือ รู ้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะต้องใช้ใน
การประกอบกิจ กระทาหน้าที่การงาน เช่น ให้ตรงเวลา ให้เป็ นเวลา ให้
ทันเวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา เป็ นต้น
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๖. ปริสัญญุตา = รู ้จกั ชุมชน
ความรู ้จกั บริ บท คือ รู ้จกั กลุ่มบุคคล รู ้จกั หมู่คณะ รู ้จกั ชุมชน และรู ้จกั ที่
ประชุม รู ้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหา
ต้องทากิริยาหรื อปฏิบตั ิแบบนี้ จะต้องพูดอย่างไร ชุมชนนี้ควร
สงเคราะห์อย่างไร เป็ นต้น
สั ปปุริสธรรม ๗
ธรรมของคนดี ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทาให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี
๗. ปุคคลปโรปรัญญุตา = รู ้จกั บุคคล
รู ้จกั ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า มีอธั ยาศัย มีความสามารถ มีคุณธรรม
หยิง่ หรื อหย่อนอย่างไร และรู ้ที่จะปฏิบตั ิต่อบุคคลนั้นๆ ด้วยดี ว่าควรจะ
คบหรื อไม่ จะใช้ จะตาหนิ หรื อยกย่อง และแนะนาสัง่ สอนอย่างไร เป็ น
ต้น
“…ขอให้มีสขุ ภำพที่แข็งแรง
เพื่อสำมำรถทำประโยชน์ให้กบั ผูอ้ น่ื ได้
ขอให้มีควำมสุขในกำรทำงำน
และขอให้ได้รบั ควำมสุขจำกผลสำเร็จของงำนนั้น...”
พระรำชดำรัสพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั