13 - ayph.in.th

Download Report

Transcript 13 - ayph.in.th

การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
ตามพื้นฐานพัฒนาการทางเพศ
นำเสนอโดย
พญ.วรรณพักตร์ วิวฒ
ั นวงศำ
วัตถุประสงค์การสอนเรือ่ งเพศศึกษา
1. พัฒนาการทางเพศ : ความรู้ความเข้ าใจเรื่องการเจริญเติบโต/พัฒนาการทางเพศ
2.
3.
4.
5.
6.
ตามวัย
สัมพันธภาพ : การสร้ างและรักษาความสัมพันธ์กบั บุคคลในสังคม
ทักษะส่วนบุคคล : ความสามารถในการจัดการสถานการณ์ท่เี กี่ยวข้ องกับเรื่องเพศ
พฤติกรรมทางเพศ : การแสดงออกถึงพฤติกรรมทางเพศหรือบทบาททางเพศที่
เหมาะสม
สุขอนามัยทางเพศ : ความรู้ความเข้ าใจและสามารถดูแลสุขอนามัยเหมาะสมตามวัย
สังคมและวัฒนธรรม : ค่านิยมในเรื่องเพศที่เหมาะสมสอดคล้ องกับสังคมและ
วัฒนธรรมไทย
การแบ่งช่วงชัน้ เรียนในการสอนเพศศึกษาในนักเรียน
ระดับชั้น
 ช่วงชั้นแรก ประถม 1-3
 ช่วงชั้นที่ 2 ประถม 4-6
 ช่วงชั้นที่ 3 มัธยม 1-3
 ช่วงชั้นที่ 4 มัธยม 4-6
หลักการสอนเรือ่ งเพศศึกษา
1. สอนให้ เด็กรับรู้ไปตามพัฒนาการทางเพศและพัฒนาการด้ านจิตใจ
2. ผู้สอน ควรมีความรู้ทางเพศอย่างถูกต้ อง
3. การสอนเรื่องเพศ ควรสอดแทรกไปตามการเรียนรู้ปกติ
4. สอนให้ เหมาะกับความสนใจ ความอยากรู้ และความสามารถทางสติปัญญา
5. สอนก่อนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือปั ญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
6. ผู้สอน มีท่าทีและทัศนคติเป็ นกลาง
7. ควรให้ ความรู้อย่างถูกต้ อง
8. พ่อแม่และครู ช่วยกันสอนให้ สอดคล้ องกัน
เป้ าหมายการสอนเรือ่ งพัฒนาการทางเพศ
“พัฒนาการทางเพศ” เป็ นส่วนหนึ่งของพัฒนาการบุคลิกภาพที่จะเกิดขึ้น
ตั้งแต่เด็ก มีความต่อเนื่องไปจนพัฒนาการเต็มที่ในวัยรุ่น ซึ่งจะ
กลายเป็ นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพที่ติดตัวไปตลอดชีวิต
1. มีความรู้เรื่องเพศและพัฒนาการทางเพศตามวัย
2. มีเอกลักษณ์ทางเพศของตนเอง
3. มีพฤติกรรมการรักษาสุขภาพทางเพศ
4. ทักษะในการสร้ างความสัมพันธ์กบ
ั ผู้ท่จี ะร่วมเป็ นคู่ครอง
5. บทบาทในครอบครัว
6. ทัศนคติทางเพศที่ถูกต้ อง
พัฒนาการทางเพศตามวัย
วัยแรกเกิด-1ปี
 เอกลักษณ์ทางกายแต่กาเนิด
 การกาหนดเพศ ครอบครัวมีการยอมรับและเลี้ยงดูเด็กไปตามเพศนั้น
 พัฒนาการด้ านจิตใจ : การสร้ างสัมพันธภาพ การไว้ วางใจต่อผู้เลี้ยงดู มี
ผลต่อการเกิดสัมพันธภาพกับผู้อ่นื
วัย1-3ปี
 เริ่มเข้ าใจว่าตนเองเป็ นเพศใด เรียนรู้จากท่าทีผ้ ูเลี้ยงดู ตอบสนองตาม
บทบาททางเพศ การแต่งตัว การเล่น เรียกชื่อ
 ช่วงวัย 3 ปี : บอกผู้อ่น
ื ได้ ว่าตนเองเป็ นเพศใด เริ่มมีเอกลักษณ์ทางเพศที่
ชัดเจนขึ้น แยกแยะความแตกต่างของเพศได้
 สารวจอวัยวะเพศตนเอง เล่นอวัยวะเพศตนเองเพื่อความเพลิดเพลิน
 ในวัยนี้ ไม่ควรล้ อเลียนให้ เด็กอายเพศตนเอง หรือเห็นว่าเพศใดดีกว่า
และไม่ควรหลอกหรือขู่เรื่องการตัดอวัยวะเพศ
วัย 3-6ปี
 มีความสนใจเรื่องเพศมาก อยากรู้อยากเห็นสารวจตนเองและผู้อ่ ืนเรื่อง
เพศ
 เลียนแบบพฤติกรรมทางเพศจากผู้เลี้ยงดู
 ช่วงสาคัญของ “การถ่ายทอดแบบอย่างทางเพศ” ที่เหมาะสม ทาให้ เด็กมี
บทบาททางเพศอย่างถูกต้ อง บางครั้งอาจแสดงพฤติกรรมทางเพศตาม
แบบอย่างที่เห็น
 ช่วงนี้ ไม่ควรบ่ายเบี่ยง หรือตอบไม่ตรงความจริงเกี่ยวกับเรื่องเพศ เพราะ
จะทาให้ เด็กสับสน และอยากรู้อยากเห็นต่อ อาจมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
ตามมา
วัย 6-12ปี
 ช่วงนี้เด็กยังไม่มีอารมณ์ทางเพศ หรือความรู้สกึ ทางเพศ
 เรียนรู้บทบาททางเพศ จากการสังเกตและเลียนแบบบุคคลใกล้ ชิดในบ้ าน
หรืองสิ่งแวดล้ อม เช่น เพื่อนบ้ าน โรงเรียน
 วัยนี้ตอนปลาย เด็กบางคนจะเข้ าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าเด็กอื่นๆ การเรียนรู้เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงเข้ าสู่วัยรุ่น จึงควรมีให้ ทนั เช่น การมีประจาเดือน
 เด็กที่มีพฤติกรรมผิดเพศ ควรแก้ ไขตั้งแต่ต้น โดยการให้ เด็กอยู่ในกลุ่ม
เพศเดียวกันเอง ให้ พ่อแม่เพศเดียวกันใกล้ ชิดเด็กมากขึ้น จัดกิจกรรม
เหมาะสม
วัย 12-18 ปี
 เด็กเริ่มเข้ าสู่วัยรุ่น มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจสังคมทางเพศ
อย่างมาก
 พัฒนาการร่างกาย : มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั่วไปและการเปลี่ยนแปลง
ทางเพศ การทางานของฮอร์โมนเพศและการเจริญเติบโตอย่างมาก
 พัฒนาการทางจิตใจ : มีความเป็ นตัวของตัวเองมากขึ้น หุนหันพลันแล่น
วู่วาม ไม่ค่อยระวังรอบคอบ เริ่มมีความรู้สกึ ทางเพศและมีความต้ องการทาง
เพศ
 พัฒนาการทางสังคม : สนใจเพื่อนและสังคมนอกบ้ านมากกว่าคนในบ้ าน
ชอบทากิจกรรมนอกบ้ าน
วัยรุ่นตอนปลำย (15-18 ปี )
 เรียนรู้เรื่องเพศได้ ด้วยตัวเอง แต่ควรมีผ้ ูใหญ่ให้ คาแนะนา
 มีส่อื ในการให้ ข้อมูลที่ถูกต้ อง เช่น หนังสือ/VDO/ Website ที่ให้ ความรู้
อย่างคุณภาพ สามารถให้ วัยรุ่นศึกษาได้ ด้วยตัวเอง
 ควรมีโอกาสพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อสารวจว่าวัยรุ่นเรียนรู้อย่าง
ถูกต้ องหรือเปิ ดโอกาสให้ วัยรุ่นได้ ซักถามในเรื่องเพศเป็ นครั้งคราว
 ในโรงเรียน มีการสอนเรื่องเพศในชั้น หรือเป็ นกลุ่ม ช่วยให้ วัยรุ่นปรับทัศนคติ
ทางเพศได้ ถูกต้ องขึ้น เช่น การให้ เกียรติกนั ทางเพศ การไม่มีเพศสัมพันธ์ใน
วัยรุ่น
เป้ าหมายในการสอนเพศศึกษาตามวัย
ระยะขวบปี แรก
 การให้ ความรู้เรื่องเพศยังไม่มีความจาเป็ น
 ควรให้ การเลี้ยงดูท่สี ่งเสริมความมั่นคงในจิตใจและอารมณ์ ซึ่งเป็ นพื้นฐาน
สาคัญของมนุษยสัมพันธ์ในวัยต่อมา
 ควรให้ การดูแลและช่วยเหลืออย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะ 6 เดือนแรกของชีวิต
 ควรตอบสนองความต้ องการของเด็ก ได้ แก่ เวลาเด็กหิว หรือขับถ่าย
 การสัมผัสเป็ นการสื่อสารที่ดีท่สี ดุ
ระยะเด็ก 1-3 ปี
1. พัฒนาการทางเพศ เริ่มรู้จักเพศตนเอง ควรสอนให้ เด็กรู้เพศตนเอง และ
2.
3.
4.
5.
6.
เพศผู้อ่นื ให้ พอใจ/ภูมิใจในเพศตนเอง
สัมพันธภาพ พ่อแม่ท่อี ารมณ์ม่นั คงแน่นอน ช่วยให้ เด็กเกิดความผูกพัน
มั่นคงในความสัมพันธ์
ทักษะส่วนบุคคล การฝึ กควบคุมการขับถ่าย ให้ เป็ นเวลา และเป็ นที่ทาง
พฤติกรรมทางเพศ ควรกากับให้ เด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศตนเอง
เช่น การเล่น การแต่งกาย การพูด
สุขอนามัยทางเพศ สอนทาความสะอาดอวัยวะเพศตนเอง ไม่ให้ เล่นอวัยวะ
เพศตนเอง
สังคมและวัฒนธรรม เรียนรู้กฎกติกา ฝึ กวินัย และการควบคุมพฤติกรรม
ทางเพศให้ เหมาะสม
ระยะเด็ก 3-6 ปี
1. พัฒนาการทางเพศ เด็กสนใจอวัยวะเพศตนเอง และของผู้อ่น
ื ควรเริ่มต้ น
จากการสอนให้ เด็กรู้จัก การดูแลรักษาอวัยวะเพศตนเอง
2. สัมพันธภาพ พ่อแม่ควรเป็ นแบบอย่างทางเพศที่ดี ใกล้ ชิดกับลูก พ่อควรมี
สัมพันธ์ท่ดี ีกบั ลูกชาย แม่ควรมีสมั พันธ์ท่ดี ีกบั ลูกสาว เมื่อลูกมีพฤติกรรม
เลียนแบบที่ไม่เหมาะสมตามเพศที่เป็ น ควรห้ ามอย่างสงบ และแนะนาการ
เล่นที่เหมาะสมตามเพศ เบี่ยงเบนความสนใจไปด้ านอื่น เด็กสามารถเลียนรู้
บทบาทจากพ่อแม่และคนอื่นใกล้ ตัว เช่น ครู เพื่อน เพื่อนบ้ าน ญาติ
3. ทักษะส่วนบุคคล เริ่มเข้ าใจเหตุผลง่ายๆ เวลาอธิบายเรื่องเพศควรใช้
เหตุผลที่ง่ายๆ ไม่ควรเลี่ยงหรือพูดไม่จริง
4. พฤติกรรมทางเพศ เด็กควรมีพฤติกรรมเหมาะสมตามเพศตน เช่น กิริยา
ท่าทาง การแต่งกาย การเล่น คนใกล้ ชิดไม่ควรส่งเสริมให้ เด็กแสดงออกผิด
เพศ
5. สุขอนามัยทางเพศ ควรสอนให้ เด็กทาความสะอาดอวัยวะเพศได้ ด้วยตนเอง
สอนการใช้ ห้องนา้ แยกหญิงชาย และเริ่มสอนการป้ องกันการถูกล่ วงละเมิด
ทางเพศอย่างเข้ าใจง่าย เช่น การสอนทักษะการปฏิเสธ การไม่ให้ ผ้ ูอ่ืนมาถูก
อวัยวะเพศ แตะต้ องร่างกายพื้นที่ส่วนตัว การขอความช่วยเหลือหากไม่
ปลอดภัย
6. สังคมและวัฒนธรรม ทัศนคติของผู้ใหญ่ต่อเรื่องเพศควรเป็ นกลาง และ
ยอมรับได้ ว่าเป็ นเรื่องปกติท่เี ด็กวัยนี้อยากรู้อยากเห็นเรื่องเพศ เรียนรู้ได้
พูดได้ สอนได้ แต่พฤติกรรมทางเพศต้ องมีการควบคุมให้ เหมาะสม เช่น
การไม่แอบดูร่างกาย/อวัยวะเพศกัน ไม่แตะต้ องอวัยวะเพศ/พื้นที่ส่วนตัว
คนอื่น
หากพบว่ามีการเล่นอวัยวะเพศตนเอง ควรห้ ามด้ วยท่าทีสงบ เตือนไม่ให้
เล่น หาอย่างอื่น เบี่ยงเบนให้ ทาแทน
ระยะเด็ก 6-12 ปี
1. พัฒนาการทางเพศ ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน เด็กดูเหมือนสนใจอยากรู้
2.
3.
4.
5.
6.
อยากเห็นเรื่องเพศน้ อยลง
สัมพันธภาพ เด็กจะจับกลุ่มเล่นแยกเพศ ควรให้ เล่นตามเพศที่เหมาะสม หาก
พบว่ามีการเล่นผิดเพศควรรีบแก้ ไข ช่วงวัยนี้อาจเริ่มมีการล้ อเรื่องการจับคู่
แฟนกัน ควรมีการสอนให้ ชอบพอกันแบบเพื่อน ให้ มีขอบเขตเหมาะสม
ทักษะส่วนบุคคล เข้ าใจเหตุผลที่เป็ นรูปธรรม เข้ าใจจิตใจผู้อ่นื มากขึ้น รู้จัก
รับผิดชอบต่อส่วนรวม การเรียนมักชอบแข่งขัน
พฤติกรรมทางเพศ เรียนรู้จากการสังเกต/จดจาคนรอบข้ าง สอนให้ มี
พฤติกรรมเหมาะสมกับเพศตนเอง ควรสอนเรื่องสถานการณ์เสี่ยงทางเพศ เช่น
การหลอกลวงหรือละเมิดทางเพศ เพื่อให้ เด็กระมัดระวังตนเอง
สุขอนามัยทางเพศ บางคนเริ่มเข้ าสู่วัยรุ่น ควรเริ่มให้ ความรู้เรื่องการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
สังคมและวัฒนธรรม พฤติกรรมทางเพศ ควรสอนให้ เด็กให้ เกียรติกนั ทางเพศ
ไม่ละเมิด ให้ มีพฤติกรรมเหมาะสมตามเพศ เช่น เพศชายแข็งแรงกว่า ต้ องรู้จัก
เอื้อเฟื้ อช่วยเหลือเพศหญิง
สิ่งทีส่ อนวัยรุ่นตอนปลาย
: เพื่อช่วยให้ เขามีชีวิตครอบครัวได้ อย่างมีความสุข ป้ องกันความเสี่ยงต่างๆทางเพศได้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
พัฒนาการทางเพศ : วัยนี้มกี ารเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ สังคมเต็มที่ แสดงความ
พึงพอใจทางเพศ เอกลักษณ์ทางเพศชัดเจน
สัมพันธภาพ : มีความสนใจทางเพศอย่างจริงจัง ต้ องการมีแฟน ควรสอนด้ านการ
เลือกคบแฟน ทักษะการปรับตัวเข้ าหากัน ขอบเขตความสัมพันธ์ท่เี หมาะสม
ทักษะส่วนบุคคล : ทักษะการสื่อสารบอกความต้ องการตนเอง การวางแผนอนาคต
การควบคุมตนเอง ความรับผิดชอบ
พฤติกรรมทางเพศ : สอนวิธปี ฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน การวางแผน
ครอบครัว การคุมกาเนิด
สุขอนามัยทางเพศ : สอนการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในขณะตั้งครรภ์ การมีบุตร การ
เลี้ยงดูบุตร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สังคมและวัฒนธรรม : สอนให้ ยับยั้งใจการมีเพศสัมพันธ์ก่อนสมรส การซื่อสัตย์ต่อ
คู่ครองตนเอง บทบาทที่ดขี องพ่อแม่ การแสดงออกทางเพศ อย่างเหมาะสมตาม
วัฒนธรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับเรื่องเพศ
ปัญหาเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่น
 ลักษณะปั ญหำ
: มีพฤติกรรมทางเพศต่อกัน อย่างไม่เหมาะสม มีเพศสัมพันธ์กนั
สำเหตุปัจจัย
1.
เด็กขาดความรักความอบอุ่นใจจากครอบครัว
2.
เด็กขาดความรู้สกึ มีคุณค่าตนเอง ไม่ประสบความสาเร็จด้ านการเรียน แสวงหาการ
ยอมรับ หาความสุขและความพึงพอใจจากแฟน เพศสัมพันธ์ และกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่างๆ
3.
เด็กขาดความรู้และความเข้ าใจทางเพศ ความตระหนักต่อปัญหาที่ตามมาหลังการมี
เพศสัมพันธ์ การป้ องกันตัวของเด็ก ขาดทักษะในการป้ องกันตนเองเรื่องเพศ ขาดทักษะในการ
จัดการกับอารมณ์ทางเพศ
4.
ความรู้และทัศนคติทางเพศของพ่อแม่ท่ไี ม่เข้ าใจ ปิ ดกั้นการเรียนรู้เรื่องเพศ ทาให้ เด็ก
แสวงหาเองจากเพื่อน
5.
อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน รับรู้ทศั นคติท่ไี ม่ควบคุมเรื่องเพศ เห็นว่าการมีเพศสัมพันธ์เป็ น
เรื่องธรรมดา ไม่เกิดปัญหาหรือความเสี่ยง
6.
มีการกระตุ้นทางเพศ ได้ แก่ ตัวอย่างจากพ่อแม่ ภายในครอบครัว เพื่อน สื่อยั่วยุทาง
เพศต่างๆที่เป็ นแบบอย่างไม่ดีทางเพศ
ปั จจัยเสีย่ งอื่นๆ
 ใช้ เหล้ า สารเสพติด แอลกอฮอล์
 ขาดการเอาใจใส่ของพ่อแม่ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือการไม่มีเวลา ไม่มี
ความรู้ ของพ่อแม่ พ่อแม่ในปัจจุบันยังนิยมชดเชยภาวะขาดความรักให้ ลูกด้ วยเงิน
สิ่งของ เกิดจาก ความห่างเหินกันในครอบครัว พ่อแม่ไม่มีเวลาโอบกอดลูก
ลูกหลานไม่ใกล้ ชิดญาติผ้ ูใหญ่ ต่างคนต่างไปต่างคนต่างอยู่ เกิดความเหงา เมื่อไม่
มีเวลาให้ กนั ไม่ได้ ปรึกษาหารือ แก้ ไขปัญหา ขาดที่พ่ึงทางใจ ขาดความรัก ไม่ร้ จู ัก
รัก รักคนอื่นไม่เป็ น จึงทาตัวโดดเด่นทางไม่ดี เห็นแก่ตัว
 มาจากค่านิยมทางเพศที่เปลี่ยนไป มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น ถูกเร้ ากระตุ้นจากสื่อ เช่น
ภาพยนตร์ ทีวี การ์ตูน มากขึ้น จะทาให้ สถิติของวัยรุ่นตั้งครรภ์กเ็ พิ่มขึ้น
 ไม่ได้ อบรมสั่งสอน ความไม่ร้ ู มีโอกาสที่จะถูกหลอกได้ ง่าย
 การศึกษา ไม่สอดคล้ องกับความเป็ นจริงของชีวิต ไม่สามารถนาไปปฏิบัติได้ จริง
ปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
 ประเด็นสาคัญของปั ญหา : ผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจและสังคม
ของแม่และเด็ก
 แนวโน้ มปัญหาเพิ่มสูงขึ้นในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา
 วัยรุ่นที่คลอดมีอายุน้อยลง
 ช่วงอายุวัยรุ่นที่พบบ่อย 15-17 ปี
สถิตกิ ารตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
 ประเทศไทยมีอตั ราการตั้งครรภ์ของ แม่วัยรุ่นเทียบกับจานวนประชากรที่
ตั้งครรภ์และคลอด สูงถึง 70 : ประชากร 1,000 คน
(ประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี จีน อัตราส่วน 4-5 : ประชากร 1,000คน, ประเทศ
สิงคโปร์ อัตราส่วนประมาณ 8 : ประชากร 1,000, ประเทศกัมพูชา
อัตราส่วนประมาณ 15 : ประชากร 1,000 คน)
**ไทยเราติดอันดับในกลุ่มเดียวกับอินเดีย บังกลาเทศ ซึง่ มีประชากร
มากกว่าเราหลายเท่า **
 การคลอดของวัยรุ่นในปี 2552 มีจานวน 122,736 คน
( 16%ของการคลอดทั้งหมด)
ผลกระทบของการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
 การตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
 การทาแท้ ง
 โรคเอดส์ และ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อ่น
ื ๆ เช่นกามโรค หนองในแท้ และเทียม




แผลริมอ่อน ไวรัสตับอักเสบ บี ฯลฯ
ตั้งครรภ์มีปัญหาครรภ์เป็ นพิษ (ความดันโลหิตสูง การทา งานของไตผิดปกติ มี
อาการชักได้ )
ประมาณ 57% มีภาวะซึม เศร้ าหลังคลอดภายใน 4 ปี
ทางด้ านสังคมแม่วัยรุ่น กลุ่มนี้ จบการศึกษาต่ากว่าศักยภาพ มี ปัญหาเรื่องการเรียน
สภาวะอารมณ์ท่ไี ม่ม่นั คง มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้ า เครียด ที่จะนาไปสู่
ปัญหาอื่นๆ การปกปิ ดไม่ให้ ผ้ ูปกครองรู้
 การคลอดก่อนกาหนด
 การฆ่าตัวตาย
 ขาดอาหาร : วัยรุ่นมักเลือกอาหาร กลัวอ้ วน ดื่มเหล้ า สูบบุหรี่ และใช้ ยาบางอย่าง
ที่อาจมีผลต่อทารกในครรภ์ จึงมีความเสี่ยงที่จะได้ ทารกที่ตัวเล็ก นา้ หนักน้ อย
ส่วน หนึ่งของวัยรุ่นที่ต้งั ครรภ์จะขาดแคลเซียม โปรตีน ทาให้ พบภาวะโลหิตจางมี
มาก
 การติดเชื้อ เช่นการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
 การเจริญเติบโต ของกระดูกเชิงกรานยังไม่สมบูรณ์ ทาให้ คลอดลาบากจะต้ องผ่า
ท้ องคลอดเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า เทียบกับมารดาวัยอื่นๆ
 อัตราตายของเด็กที่คลอดสูง ผิด ปกติแต่กาเนิดหรือเลี้ยงดูเด็กไม่เหมาะสมจน
เกิดปัญหาตามมาได้ ง่าย
การป้ องกันการมีเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่น
1. การป้องกันระดับต้น ก่อนเกิดปัญหา ได้ แก่ ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ การเลี้ยงดูโดย
ครอบครัว สร้ างความรักความอบอุ่นในบ้ าน สร้ างคุณค่าในตัวเอง ให้ ความรู้และ
ทัศนคติทางเพศที่ดี มีแบบอย่างที่ดี
2. การป้องกันระดับที่ 2 หาทางป้ องกันหรือลดการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นที่มีความ
เสี่ยงอยู่แล้ ว โดยการสร้ างความตระหนักในการไม่มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน หรือ
ก่อนการแต่งงาน หาทางเบนความสนใจวัยรุ่นไปสู่กจิ กรรมสร้ างสรรค์ ใช้ พลังทาง
เพศที่มีมากไปในด้ านที่เหมาะสม
3. การป้องกันระดับที่ 3 ในวัยรุ่นที่หยุดการมีเพศสัมพันธ์ไม่ได้ ป้ องกันปัญหาที่
เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ ป้ องกันการตั้งครรภ์ และโรคติดต่อทางเพศ โดยการ
ให้ ความรู้ทางเพศ เบี่ยงเบนความสนใจ หากิจกรรมทดแทน
มาตราการป้ องกันปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
1. จัดให้ มีการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้ าน
 บูรณาการหลักสูตรเพศศึกษารอบด้ าน ทักษะการสื่อสาร
 สร้ างกลไกให้ การเกิดการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้ าน
 กาหนดมาตรฐานโรงเรียนต้ นแบบด้ านการสอน
 พัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนเพศศึกษาอย่างต่อเนื่อง
 สนับสนุนสื่อเกี่ยวกับการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและเพศศึกษา
 พัฒนาศักยภาพครูและขยายเครือข่ายครูสอนเพศศึกษาแบบรอบด้ าน
 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพศศึกษา
 เป็ นตัวชี้วด
ั หนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษาของทุกโรงเรียน
2. รณรงค์และสร้ างค่านิยมเรื่องเพศสัมพันธ์ท่มี ีสขุ ภาวะ
: เพศสัมพันธ์ต้องปลอดภัย ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือการท้ องไม่พร้ อม มีความ
รับผิดชอบและเพศสัมพันธ์ท่เี กิดจากความสมัครใจ
มาตราการพัฒนาระบบบริการ
1. สร้ างความเข้ มแข็งให้ กบ
ั ระบบการปรึกษา

เพื่อพัฒนาสถานบริการสุขภาพที่เป็ นมิตรกับวัยรุ่น ป้ องกันการตั้งครรภ์ซา้
และการยุติต้งั ครรภ์ซา้ เน้ นการสร้ างเสริมกระบวนการให้ คาปรึกษา
ก่อนหลังการเผชิญปัญหา
2. พัฒนาศักยภาพผู้ให้ บริการสุขภาพและอนามัยเจริญพันธ์ท่เี ป็ นมิตรกับวัยรุ่น
และเยาวชน
3. จัดให้ มีศูนย์บริการอนามัยเจริญพันธ์ท่ม
ี ีประสิทธิภาพเข้ าถึงง่ายและเป็ นมิตรกับ
เยาวชน
4. จัดให้ มีศูนย์พักพิงสาหรับวัยรุ่นที่ต้ งั ครรภ์ไม่พร้ อม และมีโอกาสทางการศึกษา
ภายหลังการคลอด
มาตรการด้านข้อมูล การเฝ้ าระวัง และการป้ องกัน
แก้ไขปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
1. การจัดการความรู้จากการปฏิบัติงานป้ องกันและแก้ ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน
2.
3.
4.
5.
6.
วัยรุ่น
การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรเพศศึกษาแบบรอบด้ าน
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์รวมทั้งการยุติการตั้งครรภ์ท่ี
ปลอดภัย
การวิจัยเพื่อประเมินประสิทธิภาพของมาตราการการป้ องกันและแก้ ไขปั ญหา
การตั้งครรภ์
พัฒนาเครือข่ายเฝ้ าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการยุติการตั้งครรภ์ท่ี
ไม่ปลอดภัย
จัดเวทีวิชาการเกี่ยวกับการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การยุติการตั้งครรภ์ท่ี
ไม่ปลอดภัยและเพศศึกษาทุกปี
มาตราการพัฒนาเยาวชน
 เพื่อเพิ่มทักษะชีวิต และการประสานความช่วยเหลือกับผู้ใหญ่
องค์กรต่างๆ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
 เพื่อโอกาสทางการศึกษาและอาชีพของแม่ท่เี ป็ นวัยรุ่น โดยเฉพาะ
การศึกษาต่อเนื่องภายหลังคลอด
ตัวอย่างการให้คาแนะนา
แนวทางการป้ องกันการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
1. ผู้ปกครอง พ่อแม่ ต้ อง ไม่สนับสนุนให้ มีเพศสัมพันธ์ก่อนระยะเวลาอันควร ซึ่งต้ อง
เน้ นให้ ตระหนักในปัญหาที่ตามมาและเรียนรู้จักการ ดูแล และควบคุมตัวเอง
2. ให้ มีการสอนเพศศึกษาอย่างถูกต้ อง ตามวัย ให้ รักษาสิ่งที่มีค่ามากที่สดุ ในผู้หญิง
เพศชายก็ให้ ระวังเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดเชื้ออื่นๆ รวมทั้งภาระ และปั ญหาอื่นๆที่
ต้ องตามมาอาจจะเรียนไม่จบ อบรมสั่งสอนปลูกฝัง ตั้งแต่วัยยังเล็กๆ เช่ นประถมต้ น
หรือปลาย สาคัญที่สดุ โดยที่พ่อแม่ผ้ ูปกครองต้ องมีความรู้ในการสอนเช่นกัน
3. ให้ มีการปรึกษาหารือระหว่างผู้ปกครอง ครู เด็ก อย่างเปิ ดเผย จริงใจ
4 ผู้ปกครองต้ องทาตัวเสมือนเพื่อน ดูแลใกล้ ชิด ไม่ ให้ ห่าง ให้ อยู่ในสายตาเรา หรือ ให้
รู้ว่าทาอะไร อยู่ท่ไี หน และ คอยสังเกตพฤติกรรม หรือ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ทาและ
การคบเพื่อนต่างเพศ เป็ นใครมาจากไหน ,มีกจิ กรรมทาอะไรกันบ้ าง ควรรู้จัก เพื่อน
ต่างเพศของลูกด้ วย
5. คอยสอบถามความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนเพศตรงข้ าม และความคิดต่อพฤติกรรมทาง
เพศของบุตรหลาน เช่นคิดอย่างไรที่มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน หากลูกตอบว่าเป็ นเรื่อง
ธรรมดาก็น่าเป็ น ห่วง แต่หากลูกตอบว่าไม่เห็นด้ วยก็น่ายินดี แต่ต้องคอยบอกกล่าว
ว่า จะไม่เปิ ดโอกาสให้ อยู่กบั เพื่อนต่างๆเพศ สองต่อสอง ในที่ ลับ และให้ ระวัง ถูก
กระทาให้ เกิดอารมณ์ทางเพศ หรือ หลอกให้ ด่ มื เครื่องดื่มบางชนิด ที่ผสมแอลกอฮอล์
และ การควบคุมอารมณ์ไม่ให้ ตกอยู่ในห้ วงของอารมณ์ใคร่
6. แนะนา สอน และจัดหาเรื่องการคุมกาเนิดแบบฉุกเฉินแก่วัยรุ่น เป็ นอันสุดท้ าย
7.ให้ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ที่ผสม แอลกอฮอล์ ทุกชนิด เพราะจะทาให้ ขาดสติ ทาอะไรไม่
รู้ตัว
8. เวลาไปเที่ยวกับใครที่ไหนก็ควรไปเป็ นกลุ่ม
9. ส่งเสริมการวางแผนครอบครัว ในการสอนสุขศึกษาในโรงเรียนเกี่ยวกับการวางแผน
ครอบครัวไม่เพียงแต่จะสอนถึง สิ่งที่ใช้ คุมกาเนิดแต่ควรจะสอนวิธกี ารใช้ อย่างถูกต้ อง
และมีประสิทธิภาพด้ วย
นโยบายสาธารณะ : การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
 กำรประชุมสมัชชำสุขภำพแห่งชำติ ครั้งที่ 1 พ.ศ.2551
ประเด็น “สุขภำวะทำงเพศ” : โดยมีการพิจารณารายงานเรื่อง ความรุนแรงทาง
เพศ การตั้งครรภ์ไม่พร้ อมและเรื่องเพศกับเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน
มิติต่างๆดังนี้
ตระหนัก ว่าสถานการณ์สขุ ภาวะทั้ง 3 ด้ าน คือ ความรุนแรงทางเพศ การ
ตั้งครรภ์ไม่พร้ อม และเรื่องเพศกับเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีแนวโน้ มขยายตัว
ทวีความรุนแรง และซับซ้ อนมากขึ้นจนกลายเป็ นปัญหาระดับประเทศที่ส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพ ทั้งทางกาย ใจและสังคม
ตระหนัก ถึงช่องว่างและความยากลาบากในการแก้ ปัญหาความรุนแรงทางเพศ
สืบเนื่องจากการที่สงั คมไทยมีวฒ
ั นธรรมทางเพศที่เป็ นมาตรฐานซ้ อน มุ่งปลูกฝัง ควบคุม
และกากับพฤติกรรมเรื่องเพศของผู้หญิง แต่ส่งเสริมให้ ผ้ ชู ายเรียนรู้และมีประสบการณ์
ทางเพศอย่างเจนจัดอีกทั้งตีตราผู้ท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ
รับทรำบ ว่าปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้ อมขยายตัวรุนแรงมากขึ้น โดยผู้หญิงกลุ่ม
อายุน้อยกว่า 20 ปี และกลุ่มอายุ 35 ปี ข้ นึ ไป มีอตั ราการตั้งครรภ์ไม่พร้ อมสูงกว่ากลุ่ม
อายุอ่นื ส่งผลให้ เกิดการทอดทิ้งเด็ก การบาดเจ็บ พิการและตายจากการทาแท้งที่ไม่
ปลอดภัย
เข้ำใจดี ว่าแม้ อตั ราการติดเชื้อ HIV รายใหม่ โดยรวมจะลดลง แต่มคี วาม
เป็ นไปได้ ว่า HIV AIDS อาจกลับมาระบาดในประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก
อัตราป่ วยด้ วยกามโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ท่เี คยเชื่อกันว่าลดลงไปแล้ วตั้งแต่ปี
2540 กลับมามีแนวโน้ มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มแรงงานต่างชาติและกลุ่มประชากร
หนุ่มสาวและผู้ใหญ่วยั ทางาน โดยเฉพาะเยาวชนที่เป็ นนักเรียน นักศึกษา อายุระหว่าง
15-19 ปี มีการติดเชื้อกามโรคเพิ่มขึ้น
มติจากการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 2551
: สุขภาวะทางเพศ
1. ขอให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ และกระทรวงยุติธรรม สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ าง
เสริมสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและสานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย

จัดให้ มีการสอนเพศศึกษารอบด้ านทั้งในและนอกระบบการศึกษา โดยจัด
ให้ สอดคล้ องเหมาะสมกับกลุ่มประชาชนทุกเพศทุกวัย
 สร้ างความเข้ มแข็งให้ แก่ระบบให้ การปรึกษาทุกระบบ โดยเน้ นกรจัดบริการ
ให้ การปรึกษาแก่ท้งั ก่อนและหลังเผชิญปัญหาและการให้ คาปรึกษาแบบ
เพื่อนช่วยเพื่อน และการให้ การปรึกษาแบบเสริมพลังและเน้ นทางเลือก
 จัดให้ มศ
ี นู ย์บริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุค์ รบวงจรที่เป็ นมิตรกับทุกคน
ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มที่มคี วามต้ องการบริการที่ละเอียดอ่อนเป็ นการเฉพาะ รวมทั้ง
จัดบริการคลินิกกามโรคที่เป็ นมิตร เพื่อกลไกในการควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อย่างมีประสิทธิภาพแก่คนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
 สนับสนุนให้ บริการยุตกิ ารตั้งครรภ์ท่ป
ี ลอดภัย ภายใต้ ข้อกาหนดของกฎหมายอยู่ในชุด
สิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพทุกระบบ
 สนับสนุนให้ มกี ารศึกษาวิจัยและจัดทาฐานข้ อมูลสาคัญของปัญหาการตั้งครรภ์ท่ไี ม่พร้ อม
 จัดตั้งที่พักพิงและคุ้มครองสิทธิแก่ผ้ ป
ู ระสบปัญหาความรุนแรงทางเพศในทุกจังหวัด
โดยเน้ นระบบบริการที่มคี วามครอบคลุมและครบวงจร ควบคู่กบั การพัฒนาและเพิ่ม
สถานบริการให้ ความช่วยเหลือทั้งด้ านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคมแก่ผ้ หู ญิงตั้งครรภ์ไม่
พร้ อมที่ตดั สินใจตั้งครรภ์ต่อ ให้ มคี วามครอบคลุม ครบวงจร เข้ าถึงได้ ง่าย ตั้งแต่ระหว่าง
ตั้งท้ อง ก่อนคลอดและหลังคลอด
 ขจัดอคติทางเพศในกระบวนการยุตธิ รรมทุกระดับจากโรงพักถึงศาล ทั้งในเชิงตัวบท
กฎหมายและระเบียบปฏิบตั ติ ่างๆและทัศนคติของบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง
2. ขอให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และภาคีสมาชิกสมัชชาสุขภาพ
แห่งชาติจัดทาแผนปฏิบัติการรณรงค์สร้ างสุขภาวะทางเพศทั้ง 3 ด้ าน
โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง และร่วมกันผลักดันสู่การ
ปฏิบัติ
3. ขอให้ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
 ผลักดันให้ เกิดนโยบายและแนวปฏิบัติท่ชี ัดเจน เพื่อยุติการตั้งครรภ์ท่ไี ม่
ปลอดภัย
 สร้ างเสริมความเข้ มแข็งของเครือข่ายการทางานสุขภาวะทางเพศ องค์กร
ปกครองส่วนท้ องถิ่น และชุมชนในการป้ องกันและแก้ ไขปัญหาการตั้งครรภ์ท่ี
ไม่พร้ อม ความรุนแรงทางเพศ และการติดเชื้อ HIV/AIDSและโรคติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์
บทบาทแพทย์และพยาบาลต่อการป้ องกันและการแก้ไขปัญหา
การตัง้ ครรภ์ไม่วางแผนและการตัง้ ครรภ์ไม่ปรารถนา
1. ตระหนักถึงความสาคัญของปั ญหามีความเห็นอกเห็นใจผู้ท่ป
ี ระสบปัญหา
2.
3.
4.
5.
ดังกล่าว
มีความรู้และสามารถที่จะให้ บริการและให้ คาปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัว
ให้ บริการคุมกาเนิดที่เหมาะสมแก่ประชาชน
มีความรู้และสามารถให้ การปรึกษา เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมแก่ผ้ ูท่ตี ้งั ครรภ์
ไม่วางแผนและตั้งครรภ์ไม่วางแผนและตั้งครรภ์ไม่ปรารถนาได้
มีความรู้และความสามารถในการทาแท้ งอย่างปลอดภัย รวมทั้งสามารถให้
การดูแลภาวะแทรกซ้ อนหลังการแท้ งเองและทาแท้ งได้
ภายหลังจากการแท้ ง (แท้ งเองหรือทาแท้ ง) แพทย์ควรให้ คาปรึกษาแนะนา
เรื่องการคุมกาเนิด เพื่อป้ องกันไม่ให้ เกิดการตั้งครรภ์โดยไม่ วางแผนหรือไม่
ปรารถนาขึ้นอีก
กรณีตัวอย่าง
 คุณแม่เรยา สาวน้ อยวัย ๑๔ นักเรียนชั้น ม.๒ โรงเรียนสตรีช่ อื ดัง ที่มชี ีวิตสดใสร่ าเริง
เหมือนวัยรุ่นทั่วๆ ไป ที่ทากิจกรรมกับกลุ่มเพื่อนโดยการเป็ นดีเจเปิ ดเพลงตอนพัก
กลางวัน ตกเย็นหรือวันหยุดก็ออกไปเรียนพิเศษ และสถานที่น้ เี องที่ทาให้ เธอได้ ร้ จู ักกับ
คุณใหญ่ เด็กหนุ่มวัย ๑๕ ที่สภุ าพอ่อนโยน จากการคบหาแบบเพื่อนธรรมดา ก็ก้าวข้ าม
ไปสู่ความสัมพันธ์อนั เกินเพื่อน เลยตั้งท้ องโดยที่ไม่ได้ คาดคิด
 เรยา สับสน และต้ องการความช่วยเหลือ เธอไม่ร้ วู ่าจะพูดกับพ่อหรือแม่อย่ างไร จนแม่
สังเกตถึงความผิดปกติของเธอ จึงถามไถ่ด้วยความเป็ นห่วง และพบความจริงที่เจ็บปวด
ว่าลูกสาวกาลังตั้งท้ อง ทั้งพ่อและแม่ยืนยันที่จะให้ เธอทาแท้ ง โดยให้ เหตุผลว่าเธอยัง
เด็ก ยังไม่สามารถที่จะรับผิดชอบชีวติ ที่จะถือกาเนิดได้ แม้ เธออยากจะเก็บเด็กไว้
เพียงไร แต่ทางเดินของชีวติ ช่างดูตบี ตันนัก
 สื่อมวลชน ก็ประโคมข่าวว่าเด็กไทยเหลวแหลกเป็ นพ่อแม่ต้งั แต่อายุ ๑๕ ตั้งท้ องตั้งแต่
อยู่ ม.ต้ น
ปั ญหำใหญ่ที่ตอ้ งเผชิญ
แม้ เรยา จะผ่านบททดสอบขั้นต้ น แต่ส่งิ ที่รอเด็กผู้หญิงตัวเล็กๆ ที่กาลังตั้งท้ องนั้นอาจดู
เลวร้ ายกว่า การตั้งท้ องส่งผลกระทบต่อทุกคนที่รับรู้ และอยู่รายล้ อมตัวเธอ
“ทุกสำยตำจับจ้อง”
โรงเรียน ดูเป็ นเรื่องน่าอายและน่าขายหน้ าที่มเี ด็กตั้งท้องในโรงเรียน ครูและเพื่อนนักเรียน
ส่วนใหญ่รับไม่ได้ ท่จี ะมีเรยา เรียนร่วมด้ วย พวกเขากดดันให้ เธอลาออก เพื่อที่จะรักษา
ชื่อเสียงของโรงเรียนไว้
เพื่อนสนิท รับไม่ได้ กบั การตัดสินใจตั้งท้ องต่อของเรยา และตั้งตัวเป็ นฝ่ ายตรงข้ ามกับเธอ
เพื่อนบ้ าน รับไม่ได้ ท่เี ด็กอายุร่นุ ราวคราวเดียวกับลูกตัวเองตั้งท้อง เพราะกลัวจะเป็ น
ตัวอย่างที่ไม่ดี จึงกดดันพ่อแม่เรยา ให้ พวกเขาย้ ายออกไปอยู่ท่อี ่นื