กรอบแนวคิดใหม่ในการพัฒนาสินค้าใหม่

Download Report

Transcript กรอบแนวคิดใหม่ในการพัฒนาสินค้าใหม่

กรอบแนวคิดใหม่ ในการพัฒนาสิ นค้ าใหม่
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการจัดการ
กระบวนทัศน์เดิมของการจัดการเทคโนโลยี
• เป็ นกระบวนการโดยแผนกใดแผนกหนึ่งขององค์กร
• การพัฒนาสิ นค้าใหม่มีรูปแบบอย่างง่ายแค่ สร้างและพัฒนา
หลังจากนั้นยอมรับและนาไปปฏิบตั ิ
• เน้นมุมมองจากภายในองค์กร
• เป็ นโครงการที่ไม่ประจาต่อเนื่อง
• คุณภาพราคาสูงเกินไป
• ยอดขายและผลกาไรระยะสั้นเป็ นตัวชี้วดั ความสาเร็ จ
การพัฒนากลยุทธ์สาหรับสิ นค้าใหม่
• เริ่ มจากกาหนดกลยุทธ์เพื่อใช้เป็ นแนวทางพัฒนาสิ นค้า
• กาหนดขอบเขตของกระบวนการพัฒนาสิ นค้าใหม่ ได้แก่
– ระดับของสิ นค้า
– กลุ่มลูกค้า
– กระบวนการและเทคโนโลยี
การสร้างแนวคิด
•
•
•
•
•
ได้มาจากลูกค้า
พนักงานขาย
ฝ่ ายการตลาด
ฝ่ ายวิจยั และพัฒนา
กระบวนการให้ได้มา ได้แก่ การรับฟังข้อเสนอแนะของลูกค้าและ
พนักงานขาย การระดมสมอง เป็ นต้น
การคัดสรรและประเมิน
•
•
•
•
•
•
คัดเลือกแนวคิดต่าง ๆ ที่ได้คิดขึ้นมา
กระบวนการคัดสรร ได้แก่ ความสามารถในการออกแบบ
การสร้าง การผลิต
ความเป็ นไปได้ในการสร้างยอดขาย
ความสอดคล้องกับแนวทางสิ นค้าที่บริ ษทั มีอยู่
ประเภทลูกค้าที่ตอ้ งการ
การวิเคราะห์ดา้ นธุรกิจ
•
•
•
•
•
วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ทางการเงิน
ความสามารถในการขายและสร้างยอดขาย
การวางแผนการตลาด
งบลงทุนและงบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
การประเมินความเป็ นไปได้ในการใช้เทคโนโลยีการผลิต
การวิจยั และพัฒนาสิ นค้า
• ทาให้แนวคิดสิ นค้ามีความเป็ นรู ปธรรมชัดเจน
• อุปกรณ์การผลิตต่าง ๆ ได้รับการสนับสนุนเพื่อใช้ผลิตสิ นค้าต้นแบบ
• การลงทุนด้านอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้รับการขยายเพื่อให้เกิดการผลิตใน
ปริ มาณที่มากขึ้น
การทดสอบตลาด
•
•
•
•
เป็ นการทดสอบกับผูซ้ ้ือจริ ง
นาสิ นค้าออกทดสอบผ่านช่องทางการขายปกติ
ดูวา่ ราคาสิ นค้าควรอยูท่ ี่ระดับใด
หรื อใช้คอมพิวเตอร์ทดสอบความเสมือนจริ งของตลาดเพื่อลด
ขั้นตอนระยะเวลาในการทดสอบจริ ง
การทาเชิงพาณิ ชย์
• ผสมผสานความสามารถในการผลิตกับความสามารถในการทา
การตลาด
• สิ นค้าสามารถถูกนาออกขายสู่ตลาดโดยทัว่ ไป ทั้งภายในและ
ต่างประเทศในเวลาเดียวกัน
ปัญหาของกระบวนทัศน์เดิม
•
•
•
•
•
•
การพัฒนาสิ นค้าใหม่เน้นทาตามลาดับขั้น
ขั้นตอนต่างไม่สามารถทาได้ในเวลาเดียวกัน
ต้องทาขั้นตอนหนึ่งๆให้เสร็ จก่อน ขั้นตอนต่อไปจึงเริ่ มได้
ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างแผนก
เน้นการจัดการแบบผลักดันเทคโนโลยี
ไม่ได้ให้ความสาคัญกับตลาดหรื อกลุ่มเป้ าหมาย
กระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาสิ นค้า
• การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของบริ ษทั
• กระบวนทัศน์เดิมถูกมองว่าไม่เหมาะสม ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
• มีการพัฒนากระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาสิ นค้าจนได้รับการ
ยอมรับและแทนที่กระบวนทัศน์เดิม
ตัวบ่งชี้การเปลี่ยนกระบวนทัศน์
•
•
•
•
•
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร
การพัฒนาสิ นค้าตามกระแสยุคโลกาภิวตั น์
การเร่ งกระบวนการพัฒนาสิ นค้าใหม่
การให้ความใส่ ใจในเรื่ องคุณภาพของสิ นค้า
การสนับสนุนการใช้การสื่ อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร
•
•
•
•
•
โครงสร้างแบบแบนราบ
ทางานได้ผลลัพธ์มากขึ้นด้วยจานวนคนน้อยลง
ผูป้ ฏิบตั ิงานระดับล่างตัดสิ นใจเกี่ยวกับการพัฒนาสิ นค้าใหม่ได้
บริ ษทั เครื อข่ายพัฒนาสิ นค้า
เน้นการสร้างความร่ วมมือระหว่างองค์กรและสร้างส่ วนแบ่ง
ผลประโยชน์
การพัฒนาสิ นค้าตามกระแสโลกาภิวตั น์
•
•
•
•
สิ นค้าใหม่ควรขยายกลุ่มเป้ าหมายไปยังทัว่ ทุกมุมโลก
หาแรงงานราคาถูก
หาทรัพยากรราคาถูก
การพัฒนาสิ นค้าเป็ นกระบวนการที่ถูกจัดกระทาอย่างไร้ขอบเขต
การเร่ งกระบวนการพัฒนาสิ นค้าใหม่
• ลดขั้นตอนของการพัฒนาสิ นค้าเพื่อจะได้นาสิ นค้าออกสู่ ตลาดได้
ก่อนคู่แข่ง
• ทาให้ทราบผลตอบรับของลูกค้าเพื่อนามาปรับปรุ ง
• วงจรชีวิตของสิ นค้าสั้นขึ้น
การให้ความใส่ ใจในคุณภาพสิ นค้า
• ให้ความสาคัญกับคุณภาพ
• เกิดแนวคิด TQM เป็ นการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอนของการ
พัฒนาและผลิตสิ นค้า
• การออกแบบสิ นค้าโดยใช้แนวคิด Quality Function
Deployment คานึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็ นพื้นฐานใน
การผลิต
• กระบวนการติดตาม และตรวจสอบการทางานด้านวิศวกรรมที่
ตอบสนองความต้องการผูบ้ ริ โภค
ตัวอย่างตารางเมตริ กซ์ QFD
การสนับสนุนการใช้การสื่ อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
• ทุกฝ่ ายที่อยูห่ ่างไกลกันสามารถทางานประสานร่ วมกันได้
• ลดข้อจากัดของกระบวนทัศน์เดิมที่การพัฒนาสิ นค้าต้องเป็ นขั้นตอน
• ตัวอย่างเช่น การใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต แลกเปลี่ยนข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ ประชุมทางไกล เป็ นต้น
การพัฒนาสิ นค้าใหม่ตามกระบวนทัศน์ใหม่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ส่ งเสริ มให้เกิดองค์การแห่งการเรี ยนรู ้
เน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ
พัฒนาวัฒนธรรมองค์การของการมองไปข้างหน้า
พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีที่มีความเฉพาะเจาะจง
สร้างความสามารถในการเร่ งพัฒนาสิ นค้า
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนานวัตกรรม
ยอมรับมุมมองของการพัฒนาสิ นค้าใหม่แบบองค์รวม
ส่ งเสริ มให้เกิดองค์การแห่งการเรี ยนรู้
• ปิ ดช่องโหว่ของการเรี ยนรู ้ที่มีขอ้ มูลไม่ถูกต้องหรื อไม่เพียงพอ
• ตั้งสมมติฐานว่าการเรี ยนรู ้ยงั ไม่สิ้นสุ ด ต้องค้นหาปั ญหาและวิธีการ
แก้ไขอย่างต่อเนื่อง
• พัฒนารากฐานของการเรี ยนรู ้ สร้างสภาพแวดล้อมของการเรี ยนรู ้
จากสิ่ งที่ผดิ พลาดเพื่อให้เกิดทักษะของการเรี ยนรู ้สิ่งที่ถูก
เน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ
• สื่ อสารอย่างชัดเจนทั้งองค์กร
• สร้างวิสยั ทัศน์และแสดงให้ทุกคนเห็นความจาเป็ นในการพัฒนา
• ผูน้ าจะต้องให้ความสาคัญของการพัฒนาสิ นค้าอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาวัฒนธรรมองค์การของการมองไปข้างหน้า
1.
2.
3.
4.
Prospectors มองไปข้างหน้า 
Defenders เป็ นผูป้ กป้ อง (สาหรับตลาดมีความมัน่ คง)
Analyzers เป็ นนักวิเคราะห์ (ผสมผสาน ข้อ 1 และ 2)
Reactors เป็ นผูต้ อบโต้ ×
พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีที่มีความเฉพาะเจาะจง
• กาหนดสิ นค้าที่จะให้พฒั นาตลอดจนกระบวนการทางด้าน
เทคโนโลยี กลยุทธ์ทางด้านเทคโนโลยีสินค้า
• กาหนดเส้นทางการตอบสนองความต้องการแก่ผบู ้ ริ โภคผ่านทาง
สิ นค้าที่นาเสนอ
สร้างความสามารถในการเร่ งพัฒนาสิ นค้า
• ตลาดผูบ้ ริ โภคปัจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ ว
• เทคนิคการย่นระยะเวลาการพัฒนาสิ นค้า ได้แก่
–
–
–
–
ลดขั้นตอนกระบวนการพัฒนาสิ นค้าที่ไม่จาเป็ น
ลดขั้นตอนกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาสิ นค้าใหม่
กิจกรรมต่าง ๆ ควรสื่ อสารให้ชดั เจน
การจัดทากระบวนการพัฒนาสิ นค้าที่สามารถทาพร้อมกันได้ในเวลา
เดียวกัน
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนานวัตกรรม
• ระบบต่าง ๆ ที่มีความจาเป็ นต่อการสนับสนุนการเกิดขึ้นของการ
พัฒนาสิ นค้าใหม่ ที่ทาให้เกิดความต่อเนื่อง
• เช่น ระบบบัญชี
• การฝึ กอบรม
• การจัดการทรัพยากรบุคคล
• ฯลฯ
ยอมรับมุมมองของการพัฒนาสิ นค้าใหม่แบบองค์รวม
• ผูจ้ ดั การเทคโนโลยีเห็นความสาคัญของการพัฒนาสิ นค้าหรื อ
นวัตกรรม
• ผสมผสานองค์ประกอบการพัฒนาสิ นค้าได้อย่างลงตัวเหมาะสม
• ทุกฝ่ ายดาเนินงานไปด้วยกันโดยมีตวั เชื่อมคือการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
• การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับตลาดเพื่อพัฒนาสิ นค้าได้อย่าง
ต่อเนื่อง
ลักษณะสาคัญของการพัฒนาสิ นค้าตามกระบวนทัศน์ใหม่
1. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและการรับรู ้ถึงปัญหาและข้อผิดพลาด
ที่เกิดขึ้น
2. วางแผน และยึดมัน่ ก่อนลงมือดาเนินการ
3. เน้นการใช้ทรัพยากรให้คุม้ ค่าสูงสุ ด
4. คิดในฐานะผูบ้ ริ โภค ไม่ใช่ในฐานะผูผ้ ลิต
5. ข้อมูลเป็ นสิ่ งที่มีค่า
6. คิดอย่างมีมุมมองของตลาดโลก
จบการบรรยาย