Presentation Click here 104 การปรับโครงสร้างหนี้

Download Report

Transcript Presentation Click here 104 การปรับโครงสร้างหนี้

1
การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา
TAS 104
ปรับปรุง 2545
อาจารย์ภัทรี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การปรับปรุงในปี 2545
2

เจ้าหนี้อาจจะวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รบั คืนของหนี้ที่มี
การปรับโครงสร้างโดย
1. มูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รบั ใน
อนาคตคิดลดด้วยอัตราต้นทุนทางการเงินของเจ้าหนี้
2. มูลค่ายุติธรรมของหนี้
3. มูลค่ายุติธรรมของหลักประกันหากการชาระหนี้ ของหนี้
ที่ปรับโครงสร้างขึ้ นอยูก่ บั หลักประกันเป็ นสาคัญ
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การปรับโครงสร้างหนี้
3
เกิดจาก
การยินยอมของเจ้าหนี้ที่จะผ่อนปรนเงื่อนไข
การชาระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ไม่วา่ จะเป็ นผล
มาจากคาสัง่ ศาล หรื อข้อตกลงระหว่างกัน
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การปรับโครงสร้างหนี้
4
มี 3 วิธี
1
การโอนสิ นทรัพย์เพื่อชาระหนี้ท้ งั หมด
2
การโอนส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของ
เพื่อชาระหนี้ท้ งั หมด (การแปลงหนี้เป็ นทุน)
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
3
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
1. การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
5
ด้านลูกหนี้ มี 2 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 เปรียบเทียบราคาตามบัญชี กับ ราคา
ยุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอน
กาไรขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ เป็ นรายการปกติ
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
1. การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทัง้ หมด
6
ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบราคายุติธรรมของสินทรัพย์ที่
โอนกับราคาตามบัญชีของหนี้
ราคาตามบัญชีของหนี้ รวมถึง ดอกเบี้ ยค้างจ่าย ส่วนเกิน/
ส่วนลด ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และค่าใช้จา่ ยในการออกตราสาร
ราคาตามบัญชีของหนี้ > มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
= กาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
รายการพิเศษ
(ถ้ามีนัยสาคัญ)
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
มูลค่า
กาไรจากการโอน
สิ นทรัพย์
BV
7
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
กาไรจากการปรับโครงสร้ างหนี้
FV
สิ นทรัพย์
ราคาตามบัญชีของหนี้
1.การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
8
ด้านเจ้าหนี้
1. บันทึกสินทรัพย์ที่รบั โอนด้วยมูลค่ายุติธรรม
 ถ้ามีวต
ั ถุประสงค์ที่จะขาย ต้องหักด้วยประมาณ
การค่าใช้จา่ ยในการขาย
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
1. การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
9
2. เปรียบเทียบเงินลงทุนในลูกหนี้ (สุทธิจากค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสูญ) กับ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
 เงินลงทุนในลูกหนี้ > มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
= ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ (รายการปกติ)
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
มูลค่า
ขาดทุนจากการปรับโครงสร้ างหนี้
FV
10
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
สิ นทรัพย์
เงินลงทุนในลูกหนี้
2. การโอนส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของเพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
11
ด้านลูกหนี้


บันทึกส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของด้วยมูลค่ายุติธรรม
เปรียบเทียบมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย กับ ราคาตาม
บัญชีของหนี้
ราคาตามบัญชีของหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
> มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย
= กาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
2.การโอนส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของเพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
12
ด้านเจ้าหนี้
บันทึกส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของของลูกหนี้ ที่ โอนมาด้ว
มูลค่ายุติธรรม
เปรียบเทียบ เงินลงทุนในลูกหนี้ (สุทธิจากค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสูญ) กับ มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย
เงินลงทุนในลูกหนี้ > มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย
= ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
13
วิธีการ

ลดดอกเบี้ย
 ขยายเวลาชาระหนี้
 ลดยอดเงินต้น
 ลดดอกเบี้ยค้างชาระ
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
14
ด้านลูกหนี้

เปรียบเทียบราคาตามบัญชีของหนี้ กับ จานวนเงินที่ตอ้ งจ่าย
ในอนาคตตามเงื่อนไขใหม่
 จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายรวมถึง เงินต้น ดอกเบี้ ย ดอกเบี้ ยค้างจ่าย
โดยไม่คิดลด
 ราคาตามบัญชีของหนี้ จะไม่เปลี่ยนแปลง
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่า
 ราคาตามบัญชีของหนี้ จะเปลี่ยนแปลง
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ > จานวนเงินที่ตอ้ งจ่าย
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
15
ด้านลูกหนี้ (ต่อ)
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
 ลูกหนี้ จ่ายเงินมากกว่าเดิม แสดงว่าดอกเบี้ ยจ่ายเพิ่มขึ้ น
 บันทึกดอกเบี้ ยจ่ายโดย ใช้อต
ั ราดอกเบี้ยที่แท้จริง
 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง คือ อัตราส่วนลดที่ทาให้มล
ู ค่าปั จจุบนั
ของจานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตตามเงื่อนไขใหม่มีราคา
เท่ากับราคาตามบัญชีของหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
16
ตัวอย่าง 1

เจ้าหนี้ ยินยอมให้มีการปรับโครงสร้างหนี้ 100 บาท แก่
ลูกหนี้ ดังนี้
 ลดเงินต้น จาก 100
บาท เหลือ 95 บาท
 ยกดอกเบี้ ยค้างจ่าย 5 บาท ให้
 ยืดระยะเวลาชาระหนี้ ออกไปอีก 2 ปี
 ลดอัตราดอกเบี้ ยจาก 10% เป็ น 8%
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
17
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
เงินต้น
ดอกเบี้ ย (95 x 8% x 2 ปี )
95.00
15.20
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
110.20
ราคาตามบัญชีของหนี้ (100 + 5) 105.00
ดอกเบี้ ยที่ตอ้ งจ่ายเพิ่ม
5.20
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
18
การหาอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต (เงินต้น 95 บาท,
ดอกเบี้ ย 7.60 บาท 95 x 8%)
ราคาตามบัญชีของหนี้ 105 บาท(เงินต้น 100 บาท+
ดอกเบี้ ยค้างจ่าย 5 บาท)
Effective rate = 2.5403%
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
อัตราดอกเบีย้ ที่แท้ จริง (2.5403%) คานวณโดยหา IRR
(อัตราส่ วนลดทีท่ าให้ มูลค่ าปัจจุบันของจานวนเงินที่ต้องจ่ าย
ในอนาคตตามเงื่อนไขใหม่ = ราคาตามบัญชีของหนี)้
19
หมายความว่ า :
PV ของจานวนเงินทีต่ ้ องจ่ ายในอนาคต ต้ องเท่ ากับ 105.00
คานวณหา IRR (โดยใช้ Trial & Error method)
2% : (0.9612 x 95) + (1.9416 x 7.6) = 106.07016
3% : (0.9426 x 95) + (1.9135 x 7.6) = 104.0896
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
อัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้ จริงโดยประมาณ :
20
วิธีการคานวณ
106.07016 - 104.0896 = 1.98056 ต่างกัน 1% (3%-2%)
106.07016 - 105
= 1.07016 ต่างกัน ?
= 1% x 1.07016. = 0.5403
1.98056
= 2% + 0.5403 % = 2.5403%
Effective rate = 2.5403%
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ < จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
21
การคานวณดอกเบี้ย
วันที่
จ่ายดอกเบี้ย
ต้นปี
สิ้นปี 1
7.60
สิ้นปี 2
7.60
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
จานวนที่นามา ราคาตามบัญชี
ลดราคาตาม
ของหนี้
ดอกเบี้ยแท้จริง
บัญชีของหนี้
105.00
100.06
2.66
4.94
(105 x 2.5403%) (7.60 - 2.66 ) (105 – 4.94)
95.00
2.54
5.06
(100.06 x 2.5403%) (7.60 - 2.54 ) (100.06 – 5.06)
การบันทึกบัญชีดา้ นลูกหนี้
22
ต้นปี เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
เจ้าหนี้
100
ดอกเบี้ ยค้างจ่าย
5
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
105
สิ้นปี 1 จ่ายดอกเบี้ย
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
4.94
ดอกเบี้ ยจ่าย
2.66
เงินสด
7.60
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การบันทึกบัญชีดา้ นลูกหนี้
23
สิ้นปี 2 จ่ายดอกเบี้ย
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
ดอกเบี้ ยจ่าย
เงินสด
จ่ายเงินต้นเมื่อครบกาหนดตามเงื่อนไข
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
เงินสด
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
5.06
2.54
7.60
95
95
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
24
ด้านลูกหนี้ (ต่อ)
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ > จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
 ปรับราคาตามบัญชีของหนี้ ให้เท่ากับจานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
 บันทึกส่วนของหนี้ ที่ลดลงเป็ นกาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
 จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในแต่ละงวดตามเงื่อนไขใหม่ จะนาไปปรับลด
ราคาตามบัญชีของหนี้ โดยไม่บนั ทึกดอกเบี้ยจ่าย
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
ถ้าราคาตามบัญชีของหนี้ > จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
25
ตัวอย่าง 2
เจ้าหนี้ ยินยอมให้มีการปรับโครงสร้างหนี้ 100 บาท แก่ลกู หนี้
ดังนี้
 ลดเงินต้น จาก 100 บาท เหลือ 60 บาท
 ยกดอกเบี้ ยค้างจ่าย 5 บาท ให้
 ยืดระยะเวลาชาระหนี้ ออกไปอีก 2 ปี
 ลดอัตราดอกเบี้ ยจาก 10% เป็ น 8%
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การคานวณกาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
26
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
เงินต้น
ดอกเบี้ ย (60 x 8% x 2 ปี )
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
ราคาตามบัญชีของหนี้ (100 + 5)
กาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
60.00
9.60
69.60
105.00
35.40
การบันทึกบัญชี
27
ต้นปี เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
เจ้าหนี้
100
ดอกเบี้ ยค้างจ่าย
5
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
กาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
สิ้นปี 1 จ่ายดอกเบี้ย
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
4.80
เงินสด (60 x 8%)
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
69.60
35.40
4.80
การบันทึกบัญชี
28
สิ้นปี 2 จ่ายดอกเบี้ย
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
เงินสด
จ่ายเงินต้นเมื่อครบกาหนดตามเงื่อนไข
เจ้าหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
เงินสด
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
4.80
4.80
60
60
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
29
ด้านเจ้าหนี้
วัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รบั คืนของหนี้โดยใช้
 มูลค่าปั จจุบน
ั นของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รบั ในอนาคตคิด
ลดด้วยอัตราต้นทุนทางการเงินของเจ้าหนี้ (ถ้าต ่ากว่าอัตรา
ดอกเบี้ยตามเงื่อนไขใหม่ ให้ใช้อตั ราดอกเบี้ยตามเงื่อนไขใหม่
เพื่อมิให้เป็ นการเลื่อนการรับรูข้ าดทุนบางส่วนในงวดปั จจุบนั และ
ชดเชยด้วยดอกเบี้ยรับที่ลดลงในอนาคต)
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
30
 มูลค่ายุติธรรมของหนี้
มูลค่าปั จจุบน
ั ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รบั ใน
อนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ ยในตลาดที่มีลกั ษณะ
และความเสี่ยงใกล้เคียงกัน
จานวนเงินที่ได้รบ
ั จากการขายหนี้ นั้นในตลาดซื้ อขาย
คล่อง
 มูลค่ายุติธรรมของหลักประกัน
หากการชาระหนี้ ที่ปรับ
โครงสร้างขึ้ นอยูก่ บั หลักประกันเป็ นสาคัญ
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
31
ด้านเจ้าหนี้ (ต่อ)

เปรียบเทียบ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รบั คืน กับ เงินลงทุนในลูกหนี้
 มูลค่าที่คาดว่าจะได้รบ
ั คืน < เงินลงทุนในลูกหนี้
 บันทึก ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
 บันทึกค่าเผื่อการปรับมูลค่า เพื่อทาให้เงินลงทุนในลูกหนี้
เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รบั คืนของหนี้ นั้น
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
จากตัวอย่ าง 1
32
เจ้ าหนีใ้ ช้ อตั ราดอกเบีย้ ในตลาด 10% เป็ นอัตราคิดลด
PVIF เงินต้น
95 i 10% n 2 = 0.826446 x 95 = 78.51237
PVIFA ดอกเบี้ยงวดละ 7.6 i 10% n 2 =1.735537 x 7.6 =13.19008
91.70245
มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสด
91.70
(เงินต้น 95, ดอกเบี้ยรับ 7.60, ระยะเวลา 2 ปี , 10%)
ราคาตามบัญชีของหนี้ (100 + 5)
105.00
ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
13.30
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การคานวณดอกเบี้ย
33
วันที่
ดอกเบี้ยรับ
ดอกเบี้ยแท้จริง
91.70
ต้นปี
สิ้นปี 1
7.60
สิ้นปี 2
(95 x 8%)
7.60
9.17
(91.7 x 10%)
9.33
(93.2 7 x 10%)
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
จานวนที่นามา ราคาตามบัญชี
เพิ่มราคาตาม
ของหนี้
บัญชีของหนี้
วิทยาลัยราชพฤกษ์
1.57
(9.17 – 7.60)
1.73
(9.33 – 7.60)
93.27
(91.70+1.57)
95.00
(93.27+1.73)
การบันทึกบัญชี
34
ต้นปี (เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้)
ลูกหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ 95.00
ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
13.30
ลูกหนี้
100.00
ดอกเบี้ ยค้างรับ
5.00
ค่าเผื่อการปรับมูลค่า (95 – 91.70) 3.30
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การบันทึกบัญชี
35
สิ้นปี 1 รับดอกเบี้ย
เงินสด
ค่าเผื่อการปรับมูลค่า
ดอกเบี้ ยรับ
สิ้นปี 2 รับดอกเบี้ย
เงินสด
ค่าเผื่อการปรับมูลค่า
ดอกเบี้ ยรับ
รับเงินต้นเมื่อครบกาหนดตามเงื่อนไข
เงินสด
ลูกหนี้ ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์ วิทยาลัยราชพฤกษ์
7.60
1.57
9.17
7.60
1.73
9.33
95
95
กรณีที่ไม่ถือเป็ นการปรับโครงสร้างหนี้
36
 การที่เจ้าหนี้ยอมรับชาระหนี้ท้ งั หมดจากลูกหนี้ โดยการรับ
โอน สิ นทรัพย์ หรื อส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของ ซึ่ งมี
มูลค่ ายุตธิ รรม >= เงินลงทุนในลูกหนีท้ บี่ ันทึกในบัญชีของเจ้ าหนี้

การที่เจ้าหนี้ ลดอัตราดอกเบี้ ยที่แท้จริงให้ลกู หนี้ แต่เป็ น
อัตราที่ลกู หนี้สามารถกูเ้ งินจากแหล่งอื่นได้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
Any questions?
37
แบบฝึ กหัด: การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
38
บริษัทดวงดีตกลงรับโอนที่ดินของบริษัทดวงตก เพื่อเป็ นการ
ชาระหนี้ ยอดหนี้ ที่ปรากฏตามบัญชี เงินต้น 80,000 บาท และ
ดอกเบี้ ยคงค้าง 30,000 บาท
 ที่ดินมีราคาตามบัญชี 60,000 บาท และมีมล
ู ค่ายุติธรรม 85,000
บาท
 ณ วันที่โอน บริษัทดวงดี มีการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญไว้
จานวน 15,000 บาท
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
แบบฝึ กหัด : การโอนหุน้ ทุนเพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
39
บริษัทใจดี ตกลงรับโอนหุน้ สามัญจานวน 3,000 หุน้
ของบริษัทใจเสียราคา par หุน้ ละ 10 บาท และมี
ราคาตลาดหุน้ ละ 14 บาท เพื่อเป็ นการชาระหนี้ ตัว๋ เงิน
ยอดหนี้ ที่ปรากฏตามบัญชี เงินต้น 40,000 บาท และ
ดอกเบี้ ยคงค้าง 15,000 บาท ณ วันที่โอน บริษัทใจดีมี
การตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญไว้จานวน 7,000 บาท
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
แบบฝึ กหัด : การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
40
เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 บริษัทรุ่งโรจน์ยนิ ยอมรับโอน
ที่ดินและหุน้ สามัญของบริษัทรุ่งริ่ง เพื่อชาระหนี้ บางส่วนของ
หุน้ กูท้ ี่บริษัทรุ่งริ่งเป็ นผูอ้ อกตามมูลค่าที่ตราไว้ 100,000
บาท ที่ดินมีราคาตามบัญชี 15,000 บาท และมีมลู ค่า
ยุติธรรม 20,000 บาท หุน้ สามัญจานวน 100 หุน้ ราคาตาม
มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท ราคาตลาดหุน้ ละ 12 บาท นอกจากนี้
บริษัทรุ่งโรจน์ ยินยอมให้มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระ
หนี้ ในส่วนที่เหลือ ดังนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
แบบฝึ กหัด : การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
41

ลดหนี้ เงินต้นส่วนที่เหลือเป็ น 60,000 บาท
 ลดอัตราดอกเบี้ ยจาก 15% เป็ น 10%
 ยืดเวลาชาระหนี้ จากวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ น 31
ธันวาคม 2557
 บริษัทรุ่งโรจน์ ไม่มียอดในบัญชีหนี้ สงสัยจะสูญ และ
อัตราดอกเบี้ ยในตลาด 12%
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
เฉลย : การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
42
การบันทึกบัญชีด้านลูกหนี้
Step 1 : ปรั บปรุ งบัญชี ทด
ี่ นิ ให้ เท่ ากับ Fair Value ณ วันที่โอน
Dr. ทีด่ นิ (85,000 - 60,000)
25,000
Cr. กาไรจากการโอนที่ดินเพือ่ ปรับโครงสร้ างหนี้ 25,000
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
เฉลย : การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
43
Step 2 : บันทึกการโอนทีด
่ นิ เพือ่ ชาระหนีท้ ้งั หมด
Dr. เจ้ าหนี้
80,000
ดอกเบีย้ ค้ างจ่ าย
30,000
Cr. ทีด่ นิ (at FMV)
รายการกาไรจากการปรับโครงสร้ างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
85,000
25,000
เฉลย : การโอนสินทรัพย์เพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
44
การบันทึกบัญชีด้านเจ้ าหนี้
บันทึกการรับโอนที่ดิน เพื่อรับชาระหนี้
Dr. ที่ดิน (at FMV)
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
รายการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
Cr. ลูกหนี้
ดอกเบี้ยค้างรับ
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
85,000
15,000
10,000
80,000
30,000
เฉลย : การโอนหุน้ ทุนเพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
45
การบันทึกบัญชีด้านลูกหนี้
บันทึกการโอนหุ้นสามัญเพือ่ ชาระหนีท้ ้งั หมด
Dr. ตั ๋วเงินจ่าย
40,000
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
15,000
Cr. หุน้ สามัญ
30,000
ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ (14 – 10 x 3,000)
12,000
รายการกาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
13,000

อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
เฉลย : การโอนหุน้ ทุนเพื่อชาระหนี้ทั้งหมด
46
การบันทึกบัญชีด้านเจ้ าหนี้
บันทึกการรับโอนหุน้ สามัญ เพื่อรับชาระหนี้
42,000
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
7,000
รายการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ 6,000
Cr. ตั ๋วเงินรับ
40,000
ดอกเบี้ยค้างรับ
15,000
Dr. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - บริษท
ั ใจเสีย
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
เฉลย : การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้
47
การบันทึกบัญชีสาหรับลูกหนี้
รายการตามบัญชีของหนี้คงเหลือที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข
ราคาตามบัญชีของหุน้ กูก้ ่อนการปรับโครงสร้างหนี้
หัก การโอนที่ดิน
20,000
โอนหุน้ สามัญ
1,200
ราคาตามบัญชีของหุน้ กูท้ ี่คงเหลือ
จานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคต
เงินต้น
60,000
ดอกเบี้ย (60,000 x 2 ปี x 10%)
12,000
รายการกาไรจากการปรับโครงสร้างหนี้
100,000
21,200
78,800
72,000
6,800
การบันทึกบัญชี
48
1 : ปรับปรุงบัญชีทดี่ นิ ให้ เท่ ากับ Fair Value ณ วันที่โอน
Dr. ที่ดิน (20,000 – 15,000)
5,000
Cr. กาไรจากการโอนทีด่ ินเพือ่ การปรับโครงสร้ างหนี้
5,000
2 : บันทึกการโอนสิ นทรัพย์ เพือ่ ชาระหนีบ้ างส่ วน
Dr. หุ้นกู้
Cr. ที่ดิน (at FMV)
หุ้นสามัญ
ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้นสามัญ
21,200
20,000
1,000
200
การบันทึกบัญชี
49
3. ปิ ดบัญชีห้ ุนเป็ นเจ้ าหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
Dr. หุ้นกู้
78,800
Cr. เจ้ าหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
72,000
กาไรจากการปรับโครงสร้ างหนี้
6,800
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การบันทึกบัญชี
50
4. บันทึกการจ่ ายดอกเบีย้ ตามเงื่อนไขใหม่
Dr. เจ้ าหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
Cr. เงินสด (60,000x10%)
6,000
6,000
5. บันทึกการจ่ ายชาระหุ้นกู้ ณ วันทีค่ รบกาหนด
Dr. เจ้ าหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
Cr. เงินสด
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
60,000
60,000
การบันทึกบัญชีสาหรับเจ้ าหนี้
51
การคานวณเพือ่ พิจารณาบันทึกบัญชี ณ วันที่ปรับโครงสร้ างหนี้
PV ของกระแสเงินสดตามเงื่อนไขใหม่ (12%, 2 ปี )
เงินต้น (60,000 x 0.797194)
ดอกเบี้ย (6,000 x 1.690051)
รวมมูลค่าปั จจุบนั
ราคาตามบัญชีของหุน้ กูท้ ี่คงเหลือ
เงินต้น
100,000
ชาระหนี้บางส่วน
(21,200)
ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
47,832
10,140
57,972
78,800
20,828
การบันทึกบัญชีสาหรับเจ้ าหนี้
52
1. บันทึกการรับโอนสิ นทรัพย์ และส่ วนได้ เสี ยเพือ่ รับชาระหนีบ้ างส่ วน
Dr.ที่ดนิ
20,000
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - บริษทั รุ่งริ่ง
1,200
ลูกหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
78,800
ขาดทุนจากการปรับโครงสร้ างหนี้
20,828
Cr. เงินลงทุนในหุ้นกู้ – บริษทั รุ่งริ่ง
100,000
ค่ าเผือ่ การปรับมูลค่ า
20,828
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
การบันทึกบัญชีสาหรับเจ้ าหนี้
53
2. บันทึกการรับชาระดอกเบีย้ งวดแรก
Dr. เงินสด
ค่าเผื่อการปรับมูลค่า
Cr. ดอกเบี้ยรับ (57,972 x 12%)
3. บันทึกการรับชาระดอกเบีย้ งวดที่ 2
Dr. เงินสด
ค่ าเผือ่ การปรับมูลค่ า
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
Cr. ดอกเบีย้ รับ (58,929 x 12%)
วิทยาลัยราชพฤกษ์
6,000
957
6,957
6,000
1,071
7,071
การบันทึกบัญชีสาหรับเจ้ าหนี้
54
4. บันทึกการรับชาระเงินต้ นเมื่อครบกาหนด
Dr. เงินสด
ค่ าเผือ่ การปรับมูลค่ า
Cr. ลูกหนีต้ ามสั ญญาปรับโครงสร้ างหนี้
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์
60,000
18,800
78,800
หายสงสัยยัง ?
55
OK เข้าใจดีแล้วววว !
อาจารย์ภทั รี ตั้งจีรวงษ์
วิทยาลัยราชพฤกษ์