บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

Download Report

Transcript บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

บทที่ 6
ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน
• ต้นทุนค่าเสี ยโอกาส (Opportunity cost)
สิ่ งที่มีมูลค่าสูงสุ ดที่ตอ้ งเสี ยไป หรื อผลประโยชน์สูงสุ ดที่ผผู ้ ลิต
ไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น
• ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชดั แจ้ง (Explicit Cost and Implicit
Cost)
ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริ งและมีการจ่าย
ออกไปเป็ นตัวเงินจริ งๆ
• ต้นทุนไม่ชดั แจ้ง (Implicit Cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตจริ งๆ
แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็ นตัวเงิน เกิดจากการนาปัจจัยการผลิตที่
ตนเองเป็ นเจ้าของมาใช้ในการผลิต
ต้ นทุนทางเศรษฐศาสตร์ และต้ นทุนทางบัญชี (Economics Cost
and Accounting Cost)
• ต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economics Cost) :
ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสิ นค้านั้น ไม่วา่ จะมีการจ่ายไป
จริ งหรื อไม่กต็ าม ~ (Explicit Cost + Implicit Cost)
• ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) :
ต้นทุนในการผลิตสิ นค้าที่ผผู ้ ลิตได้มีการจ่ายจริ งและได้ลงบันทึก
รายการทางบัญชีไว้ ~ (Explicit Cost)
ต้นทุนทางเอกชนและต้นทุนทางสังคม
(Private Cost and Social Cost)
• ต้นทุนเอกชน (private Cost) : ต้นทุนการผลิตที่เจ้าของหน่วยผลิต
จะต้องจ่ายโดยตรง ดังนั้น ต้นทุนเอกชนจะเท่ากับต้นทุนทาง
เศรษฐศาสตร์
• ต้นทุนสังคม (Social Cost) : ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ อาจมี
ต้นทุนจากการผลิตบางส่ วนเกิดขึ้นกับสังคม เป็ นผลให้ตน้ ทุนสังคม
ไม่เท่ากับต้นทุนเอกชน ต้นทุนที่ตกแก่บุคคลอื่นในสังคมเรี ยกว่า
ผลกระทบภายนอก (Externalities)
Social Cost = Private Cost + Externalities
การวิเคราะห์ตน้ ทุนการผลิตในระยะสั้น
• ระยะสั้น คือ ระยะของเวลาการผลิตที่อย่างน้อยจะต้องมีปัจจัยคงที่
อย่างน้อยหนึ่งตัว ทางานร่ วมกับปัจจัยแปรผัน
• ต้นทุนการผลิตระยะสั้น จะประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และต้นทุน
แปรผัน
• ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยคงที่
เพื่อการผลิต เช่น ค่าก่อสร้าง , ค่าที่ดิน , ค่าเครื่ องจักร เป็ นต้น
• ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost : VC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัย
แปรผัน เช่นค่าจ้างแรงงาน , ค่าวัตถุดิบ เป็ นต้น
• ต้นทุนทั้งหมดในระยะสั้น (Total Cost : TC) คือ ผลรวมของ
ต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน
TC = FC + VC
• ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) คือ ต้นทุนการผลิตที่
เปลี่ยนแปลงจากการผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
MCn = TCn – TC n-1
MC = TC / Q
ในระยะสั้น MC = VC / Q เพราะ FC จะคงที่
• ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่
คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสิ นค้า
ต้นทุนเฉลี่ย จะเท่ากับ ผลรวมของต้นทุนคงที่เฉลี่ย และต้นทุนแปร
ผันเฉลี่ย
AC = AFC + AVC
หรื อ
AC = TC / Q
• ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) คือ ต้นทุนคงที่
ทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสิ นค้า, AFC decreases when Q increases
• ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) คือ ต้นทุนแปร
ผันทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสิ นค้า
AVC = VC / Q
 ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆ
จำนวนผลผลิต
ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนทั้งหมด
Q
FC
0
4
1
4
2
4
3
4
4
4
5
4
ตนทุ
้ นคงที่
VC
0
5
8
15
32
65
TC=FC+VC
4
9
12
19
36
69
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง TC , FC , VC
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆ
MC
AC=TC/Q
AFC=
TFC/Q
5
5
9
4
5
4
8
3
6
2
4
19
4
15
7
19/3
4/3
5
4
36
4
32
17
9
1
8
5
69
4
65
33
13.
4/5
13
Q
TC
TFC
TVC
0
4
4
0
1
9
4
2
12
3
AVC=
TVC/Q
ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC
ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC
(continued)
•
•
•
•
•
•
Q increases, when AFC decreases
At min. AC, AC = MC
At min. AVC, AVC = MC
Gap bt. AC and AVC = AFC
MC, AC, AVC : U shape
AFC : rectangular
ต้นทุนการผลิตระยะยาว
• ระยะยาว คือ ระยะเวลาที่ผผู ้ ลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตทุก
ชนิดได้หมด นัน่ คือ สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้
• ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Total : LTC)
จึงมีเฉพาะต้นทุนแปรผันเท่านั้น
LTC
LTC
0
Q
• ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost) คือ
ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตในระยะยาว
LAC = LTC / Q, at point B : LAC=SAC=LMC=SMC :
Optimum scale of plant (ขนาดของโรงงานที่เหมาะสมในระยะยาว)
รายรับจากการผลิต (Total Revenue)
• รายรับจากการผลิต (Total Revenue : TR)
รายได้ที่ผขู ้ ายได้รับ
จากการขายสิ นค้าและบริ การในราคาตลาด = P x Q
• รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลง
จากการที่ผผู ้ ลิตขายสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
MR = TR / Q
MRn = TRn – TR n-1
• รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับทั้งหมดที่ผผู ้ ลิตได้รับ
คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิต
AR = TR / Q
การวิเคราะห์รายรับจากการผลิต (Total Revenue)
• กรณี ราคาสิ นค้า (P) คงที่
กรณี ราคาสิ นค้า (P) ไม่คงที่
• ตารางความสั มพันธ์ ระหว่ าง MR , AR ,TR กรณีราคาสิ นค้ า
คงที่
Q
P
TR
MR
AR
1
10
10
10
10
2
10
20
10
10
3
10
30
10
10
4
10
40
10
10
5
10
50
10
10
6
10
60
10
10
เส้ นรายรับรวม (TR) กรณีทรี่ าคาสิ นค้ าคงที่
TR
TR
0
Q
ความสั มพันธ์ ของเส้ นรายรับต่ างๆ
• กรณี ราคาสิ นค้าคงที่ เส้นรายรับเฉลี่ย เส้นรายรับเพิ่มจะเป็ นเส้น
เดียวกัน คือ เป็ นเส้นตรงขนานกับแกนนอน เนื่องจากราคาสิ นค้าที่
ผูผ้ ลิตขายสิ นค้าทุกหน่วยมีราคาเดียวกันตลอด
P
P1
0
MR=AR=D=P
Q
• ตารางความสั มพันธ์ ระหว่ าง MR , AR ,TR เมื่อราคาสิ นค้ าลดลง
Q
P
TR
MR
AR
1
180
180
180
180
2
160
320
3
140
4
120
5
100
6
80
เส้ นรายรับรวม กรณีที่ราคาสิ นค้ าลดลง
กรณีทรี่ าคาสิ นค้ าทีข่ ายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์
P
P1
AR=D=P
0
MR
Q
เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกาไรสูงสุ ด (1)
•
กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมด
กับต้นทุน
ทัง้ หมด
จาก TC มากที่สุด
กำไรสูงสุดเมือ
่ TR ห่าง
กาไรรวม = TR – TC, กาไรต่
วยB= (TR/Q)
–(TC/Q)
ที่จุดอAหน่และ
TR ห่างจาก
TC มากที่สุด
= AR-AC
Slope TR = Slope TC
MR = MC
เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกาไรสูงสุ ด (2)
•
กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมด
กับต้นทุน
ทัง้ หมด
จาก TC มากที่สุด
กำไรสูงสุดเมือ
่ TR ห่าง
กาไรรวม = TR – TC, กาไรต่
วยB= (TR/Q)
–(TC/Q)
ที่จุดอAหน่และ
TR ห่างจาก
TC มากที่สุด
= AR-AC
Slope TR = Slope TC
MR = MC
เงือ่ นไขการผลิตทีไ่ ด้ รับกาไรสู งสุ ด คือ MR=MC