องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร ์กับชีวต
ิ
(COMPUTER AND LIFE)
บทที่ 2 องค ์ประกอบของระบบ
คอมพิวเตอร ์
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร
คณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร ์ธานี
ว ัตถุประสงค ์เชิงพฤติกรรม
 บอกความหมายขององค ์ประกอบแต่ละชนิ ดได ้
 จาแนกองค ์ประกอบของระบบคอมพิว เตอร ์แต่ล ะ
ชนิ ดได ้
 อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ บุ ค ล า ก ร ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ
คอมพิวเตอร ์ได ้
 บอกความแตกต่างระหว่างข ้อมูลและสารสนเทศได ้
่ ยวข
่
 ยกตัว อย่า งกิจ กรรมทีเกี
อ้ งกับความสัมพันธ ์
ขององค ์ประกอบแต่ละชนิ ดได ้
้ :: Mr.Parinya Noidonphrai
Computer
and Lifeนฐานการท
(www.freebsd.sru.ac.th)

อธิบายพื
างานของคอมพิ
วเตอร ์ได ้
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
องค ์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร ์
1. ฮาร ์ดแวร ์ (Hardware)
2. ซอฟต ์แวร ์ (Software)
3. บุคลากร (People)
4. ข ้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1. ฮาร ์ดแวร ์ (Hardware)
 เป็ นอุปกรณ์ทจั
ี่ บต ้องได ้ สัมผัสได ้ มองเห็นได ้อย่าง
้ั ติ
่ ดตังอยู
้ ่ภายในตัวเครือง
่ (เช่น
เป็ นรูปธรรม มีทงที
้
ซีพียู เมนบอร ์ด แรม) และที่ติด ตังอยู
่ ภ ายนอก
่
(เช่น คีย ์บอร ์ด เมาส ์ จอภาพ เครืองพิ
มพ ์)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
2. ซอฟต ์แวร ์ (Software)
่
่ อให
่ ้
 ส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร ์ทีบรรจุ
คาสังเพื
สามารถทางานได ้ตามต ้องการ โดยปกติแล ้วจะถูก
สร า้ งโดยบุ ค คลที่ เรีย กว่ า นั ก เขี ย นโปรแกรม
(programmer)
 เป็ นองค ์ประกอบทางนามธรรม ไม่สามารถจับต ้อง
หรือสัมผัสได ้เหมือนกับฮาร ์ดแวร ์
สามารถแบ่งออกได ้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
2.1. ซอฟต ์แวร ์ระบบ (System Software)
Computer
and Life
:: Mr.Parinya
Noidonphrai
2.2.
ซอฟท
์แวร
์ประยุก(www.freebsd.sru.ac.th)
ต ์ (Application
2.1 ซอฟต ์แวร ์ระบบ (System
Software)
 ท าหน้ า ที่ ในการจัด สรรทร พ
ั ยากรของเครื่อง
คอมพิวเตอร ์ ควบคุมการประมวลผล (Execute)
ของซอฟแวร ์ประยุ ก ต ์ ควบคุ ม อุ ป กรณ์ รวมทัง้
การส่งขอ้ มูลเขา้ /ออก(Input/Output : I/O)
ระหว่ า งอุ ป กรณ์ต่ า งๆในคอมพิ ว เตอร ์ และท า
่ ดต่อระหว่างผู ้ใช ้กับคอมพิวเตอร ์
หน้าทีติ
 รู ้จัก กัน เป็ นอย่ า งดีค อ
ื ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร หรือ OS
(Operating System) ตัวอย่างเช่น Windows,
Linux,
MAC OS
เป็ นต ้น
Computer
andFreeBSD,
Life :: Mr.Parinya Noidonphrai
(www.freebsd.sru.ac.th)
2.1 ซอฟต ์แวร ์ประยุกต ์
(Application Software)
่
้ ้ในภายหลังจากที่
 ซอฟต ์แวร ์ทีสามารถติ
ดตังได
้
ติดตังซอฟแวร
์ระบบแล ้ว
 ปกติมุ่งใช ้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด ้านบัญชี
งานด ้านเอกสารหรืองานควบคุมสินค ้าคงเหลือ
้
่ าหน่ ายโดยตรง
 อาจมีบริษท
ั ผู ้ผลิตทาขึนมาเพื
อจ
้ั ให
่ ้ใช ้ฟรี ซือท
้ าเอง หรือจ ้างเขียนโดยเฉพาะ
มีทงที
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ไวร ัสคอมพิวเตอร ์ คืออะไร
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ไวร ัสคอมพิวเตอร ์ คืออะไร

อย่ า สับ สน! ระหว่า งคาว่า ไวร สั คอมพิว เตอร ์กับไวร สั ที่
้
เป็ นเชือโรค
ไวร ส
ั คอมพิ ว เตอร ์นั้ นเป็ นแค่ ช อเรี
ื่ ย ก
ส าหร บ
ั ซอฟแวร ์ประยุ ก ต ป์ ระเภทหนึ่ งที่มี พฤติก รรม
่ นเชือโรคที
้
่
้ ้ และ
คลา้ ย ๆ กับไวรสั ทีเป็
สามารถแพร่
เชือได
่ ชวี ต
่ นอาศัยอยู่ แต่ต่างกันตรง
มักทาอันตรายต่อสิงมี
ิ ทีมั
ที่ว่ า ไวร สั คอมพิ ว เตอร ์เป็ นแค่ เ พี ย งซอฟแวร ์ประยุ ค
เท่านั้น ไม่ใช่สงมี
ิ่ ชวี ต
ิ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ไวร ัสคอมพิวเตอร ์ คืออะไร (ต่อ)
่ ความสามารถใน
ไวรสั คือซอฟแวร ์ประยุคชนิ ดหนึ่ งทีมี
การสาเนาตัว เองเขา้ ไปติดอยู่ในระบบคอมพิว เตอร ์ได ้
และถ า้ มีโ อกาสก็ ส ามารถแทรกเข า้ ไประบาดในระบบ
่ ๆ ซึงอาจเกิ
่
่ ด
คอมพิวเตอร ์อืน
ดจากการนาเอาดิสก ์ทีติ
่
่ งไปใช ้อีก เครืองหนึ
่
่ ง หรือ อาจผ่ า น
ไวร สั จากเครืองหนึ
่
ระบบเครือ ข่า ยหรือ ระบบสือสารข
อ้ มู ลไวร สั ก็ อ าจแพร่
ระบาดได ้เช่นกัน
่
 การทีคอมพิ
วเตอร ์ใดติดไวรสั หมายถึงว่าไวรสั ได ้เข ้าไป
ผังตัวอยู่ในหน่ วยความจา คอมพิวเตอร ์ เรียบร ้อยแลว้
่ สั จะ
เนื่ องจากไวร สั ก็ เป็ นแค่โ ปรแกรม ๆ หนึ่ งการทีไวร
Computer
and Life
:: Mr.Parinya
Noidonphrai
เข ้าไปอยู
่ ในหน่
วยความจ
าได(www.freebsd.sru.ac.th)
้นั้นจะต ้องมีการถูกเรียกให ้

ไวร ัสคอมพิวเตอร ์ คืออะไร (ต่อ)
้
 จุดประสงค ์ของการทางานของไวร ัสแต่ละตัวขึนอยู
่
กับ ตัว ผู เ้ ขีย นโปรแกรมไวร สั นั้ น เช่น อาจสร ้าง
่ ๆ ทีอยู
่ ่
ไวรสั ใหไ้ ปทาลายโปรแกรมหรือขอ้ มูลอืน
่
่
ในเครืองคอมพิ
วเตอร ์ หรือ แสดงข ้อความวิงไปมา
บน หน้าจอ เป็ นต ้น
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
การป้ องกันและกาจัดไวร ัส
คอมพิวเตอร ์
่ ทสุ
การป้ องกันไวรสั คอมพิวเตอร ์ทีดี
ี่ ดก็คอ
ื "ไม่ตอ
้ งใช้
้
คอมพิวเตอร ์เลย" ซะงัน
่
 บางองค ์กร ก าหนดว่ า ห า
้ มน าดิส ก ์เกตต ์จากแหล่ ง อืน
่
เข า้ มาใช ้ในศูน ย ์คอมพิว เตอร ์หรือ เครืองคอมพิ
วเตอร ์
แ ล ะ ไ ด ้ เ ต รี ย ม แ ผ่ น ดิ ส ก ์ไ ว ้ ใ ห ้ ผู ้ ที่ ม า ใ ช บ
้ ริ ก า ร
้
คอมพิวเตอร ์ใช ้งาน หรือบางองค ์กรอาจลงทุนซือการ
์ด
้ ้ากับคอมพิวเตอร ์
ป้ องกันไวร ัสมาติดตังเข
้ั ว้ ย
 สามารถป้ องกันไวรส
ั ไดแ้ ค่บางส่วนเท่านั้น บางครงด
ความประมาทของผูใ้ ช ้งานก็อาจทาใหไ้ วรสั ลอบเข า้ มา
่
ภายในเครื
องโดยไม่
ร
ู
้ตั
ว
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)

3. บุคลากร (People)
่ ยวข
่
บุคลากรทีเกี
้องกับคอมพิวเตอร ์พอจาแนก
่
ออกได ้เป็ น 3 กลุม
่
3.1 ผูใ้ ช ้งานทัวไป
่
3.2 ผูเ้ ชียวชาญ
3.3 ผูบ้ ริหาร
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.1 ผู ใ้ ช้งานทัวไป
 ผูใ้ ช ้งานคอมพิวเตอร ์ (User/End
เป็ นผู ใ้ ช ้งานระดับ ต่ าสุด
User)
ไม่จาเป็ นตอ้ งมีความ
่
เชียวชาญมาก
อาจเข า
้ รบ
ั การอบรมบ า้ งเล็ ก น้อ ยหรือ ศึก ษา
จากคูม
่ อ
ื การปฏิบต
ั งิ านก็สามารถใช ้งานได ้
้ จานวนมากทีสุ
่ ดในหน่ วยงาน
บุคลากรกลุม
่ นี มี
ลั ก ษ ณ ะ ง า น มั ก เ กี่ ย ว ข ้อ ง กั บ ก า รใ ช ง
้ าน
คอมพิว เตอร ์ทั่วไป เช่น งานธุร การส านั ก งาน
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
งานป้ อนขอ้ มูล งานบริการลูกคา้ สัมพันธ ์ (call
่
3.1 ผู ใ้ ช้งานทัวไป
(ต่อ)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
3.2.1
ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร ์
(Computer
Operator/Computer
Technician)
3.2.2
นักวิเคราะห ์ระบบ
(System Analyst)
3.2.3
นักเขียนโปรแกรม
(Programmer)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)



3.2.1
ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร ์
(Computer
Operator/Computer
มีความชานาญทางด ้านเทคนิ คโดยเฉพาะ
Technician)
มีทก
ั ษะและประสบการณ์ในการแก ้ปัญหา
เฉพาะหน้าได ้เป็ นอย่างดี
่ กคือ การแก ้ปัญหาทีเกิ
่ ดขึนกั
้ บ
หน้าทีหลั
ระบบในหน่ วยงานให ้ใช ้งานได ้ตามปกติ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)


3.2.2
นักวิเคราะห ์ระบบ (System
มีหน้Analyst)
าทีวิ่ เคราะห ์ความตอ้ งการของผูใ้ ช ้รวม
ไปถึงผูบ้ ริหารของหน่ วยงานว่าต ้องการระบบ
โปรแกรมหรือ ลัก ษณะงานอย่ า งไร เพื่อจะ
พัฒ นาระบบงานให ต
้ รงตามความต อ้ งการ
่ ด
มากทีสุ
ออกแบบกระบวนการท างานของระบบ
้
โปรแกรมต่างๆ ทังหมด
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)
การทางานของสถาปนิ ก
การทางานของนักวิเคราะห ์ระบบ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)


3.2.3
นักเขียนโปรแกรม
(Programmer)
่
ชานาญเรืองการเขี
ยนโปรแกรมด ้วย
ภาษาคอมพิวเตอร ์
่
้
มีหน้าทีและต
าแหน่ งเรียกแตกต่างกันไป ขึนอยู
่
่ บต
ั ิ เช่น
กับลักษณะงานทีปฏิ
 web
programmer
 application programmer
 system programmer
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)

3.2.4
วิศวกรซอฟต ์แวร ์ (Software
่
ทาหน้Engineering)
าทีในการวิ
เคราะห ์และตรวจสอบซอฟต ์แวร ์ที่
พัฒนาอย่างมีแบบแผน

อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร ์มาช่วย เช่น วัด
ค่าความซบั ซ ้อนของซอฟท ์แวร ์ และหาคุณภาพของ
่ ตขึนมาได
้
ซอฟต ์แวร ์ทีผลิ
้

มีทก
ั ษะและความเขา้ ใจในการพัฒนาซอฟต ์แวร ์มาก
พอสมควร

อยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต ์แวร ์กลุ่มเดียวกับนั กเขียน
วิเคราะห(www.freebsd.sru.ac.th)
์ระบบ
Computerโปรแกรมและนั
and Life :: Mr.Parinya ก
Noidonphrai
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)
3.2.4
วิศวกรซอฟต ์แวร ์ (Software
Engineering)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
3.2 ผู เ้ ชียวชาญ
(ต่อ)

3.2.5
ผูด้ แู ลเน็ ตเวิร ์ก (Network
Administrator)
ผู ท
้ ี่ มี ห
น้ า ที่ ดู แ ลและบริห ารระบบเครือ ข่ า ย
คอมพิวเตอร ์ขององค ์กร

เ กี่ ย ว ข ้อ ง กั บ ลั ก ษ ณ ะ ง า น ด ้า น เ ค รื อ ข่ า ย
้
โดยเฉพาะ เช่น การติดตังระบบเครื
อข่ายการ
ควบคุมสิทธิของผูท
้ จะใช
ี่
้งาน การป้ องกันการ
บุกรุกเครือข่าย เป็ นต ้น

มี ค ว า ม ช า น า ญ เ กี่ ย ว กั บ ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
คอมพิวเตอร ์เป็ นอย่างดี และต ้องมีทก
ั ษะในการ
3.3 ผู บ
้ ริหาร
3.3.1
ผูบ้ ริหารสูงสุดด ้านสารสนเทศ
และคอมพิวเตอร ์ (CIO Chief
Information Officer)
3.3.2
หัวหน้างานด ้านคอมพิวเตอร ์
(Computer Center
(Manager/Information
Technology Manager)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
3.3 ผู บ
้ ริหาร (ต่อ)
3.3.1
ผูบ้ ริหารสูงสุดด ้านสารสนเทศ
และคอมพิวเตอร ์ (CIO Chief
ต า แ ห น่Information
ง สู ง สุ ด ท า ง ดOfficer)
้ า น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น
คอมพิวเตอร ์ในองค ์กร
่ าหนดทิศทาง นโยบาย และแผนงาน
ทาหน้าทีก
้
ทางคอมพิวเตอร ์ทังหมด
มักพบเห็นในองค ์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
สาหร ับในองค ์กรขนาดเล็กอาจจะไม่มต
ี าแหน่ งนี ้
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
3.3 ผู บ
้ ริหาร (ต่อ)
3.3.2
หัวหน้างานด ้านคอมพิวเตอร ์
(Computer Center
Manager/Information
่
มีหน้าทีดูแลและกากับงานทางดา้ นคอมพิวเตอร ์
Technology
Manager)
่ ว้ าง
ใหบ้ รรลุเป้ าหมายตามแผนงานและทิศทางทีได
ไว ้โดย CIO
อาจต อ้ งจัด เตรีย มการบริก ารฝึ กอบรม การให ้
ค าป รึก ษา ค าแนะน ากับ ผู ใ้ ช ง้ าน รวมถึ ง สร า้ ง
กฎระเบีย บ มาตรฐานในการใช ้งานคอมพิว เตอร ์
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ของบริษท
ั ร่วมกันด ้วย
4. ข้อมู ล/สารสนเทศ
(Data/Information)
่
้ การ
 การทางานของคอมพิวเตอร ์จะเกียวข
้องตังแต่
น า ข ้อ มู ล เ ข ้า ( data) จ น ก ล า ย เ ป็ น ข ้อ มู ล ที่
ส า ม า ร ถใ ช ป
้ ร ะ โ ย ช น์ ต่ อไ ด ้ห รื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า
สารสนเทศ (information)
้
้ั วเลข ตัวอักษร และ
 ขอ
้ มูลเหล่านี อาจเป็
นไดท
้ งตั
่
ข ้อมูลในรูปแบบอืนๆเช่
น ภาพ เสียง เป็ นต ้น
 ขอ
้ มู ล ที่จะน ามาใช ้กับ คอมพิ ว เตอร ์ ต อ้ งแปลง
รูปแบบหรือสถานะให ้คอมพิวเตอร ์เข ้าใจเสียก่อน
้เราเรี

สถานะหรื
รู ป แบบนี
ย กว่ า สถานะแบบ
Computer
and Life :: อ
Mr.Parinya
Noidonphrai
(www.freebsd.sru.ac.th)
สถานะแบบดิจต
ิ อล
2 สถานะเท่านั้นคือ เปิ ด (1) และ ปิ ด (0)
เหมือนกับหลักการทางานของไฟฟ้ า
 อาศัย การประมวลผลโดยใช ้ ระบบเลขฐานสอง
่ ยกว่า binary
หรือทีเรี
system เป็ นหลัก ซึง่
ประกอบดว้ ยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้ น คือ 0 กับ
1
 มีเพียง
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
สถานะแบบดิจต
ิ อล (ต่อ)
 ตัว เลข
0 กับ 1 เราเรีย กว่ า เป็ นตัว เลขฐานสอง
หรือไบนารีดจิ ต
ิ (binary digit) มักเรียกย่อๆว่า
บิต (bit) นั่นเอง
้
 เมื่ อบิ ต หลายตัว รวมกัน จ านวนหนึ่ ง (ขึนอยู
่กบ
ั
รหัส การจัด เก็ บ ) เช่น 8 บิ ต เราจะเรีย กหน่ วย
จั ด เ ก็ บ ข อ
้ มู ล นี ้ ให ม่ ว่ า เ ป็ น ไ บ ต ์ ( byte) ซึ่ง
สามารถใช ้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่
่
เราต ้องการป้ อนข ้อมูลเข ้าไปในเครืองแต่
ละตัวได ้
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
สถานะแบบดิจต
ิ อล (ต่อ)
 กลุ่ ม ตัว เลขฐานสองต่ า งๆที่ น าเอามาใช น
้ ี้
จะมี
อ ง ค ์ก ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า นใ ห ้ ใ ช ้บ น ร ะ บ บ
คอมพิวเตอร ์อยูห
่ ลายมาตรฐานมาก
่ ้จักดีและเป็ นนิ ยมแพร่หลายคือมาตรฐานของ
 ทีรู
สถาบัน มาตรฐานแห่ ง สหร ฐั อเมริก า ที่เรีย กว่ า
รหัสแอสกี (ASCII : American Standard
Code for Information Interchange)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
สถานะแบบดิจต
ิ อล (ต่อ)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
กระบวนการแปลงข้อมู ล
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
หน่ วยวัดความจุขอ
้ มู ล
 ค่า โดยประมาณมีค่า ใกล เ้ คีย งกับ
1,000 และค่า
่ ๆ เช่น MB มีคา่ ใกล ้เคียง 1,000,000 จึงนิ ยม
อืน
เรียกว่าเป็ น kilo (ค่าหนึ่ งพันหรือ thousand)
และ mega (ค่าหนึ่ งล ้านหรือ million)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
หน่ วยวัดความจุขอ
้ มู ล (ต่อ)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ตัวอย่างการคานวณความจุ
ขนาดความจุฮาร ์ดดิสก ์ของผูข
้ าย
= 40 GB
= 40 000 000 000 bytes
่ าการ Format (ซึงใช
่ ้หน่ วยวัดข ้อมูลต่างกัน) จะได ้ค่าใหม่
เมือท
ดังนี ้
 แปลงหน่ วยเป็ น KiB
= 40 000 000 000 /
1024
= 39 062 500 KiB
 แปลงหน่ วยเป็ น MiB
= 39 062 500 /
1024
= 38 146.97265625
MiB
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
การนาข้อมู ลเข้าสู ่คอมพิวเตอร ์
่
 ยุคแรกใช ้บัตรเจาะรูเพือควบคุ
มลายทอผ้า
้
 นาบัตรแบบใหม่มาประยุกต ์ใช ้มากขึน
เช่น IBM
80 Column
่
้
 พัฒนามาใช ้สือแบบใหม่
มากขึนจนถึ
งปัจจุบน
ั
 การนาข ้อมูลเข ้าสูค
่ อมพิวเตอร ์แบ่งได ้เป็ น 2 วิธ ี
ด ้วยกันคือ
1. ผ่านอุปกรณ์นาเข ้า (Input Device)
่ บบันทึกข ้อมูลสารอง (Secondary
2.
ผ่
า
นสื
อเก็
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1. ผ่านอุปกรณ์นาเข้า (Input
Device)
่ ด
 เป็ นวิธท
ี ง่ี่ ายและสะดวกทีสุ
 นาข ้อมูลเข ้าไปยังคอมพิวเตอร ์โดยตรง
 ผ่านอุปกรณ์นาเข ้าข ้อมูลหลายชนิ ด
้
ขึนอยู
ก
่ บั
รูปแบบของข ้อมูล เช่น
 คีย ์บอร ์ด (keyboard) สาหร ับข ้อมูลประเภท
ตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ
 สแกนเนอร ์ (scanner) สาหร ับข ้อมูลประเภท
ภาพ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่ บบันทึกข้อมู ลสารอง
2. ผ่านสือเก็
(Secondary Storage)
่ บ้ น
 ดึงเอาขอ
้ มูลทีได
่ น
ั ทึกหรือเก็บขอ้ มูลไวก้ อ
แล ว้ โดยใช ้ สื่อเก็ บ บัน ทึก ข อ้ มู ล ส ารอง เช่น
ฮาร ์ดดิสก ์ ดิสเก็ตต ์ หรือซีดี
่
้
 เครืองคอมพิ
ว เตอร ์จะอ่า นข อ้ มู ล เหล่า นี โดย
่ านสือโดยเฉพาะ
่
อาศัยเครืองอ่
เช่น ฟล็ อปปี ้
ไดรว ์ ซีดรี อมไดรว ์
 บัตรเจาะรูจด
ั อยู่ในกลุ่มการนาเข ้าข อ้ มูลวิธน
ี ี้
เช่นกัน (ปัจจุบน
ั ไม่พบเห็นการใช ้งานแล ้ว)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
กิจกรรมและความสัมพันธ ์ของแต่ละ
องค ์ประกอบ
้ อนข ้อมูลเข ้า
 ขันป้
(User Input)
้ ้องขอบริการ (Service requests)
 ขันร
้ งการฮาร
่
 ขันสั
์ดแวร ์ (Hardware
Instructions)
้
 ขันประมวลผลลั
พธ ์ (Processing
results)
้
 ขันตอบสนองบริ
การ (Service
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
responses)
กิจกรรมและความสัมพันธ ์ของแต่ละ
องค ์ประกอบ (ต่อ)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
้
พืนฐานการท
างานของคอมพิวเตอร ์
้
 หลัก การท างานพื นฐานประกอบด
ว้ ยหน่ วยที่
่
เกียวข
้อง 5 หน่ วย ดังนี ้
1. ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ก ล า ง ( central
processing unit)
2. หน่ วยความจาหลัก (primary storage)
3. ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ส า ร อ ง ( secondary
storage)
4. ห น่ ว ย ร ั บ แ ล ะ แ ส ด ง ผ ล ข ้ อ มู ล
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
(input/output unit)
้
พืนฐานการท
างานของคอมพิวเตอร ์
(ต่อ)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.หน่ วยประมวลผลกลาง (Central
Processing
Unit)
่
 ส่วนประกอบทีสาคัญภายในของซีพย
ี ู แบ่งออกได ้
ดังนี ้
1.1 หน่ วยควบคุม (Control Unit)
1.2 หน่ วยคานวณและตรรกะ (ALU :
Arithmetic and Logic Unit)
1.3 รีจส
ิ เตอร ์ (Register)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.หน่ วยประมวลผลกลาง (Central
Processing Unit) ต่อ
1.1 หน่ วยควบคุม (Control Unit)
ท าหน้า ที่ควบคุ ม การท างานของทุ ก ๆหน่ วยในซีพี ยู
รวมถึงอุปกรณ์ตอ
่ พ่วง
่ งแต่
้ การแปลคาสังที
่ ป้่ อนเข ้าไป โดยการไปดึงคาสัง่
 เริมตั
และข อ้ มู ล จากหน่ วยความจ ามาแล ว้ แปลความหมาย
ของคาสัง่
 จากนั้ นส่ ง ความหมายที่ ได ไ
้ ปให ห
้ น่ วยค านวณและ
่ านวณและตัดสินใจว่าจะให ้เก็บข ้อมูลไว ้ทีใด
่
ตรรกะเพือค

Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.หน่ วยประมวลผลกลาง (Central
Processing Unit) ต่อ
1.2 หน่ วยคานวณและตรรกะ (ALU :
Arithmetic and Logic Unit)
 ท า ห น้ า ที่ ใ น ก า ร ค า น ว ณ ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์
(arithmetic) เช่น การคูณ ลบ บวก หาร
 เปรียบเทียบขอ
้ มูลทางตรรกศาสตร ์ (logical) ว่า
เป็ นจริงหรือเท็จ
้
 อาศัยตัวปฏิบต
ั ก
ิ ารเปรียบเทียบพืนฐาน
3 ค่า คือ
มากกว่า น้อยกว่าและ เท่ากับ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.หน่ วยประมวลผลกลาง (Central
Processing Unit) ต่อ
1.3 รีจส
ิ เตอร ์ (Register)
้ ส
่ าหรบั เก็บพักขอ้ มูลชุดคาสัง่
 พืนที
ผลลัพธ ์ และ
ข ้ อ มู ล ที่ เ กิ ด ขึ ้ น ข ณ ะ ที่ ซี พี ยู ป ร ะ ม ว ล ผ ล
่ั
เพียงชวคราวไม่
ถอื ว่าเป็ นหน่ วยความจา
 ร ับส่งข ้อมูลด ้วยความเร็วสูง และทางานภายใต ้การ
่
ควบคุมของหน่ วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่ วยอืนๆ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.หน่ วยประมวลผลกลาง (Central
Processing Unit) ต่อ
1.3 รีจส
ิ เตอร ์ (Register) ต่อ
่ าคัญโดยทัวไป
่
 รีจส
ิ เตอร ์ทีส
(อาจแตกต่างกันออกไป
ตามรุน
่ ของซีพย
ี ู) มีดงั นี ้
่ ้จาก
 Accumulate Register ใช ้เก็บผลลัพธ ์ทีได
การคานวณ
่ วคราวที
่
่ั
 Storage Register เก็บข ้อมูลและคาสังช
ผ่ า นจากหน่ วยความจ าหลัก หรือ รอส่ ง กลับไปที่
หน่ วยความจาหลัก
่
 Computer
Instruction
Register
ใช
้เก็
บ
ค
าสั
and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th) งในการ
2. หน่ วยความจาหลัก (Primary
Storage)
่ บข ้อมูลและคาสังตลอดจนผลลั
่
 ทาหน้าทีเก็
พธ ์ที่
่ั
ได ้จากการ ประมวลผลของซีพย
ี เู พียงชวคราว
เช่นเดียวกัน
่ ซากั
้ นที่
 ปกติจะมีตาแหน่ งของการเก็บข ้อมูลทีไม่
เรียกว่า แอดเดรส” (address)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
2. หน่ วยความจาหลัก (Primary
Storage) ต่อ
่ นการเก็บมูลและคาสั่ง
 ต่า งจากรีจ ส
ิ เตอร ์ตรงทีเป็
เ พื่ อ ที่ จ ะ เ รี ย กใ ช ไ้ ด ้ใ น อ น า ค ต อั นใ ก ล ้ ( ไ ม่
่ นเพียงแหล่งพักขอ้ มูลซึง่
เหมือนกับรีจส
ิ เตอร ์ทีเป็
้
่ ซีพี ยู ป ระมวลผลเท่ า นั้ น) แบ่ ง
เกิ ด ขึ นขณะที
ออกเป็ น 2 ประเภทคือ
2.1 รอม (ROM : Read Only Memory)
2.2 แรม (RAM : Random Access
Memory)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
2.1 รอม (ROM : Read Only
Memory)
 หน่ วยความจ าที่ อ่ า นได อ
้ ย่ า งเดีย ว
ไม่ ส ามารถ
่ มได ้
เขียนหรือบันทึกเพิมเติ
่ ใช
่ ้บ่อยและเป็ นคาสังเฉพาะ
่
 ใช ้เก็บคาสังที
่
 ข ้อมูลใน ROM จะอยู่กบ
ั เครืองอย่
างถาวร ถึงแม้
่
ไฟจะดับหรือปิ ดเครืองไปก็
ไม่สามารถทาให ้ขอ้ มูล
่
หรือคาสังในการท
างานต่างๆหายไปได ้
 นิ ย ม เ รี ย ก อี ก อ ย่ า ง ห นึ่ ง ว่ า nonvolatile
memory
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
2.2 แรม (RAM : Random Access
Memory)
 หน่ วยความจ าที่ จดจ าข อ
้ มู ล ค าสั่งในระหว่ า งที่
ระบบกาลังทางานอยู่
่
 สามารถเปลียนแปลงแก
้ไขได ้ตลอดเวลา
 ห า กไ ฟ ดั บ ห รื อ มี ก า ร ปิ ด เ ค รื่ อ ง ข ้ อ มู ลใ น
้ กลบเลือนหายไปหมด
หน่ วยความจานี จะถู
่
่ งว่า volatile memory
 นิ ยมเรียกอีกชือหนึ
 มีหลายชนิ ดเช่น SDRAM,
DDR SDRAM,
RDRAM
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
3. หน่ วยความจาสารอง
(Secondary Storage)
 หน่ วยความจาสารอง
(Secondary Storage)
คือ หน่ วยที่ท าหน้า ที่ส าหร บ
ั เก็ บ บัน ทึก ข อ้ มู ล ,
โปรแกรมหรือ สารสนเทศ ตัว อย่ า งเช่น แผ่ น
บันทึก(Diskette or Floppy disk) ฮาร ์ดดิสก ์
(Hard Disk) ซีด-ี รอม(CD-ROM) เทปแม่เหล็ก
(Magnetic tape) ดีวด
ี ี (DVD)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
4. หน่ วยร ับและแสดงผลข้อมู ล
(input/output unit)
 คอมพิว เตอร ์ทั่วไปจะมีห น่ วยร บ
ั ข อ้ มู ล และค าสั่ง
เข ้าสูร่ ะบบ
 แปลงข อ
้ มู ล ผ่ า นอุ ป กรณ์น าข อ
้ มู ล เข า้ เช่ น
คีย ์บอร ์ด เมาส ์ สแกนเนอร ์ เป็ นต ้น
 ส่ ง ต่ อ ข อ
้ มู ล ที่ ป้ อนเข า้ ให ก
้ ับ ส่ ว นของหน่ วย
่
่ ร้ บั
ประมวลผลกลาง เพื่อทาหน้าทีตามค
าสั่งทีได
มา
 หากขาดส่ ว นร บ
ั ข อ้ มู ล และค าสั่ง มนุ ษย จ์ ะไม่
Computer and Life :: Mr.Parinya
Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
่
สามารถติดต่อสังงานคอมพิวเตอร ์ได ้
5. ทางเดินของระบบ (system bus)
่ อ้ ุปกรณ์ระหว่าง
 เสน
้ ทางผ่านของสัญญาณเพือให
หน่ วยประมวลผลกลางและหน่ วยความจาในระบบ
่
สามารถเชือมต่
อกันได ้
 เปรีย บกับ ถนนที่ให ร
้ ถยนต ว์ ิ่งไปยัง สถานที่ใดที่
หนึ่ ง หากถนนกว า้ งหรือ มี ม ากเท่ า ใด การส่ ง
้ั ยงเร็
้ านั้น
ข ้อมูลต่อครงก็
ิ่ วและมากขึนเท่
่
 จ านวนเส น
้ ทางที่ใช ้วิงบนทางเดิ
นระบบ เรียกว่า
บิ
ต
(เปรี
ย
บเที
ย
บได
้กั
บ
เลนบนถนน)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
5. ทางเดินของระบบ (system bus)
ต่อ
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
วงรอบการทางานของซีพย
ี ู
(Machine Cycle)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
สรุป
 การท างานร่ว มกับ คอมพิ ว เตอร ์
ประกอบด ว้ ย
องค ์ประกอบ 4 อย่าง คือ ฮาร ์ดแวร ์ ซอฟต ์แวร ์
บุคลากร และข ้อมูล
้
 พืนฐานการท
างานของคอมพิวเตอร ์ ประกอบด ้วย
หน่ วยทางาน 5 หน่ วย คือ หน่ วยประมวลผลกลาง
หน่ วยความจาหลัก หน่ วยความจาสารอง หน่ วย
ร ับ/แสดงผลข ้อมูล และทางเดินของระบบ
่ ้
 การทางานของซีพย
ี ูจะเปรียบเสมือนกับสมองทีใช
่ and Life :: Mr.Parinya
่
Computer
(www.freebsd.sru.ac.th)
สังการของมนุ
ษย Noidonphrai
์ ทาหน้าที
ในการประมวลผล
สรุป (ต่อ)
่ บข ้อมูลและคาสังที
่ ่
 หน่ วยความจาหลักทาหน้าทีเก็
ได ้ในการประมวลผล
่ บและบันทึกข ้อมูล
 หน่ วยความจาสารองใช ้เป็ นทีเก็
่
ไว ้ในคอมพิวเตอร ์เพือสามารถเรี
ยกใช ้ได ้ใน
ภายหลัง
 ทางเดินของระบบทางานเป็ นเสมือนเส ้นทาง
ส่งผ่านข ้อมูลระหว่างซีพย
ี ูและหน่ วยความจาให ้
่
สามารถเชือมต่
อกันได ้
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
แบบฝึ กหัด
ฮาร ์ดแวร ์และซอฟต ์แวร ์แตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย
2. นักวิเคราะห ์ระบบกับผูใ้ ช ้งานมีความสัมพันธ ์ที่
่
เกียวข
้องกันอย่างไร จงยกตัวอย่างประกอบ
่
างไรกับงานทางด ้าน
3. ช่างเทคนิ ค มีหน้าทีและบทบาทอย่
คอมพิวเตอร ์
่
4. Binary Digit คืออะไร เกียวข
้องอย่างไรกับการทางาน
ของคอมพิวเตอร ์
5. การนาเข ้าข ้อมูลสูค
่ อมพิวเตอร ์ สามารถทาไดโ้ ดยวิธ ี
ใดบ ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ
6.
ROM และ RAM เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
Computer and Life :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
1.