ประวัติและกติกาวอลเลย์บอล

Download Report

Transcript ประวัติและกติกาวอลเลย์บอล

ประวัติและกติกาวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลต่างประเทศ
กี ฬาวอลเลย์บอลเริ่ มขึ้นเมื่อปี ๒๔๓๘ โดยนายวิลเลียม จี มอร์
แกน (William G. Morgan) ผูอ้ านวยการฝ่ ายพลศึกษาของสมาคม
Y.M.C.A. (Young Men's Christian Association) เมืองฮอลโยค (Holyoke)
มลรัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริ กา เป็ นผูค้ ิ ดเกม
การเล่นขึ้น เนื่ องจากในฤดูหนาวหิ มะตกลงมา ผูค้ นทัว่ ไปไม่สามารถเล่น
กีฬากลางแจ้งได้ เขาได้พยายาม คิดและดัดแปลง กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อใช้
เป็ นกิจกรรมนันทนาการผ่อนคลายความตึงเครี ยดให้เหมาะสมกับฤดูกาล
ขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิ ส เขาได้เกิดแนวความคิดที่จะนา
ลักษณะและวิธีการ เล่นของกีฬาเทนนิ สมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่าย
เทนนิ สซึ่ งระหว่างเสาโรงยิมเนเซี ยม สู งจากพื้นประมาณ ๖ ฟุต ๖ นิ้ ว
และใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลสู บลมให้แน่ น แล้วใช้มือและแขนตี
โต้ ข้ามตาข่ายกัน ไปมา แต่ เ นื่ องจากยางใน ของลูก บาสเกตบอลเบา
เกินไปทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ชา้ และทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่ นอน จึง
เปลี่ ย นมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ ลูก บาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็ง
เกินไปทาให้มือของผูเ้ ล่นได้รับบาดเจ็บ ในที่สุดเขาจึงให้ บริ ษทั A.G.
Spalding and Brother Company ผลิตลูกบอลที่หุม้ ด้วยหนังและบุดว้ ย
ยาง มีเส้นรอบวง ๒๕-๒๗ นิ้ว มีน้ าหนัก ๙-๑๒ ปอนด์ หลังจากทดลอง
เล่ น แล้ว เขาจึ ง ตั้ง ชื่ อ เกมการเล่ น นี้ ว่ า "มิ น โตเนต" (Mintonette)
ปี พ.ศ ๒๔๓๙ มีการประชุมสัมมนาผูน้ าทางพลศึกษาที่ วิทยาลัย
สปริ งฟิ ลด์ (Spring-field College) นายวิลเลียม จี มอร์ แกน ได้สาธิ ต
วิ ธี การเล่ น ต่ อ หน้ า ที่ ป ระชุ ม หลั ง จากที่ ป ระชุ ม ได้ ช มการสาธิ ต
ศาสตราจารย์ อัลเฟรด ที เฮลสเตด ( Alfred T. Helstead) ได้เสนอแนะให้
มอร์ แ กนเปลี่ ย นจากมิ น โตเนต (Mintonette)
เป็ น "วอลเลย์บอล"
(Volleyball) โดยให้ความเห็นว่าเป็ นวิธีการเล่นโต้ลูกบอลให้ลอยข้ามตา
ข่ายไปมาในอากาศ โดยผูเ้ ล่นพยายามไม่ให้ลูกบอล ตกพื้น ต่อมา
กี ฬาวอลเลย์บอลได้แพร่ หลายและเป็ นที่ นิยมเล่ นกันในหมู่ประชาชน
ชาวอเมริ กนั เป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นเกมที่เล่นง่าย สามารถเล่นได้ตาม
ชายทุ่งชายหาด และตามค่ายพักแรมทัว่ ไป
ปี พ.ศ ๒๔๗๑ ดอกเตอร์ จอร์ จ เจ ฟิ เชอร์ ( Dr.George J.Fisher )
ได้ป รั บ ปรุ ง และเปลี่ ย นแปลงกติ ก า การเล่ น วอลเลย์บ อล เพื่ อ ใช้ใ นการ
แข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล ในระดับชาติ ซึ่งบุคคลผูน้ ้ ีเป็ นผูม้ ีบทบาทอย่างมาก
ในการเผยแพร่ กี ฬ าวอลเลย์บ อลจนได้รั บ สมญานามว่ า บิ ด าแห่ ง กี ฬ า
วอลเลย์บอล
ในปี พ.ศ. 2495 คณะกรรมการบริ หารสมาคมวอลเลย์บอลแห่ งประเทศสหรัฐอเมริ กา
ได้เสนอให้ใช้ชื่อเป็ นคาเดียวคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนาวิธีการเล่น
ให้แก่ Dr.Frank Wook ซึ่ งเป็ นนักฟิ สิ กส์ และ John Lynoh หัวหน้าหน่วยดับเพลิง
โดยได้ร่วมกันร่ างกฎเกณฑ์ในการเล่นขึ้น 10 ข้อ ดังนี้
1.เกม (Game) เกมหนึ่ งประกอบด้วย 9 อินนิ่ ง (Innings) เมื่อครบ 9 อินนิ่ ง ฝ่ ายใดได้
คะแนนมากว่าเป็ นฝ่ ายชนะ
2. อินนิ่ง หมายถึง ผูเ้ ล่นของแต่ละชุดได้เสิ ร์ฟทุกคน
3. สนามเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟุต
4. ตาข่ายกว้าง 2 ฟุต ยาว 27 ฟุต สู งจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว
5. ลูกบอลมียางในหุ ้มด้วยหนังหรื อผ้าใบ วัดโดยรอบไม่นอ้ ยกว่า 25 นิ้ วและไม่เกิน 27
นิ้ว มีน้ าหนักไม่นอ้ ยกว่า 9 ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์

6. ผูเ้ สิ ร์ฟและการเสิ ร์ฟ ผูเ้ สิ ร์ฟจะต้องยืนด้วยเท้าหนึ่งบนเส้นหลัง และตีลูกบอลด้วย
มือข้างเดียว อนุญาตให้ทาการเสิ ร์ฟได้ 2 ครั้ง เพื่อที่จะส่ งลูกบอลไปยังแดนคู่ต่อสู ้
เช่นเดียวกับเทนนิ ส การเสิ ร์ฟจะต้องตีลูกบอลได้อย่างน้อย 10 ฟุต และห้ามเลี้ยง
ลูกบอล อนุ ญาตให้ถูกตาข่ายได้ แต่ถา้ ลูกบอลถูกผูเ้ ล่นคนอื่ นๆ ก่ อนถูกตาข่าย
และถ้าลูกข้ามตาข่ายไปยังแดนคู่ต่อสู ้ถือว่าดี แต่ถา้ ลูกออกนอกสนาม จะหมด
สิ ทธ์การเสิ ร์ฟ ครั้งที่ 2
7. การนับคะแนนลูกเสิ ร์ฟที่ดีฝ่ายรับจะไม่สามารถโต้ลูกกลับมาได้ให้นบั 1 คะแนน
สาหรับฝ่ ายเสิ ร์ฟ ฝ่ ายที่จะสามารถทาคะแนนได้คือฝ่ ายเสิ ร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ ายเสิ ร์ฟ
ทาลูกบอลเสี ยในแดนของตนเอง ผูเ้ สิ ร์ฟจะหมดสิ ทธิ์ ในการเสิ ร์ฟ
8. ลูกบอลถูกตาข่าย (ลูกเสิ ร์ฟ) ถ้าเป็ นการทาเสี ยครั้งที่ 1 ให้ขานเป็ นลูกตาย
9. ลูกบอลถูกเส้น ให้ถือเป็ นลูกออก
10. การเล่นและผูเ้ ล่น การถูกตาข่ายโดยผูเ้ ล่นทาลูกบอลติดตาข่าย หรื อ ลูกบอลถูก
สิ่ งกีดขวาง และกระดอนเข้าสู่ สนามถือเป็ นลูกดี
1. นาย Elwood s. Brown ได้นากีฬาวอลเลย์บอลไปสู่ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
2. นาย J. Haward Crocher นาไปเผยแพร่ ที่ประเทศจีน
3. นาย Franklin H. Brown นาไปเผยแพร่ ที่ประเทศญี่ปุ่น
4. Dr. J.H. Cary นาไปเผยแพร่ ที่ประเทศพม่า และอินเดีย
ปี พ.ศ. 2453 นาย Elwood S. Brown เดินทางไปฟิ ลิปปิ นส์ ได้ช่วยจัดตั้งสมาคม และริ เริ่ ม
การแข่งขันครั้งแรกที่กรุ งมะนิ ลา ในปี พ.ศ. 2456 โดยเรี ยกการแข่งขันครั้งนี้ ว่า Far
Eastern Games
ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย
ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ กรมพลศึกษาได้จดั พิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดย
อาจารย์น พคุ ณ พงษ์สุว รรณ เป็ นผูแ้ ปล และท่ านเป็ นผูเ้ ชี่ ย วชาญในกี ฬ า
วอลเลย์บอล ในปี เดียวกันกรมพลศึกษาได้จดั ให้มีการแข่งขันกีฬาประจาปี
และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็ นครั้งแรก โดย
ใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และตั้งแต่น้ นั กีฬาวอลเลย์บอลก็พฒั นาขึ้นโดย
ตลอด
ปี พ.ศ ๒๕๐๐ ประเทศไทยได้จดั ตั้งสมาคมกี ฬาวอลเลย์บอลขึ้น
โดยมี พ ลเอกสุ ร จิ ต ร จารุ เ ศรณี เป็ นนายกสมาคมคนแรก เมื่ อ วัน ที่ ๑
พฤศจิ ก ายน ๒๕๐๐ และได้รั บ ชื่ อ เรี ยกอย่ า งเป็ นทางการว่ า "สมาคม
วอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่ งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association
of Thailand)
ความมุ่งหมายของกีฬาวอลเลย์บอล
1. เพื่อให้มีความรู ้เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬาวอลเลย์บอล
2. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทักษะเบื้องต้นต่างๆ ของกีฬาวอลเลย์บอลอย่าง
ถูกต้อง
3. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทีมได้อย่างถูกต้องและฉลาด
4. เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจในกติกาเกี่ยวกับการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
5. เพื่อส่ งเสริ มในการพัฒนาร่ างกาย จิตใจ สังคม และอารมณ์
6. เพื่อส่ งเสริ มให้มีนิสัยรู ้จกั การช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน
7. ส่ งเสริ มให้เป็ นคนมีน้ าใจนักกีฬา
8. เพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนาน และเพลิดเพลินในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
9. เพื่อปลูกฝังนิสัยให้รู้จกั การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์โดยการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
มารยาทของผูเ้ ล่นกีฬาวอลเลย์บอลที่ดี
แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการเล่นวอลเลย์บอล ในการแข่งขันนั้นผูเ้ ล่น
ต้องแต่งกายตามกติกา แต่ในการเล่นทัว่ ไปเพื่อความสนุกสนานหรื อเพื่อ
ออกกาลังกายควรจะแต่งกายให้เหมาะสม บางคนสวมรองเท้าแตะหรื อ
แต่งชุดไปเที่ยวลงเล่นเป็ นต้น ซึ่งอาจทาให้เกิดการบาดเจ็บระหว่างการเล่น
ได้
๒. ไม่แสดงกิริยาเสี ยดสี ลอ้ เลียน หรื อกล่าวถ้อยคาที่ไม่สุภาพต่อผูเ้ ล่นฝ่ าย
เดียวกันหรื อฝ่ ายตรงข้าม หรื อผูช้ ม
๓. เล่นตามกติกาที่กาหนดไว้ โดยปฏิบตั ิตามระเบียบกติกาการเล่นอย่าง
เคร่ งครัด
๔. มีความสุ ภาพเรี ยบร้อย แสดงความเป็ นมิตรและให้เกียรติแก่ผเู ้ ล่นฝ่ ายตรง
ข้ามก่อนและ หลังการแข่งขันเสร็ จสิ้ นลงควรจับมือผูเ้ ล่น ของทีมตรงข้าม
ไม่วา่ ทีมจะแพ้หรื อชนะก็ตาม
๑.
๕. ไม่โต้เถียงหรื อแสดงกิริยาอาการที่ไม่เหมาะสมแก่ผตู ้ ดั สิ นในการ
ตัดสิ น
๖. มีใจคอหนักแน่น อดทน อดกลั้น และสามารถควบคุมอารมณ์ของ
ตนเองได้ ถึงแม้วา่ ผูเ้ ล่นฝ่ ายเดียวกันผิดพลาดก็ไม่ควรแสดงอาการไม่
พอใจ
๗. เชื่อฟังคาสัง่ ของหัวหน้าทีม และโค้ช
๘. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนได้รับมอบหมาย
๙. รู ้จกั ระงับอารมณ์ เมื่อเกิดการยัว่ ยุจากฝ่ ายตรงข้าม
๑๐.เมื่อเล่นกีฬาแพ้หรื อชนะไม่ควรดีใจหรื อเสี ยใจจนเกินไป
๑๑.การเล่นกีฬาต้องเล่นอย่างสุ ดความสามารถ ไม่วา่ ตนเองจะเป็ นฝ่ ายแพ้
หรื อชนะ
๑๒.ต้องมีน้ าใจนักกีฬารู ้แพ้ รู ้ชนะ รู ้อภัย
๑๓.มีความตั้งใจในการฝึ กซ้อม และมีความอดทน
๑๔.มีความอดกลั้นและไม่ใช้อารมณ์รุนแรง
๑๕.ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กบั ผูอ้ ื่นในขณะฝึ กซ้อมหรื อแข่งขัน
๑๖. หลังจากการฝึ กซ้อมหรื อเล่นแล้วควรเก็บอุปกรณ์ให้เรี ยบร้อย
กติกาการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล
ลักษณะการแข่งขัน (Game Characteristic)
เป็ นกีฬาที่เล่นโดยทีมสองทีม บนสนามที่แบ่งแดนด้วยตาข่าย ลักษณะของ
การแข่งขันอาจแตกต่างกันตามสภาพที่จาเป็ น
จุดมุ่งหมายของการแข่งขัน คือ การส่ งลูกให้ขา้ มตาข่ายตกลงบนพื้นใน
แดนของทีมตรงข้าง และป้ องกันไม่ให้ทีมตรงข้ามส่ งลูกข้ามตาข่ายมาตกลงบน
พื้นในแดนของตนเอง แต่ละทีมจะถูกลูกได้ 3 ครั้ง
ตอนที่ 1 การแข่ งขัน (The Game)
กติกาข้อที่ 1
พื้นที่เล่นลูก (Playing area)
1.1 ขนาดของสนาม (Dimension)
สนามแข่งขันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 18 x 9 เมตร ล้อมรอบด้วยเขตรอบ
สนาม กว้างอย่างน้อยที่ สุด 3 เมตร ทุ กด้านที่ ว่างสาหรั บเล่นลูก คื อ ที่ ว่างเหนื อ
พื้นที่เล่นลูก ซึ่ งไม่มี สิ่ งใดกีดขวาง สู งขึ้นไปอย่างน้อยที่สุด 7 เมตร จากพื้นสนาม
สาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) และการ
แข่งขันอย่างเป็ นทางการ เขตรอบสนามต้องกว้างอย่างน้อยที่สุด 5 เมตร จากเส้น
ข้าง 8 เมตร จากเส้นหลังและที่วา่ งสาหรับเล่นลูกต้องสู งจากพื้นสนามขึ้นไปอย่าง
น้อยที่สุด 12.50 เมตร
1.2 พืน้ ผิวสนาม (PLAYING SURFACE)
1.2.1 พืน้ ผิวสนามต้ องเรียบ เป็ นพืน้ ราบและเหมือนกันตลอดทั้งสนาม ต้ องไม่ เป็ น
อันตรายจนเป็ นเหตุให้ ผ้ เู ล่ นบาดเจ็บ และไม่ อนุญาตให้ แข่ งขันบนพืน้ สนามที่
ขรุ ขระหรือลืน่ สาหรับการแข่ งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์ บอลนานาชาติ
และการแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการอนุญาตให้ ใช้ ได้ เฉพาะพืน้ ผิวสนามทีเ่ ป็ นไม้ หรือ
พืน้ ผิวสั งเคราะห์ เท่ านั้น พืน้ ผิวสนามอืน่ ใด ต้ องได้ รับการรับรองจากสหพันธ์
วอลเลย์บอลก่อนทั้งสิ้น
1.2.2 สนามแข่ งขันในร่ ม พืน้ ผิวสนามต้ องเป็ นสี สว่ างสาหรับการแข่ งขันระดับ
โลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่ งขันอย่างเป็ นทางการ เส้ น
สนามต้ องเป็ นสี ขาว ส่ วนพืน้ สนามแข่ งขันและบริเวณเขตรอบสนามต้ องเป็ นสี
แตกต่ างกันออกไป
1.2.3 สนามแข่ งขันกลางแจ้ ง อนุญาตให้ พนื้ ผิวสนามลาดเอียงได้ 1 มิลลิเมตร ต่ อ
1 เมตร เพือ่ การระบายนา้ ห้ ามใช้ ของแข็งทาเส้ นสนาม
1.3 เส้ นบนพืน้ สนาม (LINES ON THE COURT)
1.3.1 เส้ นทุกเส้ นกว้ าง 5 เซนติเมตร เป็ นสี สว่ างแตกต่ างจากสี ของพืน้ ผิวสนาม
และเส้ นอืน่ ๆ
1.3.2 เส้ นเขตสนาม เส้ นข้ าง 2 เส้ น และเส้ นหลัง 2 เส้ น เป็ นเส้ นกาหนดเขต
สนามแข่ งขัน เส้ นทั้งหมดนีต้ ้ องอยู่ภายในเขตของสนามแข่ งขัน
1.3.3 เส้ นแบ่ งแดน กึง่ กลางเส้ นแบ่ งแดน จะแบ่ งสนามแข่ งขันออกเป็ น 2 ส่ วนเท่ า
ๆ กัน ขนาด 9 x 9 เมตร เส้ นนีล้ ากจากเส้ นข้ างด้ านหนึ่งไปยังเส้ นข้ างอีกดานหนึ่ง
ใต้ ตาข่ าย
1.3.4 เส้ นรุ ก แต่ ละแดนของสนามจะมีเส้ นรุ กซึ่งริมสุ ดด้ านนอกของเส้ นจะขีดห่ าง
จากจุดกึง่ กลางของเส้ นแบ่ งแดน 3 เมตร เป็ นเครื่องหมายของเขตรุ ก สาหรับการ
แข่ งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่ งขันอย่ างเป็ น
ทางการ เส้ นรุ กจะถูกขีดต่ อออกไปจากเส้ นข้ างทั้ง 2 เส้ น เป็ นเส้ นประ กว้ าง 5
เซนติเมตร ยาวเส้ นละ 15 เซนติเมตร 5 เส้ น และเว้ นช่ องว่ างระหว่ างเส้ นไว้ ช่องละ
20 เซนติเมตร รวมยาวข้ างละ 1.75 เมตร
1.4 เขตและพืน้ ทีต่ ่ าง ๆ (Zone And Areas)
1.4.1 เขตรุก เขตรุกของแต่ ละแดนจะถูกกาหนดจากึง่ กลางของเส้ นแบ่ งเขตแดน ไปจนถึงริมสุ ด
ด้ านนอกของเส้ นรุกเขตรุก ถือเสมือนว่ ามีความยาวจากเส้ นทั้งสองไปจนถึงริมสุ ดของเขตรอบ
สนาม
1.4.2 เขตเสิ ร์ฟ เขตเสิ ร์ฟมีพนื้ ทีก่ ว้ าง 9 เมตร อยู่เลยเส้ นหลังแต่ ละเส้ นออกไปเส้ นขนานสั้ นๆ 2
เส้ น ยาวเส้ นละ 15 เซนติเมตร เป็ นเส้ นกาหนดเขตเสิ ร์ฟ เส้ นทั้งสองนีจ้ ะตีห่างจากเส้ นหลัง 20
เซนติเมตร เหมือนกับแนวต่ อจากเส้ นข้ าง และรวมอยู่ในความกว้ างของเขตเสิ ร์ฟด้ วยในแนวลึก
เขตเสิ ร์ฟจะยาวออกไปจนถึงปลายสุ ดของเขตรอบสนาม
1.4.3 เขตเปลีย่ นตัว คือ เขตทีอ่ ยู่ภายในแนวของเส้ นรุ กทั้งสองเส้ นไปจนถึงโต๊ ะผู้บันทึกการ
แข่ งขัน
1.4.4 พืน้ ทีอ่ บอุ่นร่ างกาย สาหรับการแข่ งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์ บอลนานาชาติและ
การแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการ พืน้ ทีอ่ บอุ่นร่ างกายขนาด 3 x 3 เมตร จะอยู่ทนี่ อกเขตรอบสนาม
ตรงมุมสนามด้ านเดียวกับม้ านั่งของผู้เล่ นสารอง
1.4.5 พืน้ ทีท่ าโทษ พืน้ ทีท่ าโทษขนาดประมาณ 1 x 1 เมตร มีเก้ าอีต้ ้ังไว้ 2 ตัวอยู่ในพืน้ ทีค่ วบคุม
การแข่ งขัน (CONTROL AREA) แต่ อยู่เลยแนวของเส้ นหลังและมีเส้ นแดงกว้ าง 5 เซนติเมตร
กาหนดพืน้ ที่
1.5 อุณหภูมิ (TEMPERATURE)
อุณหภูมติ า่ สุ ดต้ องไม่ ตา่ กว่ า 10 องศาเซลเซียส การแข่ งขันระดับโลกของสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการ แสงสว่ างบนพืน้ ที่เล่ นลูก
ต้ องมีความสว่ าง 1,000 – 1,500 ลักซ์ โดยวัดทีร่ ะดับความสู งจากพืน้ สนาม 1 เมตร
แผนผังการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอล
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
ผูต้ ดั สินที่ ๑
ผูต้ ดั สินที่ ๒
โต๊ะผูบ้ นั ทึก ผูจ้ บั เวลา ผูก้ ดป้าย
คะแนน
โต๊ะที่นัง่ สาหรับผูเ้ ล่นสารอง ผู้
ฝึ กสอน ผูช้ ่วยผูฝ้ ึ กสอน ฯลฯ
ผูก้ ากับเส้น
ผูเ้ ก็บบอล
เขตอบอุ่นร่างกายของผูเ้ ล่นสารอง
กติกาข้ อที่ 2 ตาข่ ายและเสาขึงตาข่ าย (Net and Posts)
2.1 ความสู งของตาข่ าย (HEIGHT OF THE NET)
2.1.1 ตาข่ าย ขึงเป็ นแนวตั้งเหนือเส้ นเบ่ งแดน สาหรับทีมชาย ขอบบนสุ ดต้ องสู งจากพืน้ ที่ 2.43
เมตร ทีมหญิง 2.24 เมตร
2.1.2 ความสู งของตาข่ าย วัดที่กึ่งกลางของสนามความสู งของตาข่ าย (เหนือเส้ นทั้งสอง) ต้ องสู ง
เท่ ากัน แต่ จะสู งเกินกว่ าความสู งทีก่ าหนด 2 เซนติเมตรไม่ ได้
2.2 โครงสร้ าง (STRUCTURE)
ตาข่ ายมีความกว้ าง 1 เมตร และยาว 9.50 ถึง 10.00 เมตร (โดยมีความยาวเหลืออยู่ 25 ถึง 50
เซนติเมตร จากแถบข้ างแต่ ละด้ าน) ทาด้ วยวัสดุสีดา เป็ นตาสี่ เหลี่ยมจตุรัสขนาด 10 เซนติเมตร
ที่ขอบบนของตาข่ ายมีแถบขนานกับพืน้ พับ 2 ชั้ น สี ขาว กว้ าง 7 เซนติเมตร เย็บติดตลอดความ
ยาวของตาข่ าย ที่ปลายสุ ดแต่ ละข้ างเจาะรู ไว้ ข้างละ 1 รู เพื่อร้ อยเชื อกผูกกับเสาขึง ตาข่ ายดึงให้
แถบบนสุ ดของตาข่ ายตึง ภายในแถบมีสายที่ยืดหยุ่นได้ สาหรั บผูกกับเสา เพื่อทาให้ ส่วนบนสุ ด
ของตาข่ ายตึง ทีต่ าข่ ายด้ านล่ างมีแถบขนานกับพืน้ กว้ าง 5 เซนติเมตร ภายในแถบมีสายทีย่ ดื หยุ่น
ได้ สาหรับผูกกับเสาเพือ่ ให้ ส่วนล่ างของตาข่ ายตึง
2.3 แถบข้ าง (SIDE BANDS)
แถบสี ขาว 2 เส้ น ผูกในแนวตั้งกับตาข่ ายเหนือทั้ง 2 เส้ น แถบข้ างกว้ าง 5
เซนติเมตร ยาว 1 เมตร และถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งของตาข่ าย
2.4 เสาอากาศ (ANTENNAE)
เสาอากาศเป็ นแท่ งกลมยืดหยุ่นได้ ยาว 1.80 เมตร เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 10 มิลลิเมตร
ทาด้ วยใยแก้ วหรือวัสดุทคี่ ล้ ายคลึงกันเสาอากาศแต่ ละต้ นถูกยึดติดอยู่ทรี่ ิมด้ าน
นอกของแถบข้ างทั้งสอง แต่ อยู่คนละด้ านของตาข่ าย ส่ วนบนสุ ดของเสาอากาศ
ถือเป็ นสี สลับกันเป็ นช่ วง ๆ ยาวช่ องละ 10 เซนติเมตร ส่ วนมากแล้วนิยมใช้ สีแดง
และขาว เสาอากาศถือเป็ นส่ วนหนึ่ง ของตาข่ าย เป็ นแนวขนานที่กาหนดพืน้ ที่ข้าม
ตาข่ าย
2.5 เสาขึงตาข่ าย (POSTS)
2.5.1 เสาขึงตาข่ ายยึดติดกับพืน้ สนาม ห่ างจากเส้ นข้ าง 0.50 – 1.00 เมตร มีความสู ง
2.55 เมตร สามารถปรั บ ระดั บ ได้ ส าหรั บ การแข่ ง ขั น ระดับ โลกของสหพัน ธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการ เสาขึงตาข่ ายยึดติด กับพืน้
สนาม ห่ างจากเส้ นข้ า ง 1 เมตร เว้ น แต่ ว่ า ได้ รั บ การยิ น ยอมจากสหพั น ธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติ
2.5.2 เสาขึงตาข่ ายมีลักษณะกลมและเรี ยบ ยึดติดกับพืน้ โดยไม่ มีสายยึด เสาและต้ อง
ไม่ เป็ นสิ่ งที่ก่อให้ เกิดอันตรายและไม่ เป็ นสิ่ งกีดขวางใด ๆ
2.6 อุปกรณ์ อื่น ๆ (ADDITIONAL EQUIPMENT) อุปกรณ์ อื่นใดให้ ขึ้นอยู่กับ
ข้ อตกลงตามระเบียบของสหพันธ์ วอลเลย์ บอลนานาชาติ
กติกาข้ อที่ 3 ลูกบอล (Balls)
3.1 มาตรฐาน (STANDARD) ลูกบอลต้องกลม ทาด้วยหนังฟอกหรื อหนังสังเคราะห์ที่ยืด หยุน่ ได้
ห่ อหุ ้มลูกบอลทรงกลมที่ทาด้วยยาง หรื อวัสดุ ที่คล้ายคลึ งกัน สี ของลูกบอลอาจเป็ นสี อ่อน ๆ
เหมือนกันทั้งลูก หรื ออาจเป็ นหลายสี ผสมกันก็ได้ ลูกบอลซึ่ งทาด้วยวัสดุที่เป็ นหนังสังเคราะห์มี
หลายสี ผสมกันและจะใช้ในการแข่งขันระดับนานาชาติอย่างเป็ นทางการ ต้องมีมาตรฐานตามที่
สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติกาหนด ลูกบอลต้องมีแรงดันลม 0.30 – 0.325 กิโลกรัม/ตาราง
เซนติเมตร ลูกบอลต้องมีเส้นรอบวงกลม 65 – 67 เซนติเมตร และมีน้ าหนัก 260 – 280 กรัม
3.2 รู ปแบบของลูกบอล (UNIFORMITY OF BALLS) ลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันต้องมีเส้นรอบวง
น้ า ห นั ก แ ร ง อั ด ช นิ ด แ ล ะ สี ต า ม า ต ร ฐ า น เ ดี ย ว กั น ก า ร แ ข่ ง ขั น ร ะ ดั บ โ ล ก
ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและรวมทั้งระดับชาติ หรื อการแข่งขันลีก (League) ของแต่
ละประเทศต้อง ใช้ลูกบอลที่ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ รับรองเท่ านั้น เว้นแต่ ได้รับการ
ยินยอมจากสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ
3.3 ระบบการใช้ลูกบอล 3 ลูก (THREE – BALL SYSTEM) การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็ นทางการ จะใช้ลูกบอล 3 ลูก โดยมีผกู้ ลิ้งบอล 6
คน ประจาที่ มุมของเขตรอบสนามทั้ง สี่ มุม มุ มละ 1 คน และข้างหลังผูต้ ดั สิ นด้านละ 1 คน
กติกาข้ อที่ 4 ทีม (Teams)
4.1 ส่ วนประกอบของทีม (TEAM COMPOSITION)
4.1.1 ทีมประกอบด้ วยผู้เล่ นไม่ เกิน 12 คน ผู้ฝึกสอน 1 คน ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน 1 คน
เทรนเนอร์ 1คน และแพทย์ 1 คน ส าหรั บ การแข่ ง ขั น ระดับ โลกของสหพัน ธ์
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการ แพทย์ ต้องขึน้ ทะเบี ยนกับ
สหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติก่อนการแข่ งขัน
4.1.2 ผู้เล่ นคนหนึ่งของทีมที่ไม่ ใช่ ตัวรั บอิสระ (LIBERO PLAYER) ต้ องเป็ น
หัวหน้ าทีมและจะระบุไว้ ในใบบันทึกการแข่ งขัน
4.1.3 ผู้เล่ นที่มีชื่ออยู่ในใบบันบันทึกการแข่ งขันเท่ านั้นจึงจะลงสนามและร่ วมการ
แข่ งขันได้ เมื่อผู้ฝึกสอนและหัวหน้ าทีม (TEAM CAPTAIN) ลงชื่อในใบบันทึก
การแข่ งขันแล้ วจะเปลีย่ นแปลงผู้เล่ นอีกไม่ ได้
4.2 ตาแหน่ งทีอ่ ยู่ของทีม (LOCATION OF THE TEAM)
4.2.1 ผู้เล่ นที่ไม่ ได้ ลงแข่ งขันควรนั่งม้ านั่งหรื ออยู่ในพืน้ ที่อบอุ่นร่ างกายของทีม
ตนเอง ผู้ฝึกสอนและผู้ร่วมทีมคนอืน่ ต้ องนั่งบนม้ านั่ง แต่ อาจลุกจากม้ านั่งเป็ นครั้ง
คราว ม้ านั่งของทีมตั้งอยู่ข้าง ๆ โต๊ ะผู้บันทึก นอกเขตรอบสนาม
4.2.2 เฉพาะผู้ร่วมทีมเท่ านั้นที่ได้ รับอนุญาตให้ นั่งม้ านั่งระหว่ างการแข่ งขันและร่ วม
การอบอุ่นร่ างกายก่ อนการแข่ งขัน
4.2.3 ผู้เล่ นทีไ่ ม่ ได้ ลงแข่ งขันสามารถอบอุ่นร่ างกายโดยไม่ ใช่ ลุกบอลได้ ดงั นี้
4.2.3.1 ระหว่ างการแข่ งขันในพืน้ ทีอ่ บอุ่นร่ างกาย
4.2.3.2 ระหว่ างขอเวลานอกและเวลาเทคนิคในเขตรอบสนามด้ านหลังแดนของทีม
ตนเอง
4.2.4 ช่ วงพักระหว่ างเชต ผู้เล่ นสามารถอบอุ่นร่ างกายโดยใช้ ลูกบอลได้ ในเขตรอบ
สนามของทีมตนเอง
4.3 เครื่องแต่ งกาย (EQUIPMENT) เครื่ องแต่ งกายของผู้เล่ นประกอยด้ วย เสื้ อยืด กางเกงขาสั้ น
ถุงเท้ า (ชุ ดแข่ งขัน) และรองเท้ า
4.3.1 สี และแบบของเสื้ อยืด กางเกงขาสั้ น และถุ งเท้ าต้ อง เหมือนกันทั้งทีม (ยกเว้ นตัวรั บอิสระ
LIBERO PLAYER) และสะอาด
4.3.2 รองเท้ าต้ องเบาและอ่ อนนุ่ ม พืน้ เป็ นยางหรื อหนังไม่ มีส้น สาหรั บการแข่ งขันระดับโลกของ
สหพันธ์ วอลเลย์ บอลนานาชาติและ การแข่ งขันอย่ างเป็ นทางการในรุ่ นที่ไม่ กาจัดอายุสีรองเท้ า
ต้ องเป็ นสี เดียวกันทั้งทีม แต่ เครื่องหมายการค้ าอาจมีสีแตกต่ างกันได้ เสื้อ และกางเกงต้ องเป็ นไป
ตามมาตรฐานของสหพันธ์ วอลเลย์ บอลนานาชาติ
4.3.3 เสื้อผู้เล่ นต้ องมีเครื่องหมาย 1 – 18
4.3.3.1 ต้ องติดเครื่องทีก่ ลางอกและกลางหลังสี ของเครื่องหมายเลขต้ องตัดกับสี เสื้ ออย่ างชัดเจน
4.3.3.2 หมายเลขด้ า นหน้ า ต้ อ งสู ง อย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด 15 เซนติ เ มตร ด้ า นหลัง อย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด 20
เซนติเมตร และความกว้ างของแถบทีท่ าหมายเลข ต้ องกว้ างอย่ างน้ อยทีส่ ุ ด 1 เซนติเมตร
4.3.4 หัวหน้ าทีมต้ องมีแถบยาว 8 เซนติเมตร กว้ าง 2 เซนติเมตร ติดอยู่ใต้ หมายเลขตรงอกเสื้อ
4.3.5 ห้ ามใส่ ชุดแข่ งขันทีม่ หี มายเลขไม่ ถูกต้ อง หรือชุ ทมี่ สี ี แตกต่ างจากผู้เล่ นอืน่
4.4 การเปลีย่ นเครื่องแต่ งกาย (CHANGE OF EQUIPMENT)
ผู้ตดั สิ นคนที่ 1 มีอานาจทีจ่ ะให้ ผ้ เู ล่ น 1 คน หรือมากกว่ า
4.4.1 ลงแข่ งขันโดยไม่ สวมรองเท้ าก็ได้
4.4.2 เปลีย่ นชุ ดทีเ่ ปี ยกช่ วงพักระหว่ างเชต หรือหลังจากการเปลีย่ นตัวได้ โดยสี
แบบ และหมายเลขของชุ ดใหม่ ต้องเหมือนับชุ ดเดิม
4.4.3 สวมชุ ดวอร์ มลงแข่ งขันได้ ถ้ าอากาศหนาว ถ้ าสี และแบบของชุ ควอร์ ม
เหมือนกันทั้งทีม และหมายเลขต้ องเป็ นไปตามปกติ
4.5 สิ่ งที่ห้ามสวมใส่ (FORBIDDEN OBJECTS)
4.5.1 ห้ ามสวมใส่ สิ่งของซึ่งอาจเป็ นสาเหตุให้ เกิดการบาดเจ็บหรือช่ วยให้ ผ้ เู ล่ น
ได้ เปรียบผู้อนื่
4.5.2 ผู้เล่ นอาจสวมแว่ นตาหรือคอนเทคเลนซ์ ได้ โดยรับผิดชอบอันตรายทีอ่ าจ
เกิดขึน้ ด้ วยตัวเอง
กติกาข้ อที่ 5 ผู้นาของทีม (Team leader)
5.1 หัวหน้ าทีม (CAPTAIN)
5.1.1 ก่ อนการแข่ งขัน หัวหน้ าทีมเป็ นผู้ลงชื่อในใบบันทึกการแข่ งขันและเป็ นผู้แทนของทีมในการเสี่ ยง
5.1.2 ระหว่ างการแข่ งขันและขณะอยู่ในสนามแข่ งขันหัวหน้ าทีม (TEAM CAPTAIN) ผู้นาในการ
แข่ งขัน เมื่อหัวหน้ าทีมไม่ ได้ เล่ นอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนหรื อหัวหน้ าทีมต้ องแต่ งตั้งผู้เล่ นคนหนึ่งที่
อยู่ในสนาม แต่ ต้องไม่ ไช่ ตัวรับอิสระ ทาหน้ าทีห่ ัวหน้ าทีมในการแข่ งขัน (GAME CAPTAIN) และ
ต้ องรับผิดชอบไปจนกว่ าหัวหน้ าทีม (TEAM CAPTAIN) จะเปลี่ยนตัวมาลงเล่ นอีกหรื อจนกว่ าจะ
สิ้นสุ ดเซตนั้นเมื่อลูกตาย หัวหน้ าทีมในการแข่ งขันเท่ านั้นที่มีสิทธิเป็ นผู้แทนของผู้เล่ นทั้งหมดพูด
กับผู้ตัดสิ น เพือ่
5.1.2.1 ขอคาอธิบายในการตีความกติกาหรือนากติกามาใช้ และร้ องขอหรือถามคาถามของเพื่อร่ วมทีม
ถ้ าคาอธิบายไม่ เป็ นที่พอใจ หัวหน้ าในการแข่ งขันต้ องประท้ องการตัดสิ นนั้นและสงวนสิ ทธิบันทึก
การประท้ องอย่ างเป็ นทางการ ในใบบันทึกการแข่ งขัน เมือ่ การแข่ งขันจบสิ้นลง
5.1.2.2 ขอสิ ทธิ
ก. เปลีย่ นชุ ดหรืออุปกรณ์ การแข่ งขันบางส่ วนหรือทั้งหมด
ข. ข. ตรวจตาแหน่ งผู้เล่ นของทีม
ค. ค. ตรวจพืน
้ สนาม ตาข่ าย และลูกบอล
5.1.2.3 ขอเวลานอกและเปลีย่ นตัวผู้เล่ น
5.1.3 เมือ่ สิ้นสุ ดการแข่ งขันหัวหน้ าทีมต้ อง
5.1.3.1 แสดงความขอบคุณผู้ตัดสิ นและลงชื่ อในใบบันทึกการแข่ งขันการประท้ อง
อย่ างเป็ นทางการต่ อผู้ตัดสิ น เกี่ยวกับการนากติกาใช้ หรื อตีความกติกาลงในใบ
บันทึกการแข่ งขัน
5.2 ผู้ฝึกสอน (COACH)
5.2.1 ตลอดการแข่ งขัน ผู้ฝึกสอนเป็ นผู้ควบคุมการเล่ นของทีมภายในสนามแข่ งขัน เป็ นผู้เลือกผู้เล่ น 6
คนแรก เปลีย่ นตัวผู้เล่ นและขอเวลานอก ผู้ฝึกสอนทาหน้ าทีด่ งั กล่ าวได้ โดยขอผ่ านทางผู้ตัดสิ นที่ 2
5.2.2 ก่ อนการแข่ งขัน ผู้ฝึกสอนต้ องบันทึกหรื อตรวจสอบรายชื่ อและหมายเลขของผู้เล่ นในใบบันทึก
การแข่ งขัน
5.2.3 ระหว่ างการแข่ งขัน ผู้ฝึกสอนต้ อง
5.2.3.1 ยืนใบส่ งตาแหน่ งของผู้เล่ นทีล่ งชื่อแล้ ว ให้ ผ้ ูตัดสิ นหรือผู้บนั ทึกก่ อนการแข่ งขันทุกเซต
5.2.3.2 นั่งม้ านั่งของทีมซึ่งใกล้ กบั ผู้บนั ทึกมากทีส่ ุ ดแต่ อาจลูกจากม้ านั่งได้ เป็ นครั้งคราว
5.2.3.3 ขอเวลานอกและเปลีย่ นตัวผู้เล่ น
5.2.3.4 ผู้ ฝึ กสอนรวมทั้ง ผู้ ร่ ว มทีม อื่น ๆ อาจให้ ค าแนะนาผู้ เ ล่ นในสนามได้ โดยผู้ ฝึ กสอนอาจให้
คาแนะนาผู้ เล่ นในสนามได้ โดยผู้ฝึกสอนอาจให้ คาแนะนาขณะที่ยืนหรื อเดินภายในเขตเล่ นลู ก
(FREE ZONE) ด้ านหน้ าของม้ านั่ง ผู้เล่ นสารองตั้งแต่ แนวที่ยื่นออกมาของเส้ นรุ กจนถึงพืน้ ที่
อบอุ่นร่ างกายแต่ ต้องไม่ รบกวนหรือถ่ วงเวลาการแข่ งขัน
5.3 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน (ASSISTANT COACH)
5.3.1 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนนั่งบนม้ านั่งของทีม แต่ ไม่ มสี ิ ทธิใด ๆ ทีจ่ ะหยุดการแข่ งขัน
5.3.2 ถ้ าผู้ฝึกสอนไม่ อยู่ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอาจทาหน้ าที่ผ้ ูฝึกสอนแทนได้ โดยการขอ
อนุ ญาตของหัวหน้ าทีมในขณะแข่ งขัน (GAME CAPTAIN) และได้ รับการ
ยินยอมจากผู้ตดั สิ นที่ 1
กติกาข้ อที่ 6 การได้ คะแนน การชนะในแต่ ละเซตและการชนะในแต่ ละนัด
6.1 การได้ คะแนน (TO SCORE A POINT)
6.1.1 คะแนน ทีมได้ คะแนนเมื่อ
6.1.1.1 ทาให้ ลูกบอลตกลงบนพืน้ สนามในแดนของทีมตรงข้ าม
6.1.1.2 ทีมตรงข้ ามทาผิดกติกา
6.1.1.3 ทีมตรงข้ ามถูกลงโทษ
6.1.2 การทาผิดกติกา ทีมทาผิดกติกาเมื่อลักษณะของการเล่ นตรงข้ ามกับกติกาการแข่ งขัน
(หรือขัดแย้ งกับกติกาโดยวิธีอนื่ ใด) ผู้ตดั สิ นจะตัดสิ นการการกระทาผิดและตัดสิ นใจดาเนินการตามกติกา
ดังนี้
6.1.2.1 ถ้ ามีการเล่ นผิดกติกาสองอย่ างหรือมากกว่ าเกิดขึน้ ต่ อเนื่องกัน จะลงโทษเฉพาะการผิดกติกาที่
เกิดขึน้ ก่ อนเท่ านั้น
6.1.2.2 ถ้ าทั้งสองทีมเล่ นผิดกติกาสองอย่ างหรือมากกว่ าพร้ อม ๆ กันทั้งสองทีม จะถือว่ าเป็ นการกระทา
ผิดทั้งคู่ และจะเล่ นลูกนั้นใหม่
6.1.3 ผลที่ตามมาเมื่อชนะการเล่ นลูก การเล่ นลูกเป็ นลักษณะการเล่ นที่เริ่มต้ นตั้งแต่ ผู้เสิ ร์ฟทาการเสิ ร์ฟ จน
กระทั้งลูกตาย
6.1.3.1 ถ้ าทีมที่เป็ นฝ่ ายเสิ ร์ฟชนะการเล่ นลูกจะได้ คะแนนและได้ เสิ ร์ฟต่ อ
6.1.3.2 ถ้ าทีมที่เป็ นฝ่ ายรับลูกเสิ ร์ฟชนะการเล่ นลูกจะได้ คะแนนและได้ เสิ ร์ฟในครั้งต่ อไป
6.2 การชนะในแต่ ละเซต (TO WIN A SET)ทีมที่ทาได้ 25 คะแนนก่ อน (ยกเว้ นเซต
ตัดสิ น) และมีคะแนนนาทีมตรงข้ ามอย่ างน้ อยที่สุก 2 คะแนน จะเป็ นทีมชนะการ
แข่ งขันเซตนั้น ถ้ าทาได้ 24 คะแนนเท่ ากัน จะแข่ งขันกันต่ อไปจนกว่ าทีมใดทีม
หนึ่งอย่ างน้ อยทีส่ ุ ด 2 คะแนน
6.3 การชนะการแข่ งขันแต่ ละนัด (TO WIN THE MATCH)
6.3.1 ทีมที่ทาได้ 3 เซต เป็ นทีมทีช่ นะการแข่ งขันนัดนั้น
6.3.2 ในกรณีที่ได้ เซตเท่ ากัน 2 : 2 การแข่ งขันเซตตัดสิ น (เซตที่ 5) จะแข่ งขันกัน
15 คะแนน และต้ องมีคะแนนนาอีกทีมหนึ่งอย่ างน้ อย 2 คะแนน
6.4 ทีม ที่ผิด ระเบี ย บการแข่ ง ขั น และไม่ พ ร้ อ มจะแข่ ง ขั น (DEFAULT AND
INCOMPLETE TEAM)
6.4.1 ถ้ าทีมปฏิเสธที่จะแข่ งขัน หลังจากได้ รับแจ้ งให้ แข่ งขันต่ อ ที มนั้นจะถูกแจ้ ง
ว่ าทาผิดระเบียบการแข่ งขัน และปรั บเป็ นแพ้ ในการแข่ งขันนัดนั้น ด้ วยผลการ
แข่ งขัน 0 – 3 เซต คะแนน 0 – 25 ในแต่ ละเซต
6.4.2 ทีมที่ไม่ ปรากฏตัว ณ สนามแข่ งขันตามเวลาที่กาหนดโดยไม่ มีเหตุผลอัน
สมควร ถือว่ าผิดระเบียบการแข่ งขันและมีผลการแข่ งขันเช่ นเดียวกับกติกาข้ อ
6.4.1
6.4.3 ทีมที่ถูกแจ้ งว่ าไม่ พร้ อมในการแข่ งขันนัดใดนัดหนึ่งหรื อการแข่ งขันเซตใด
เซตหนึ่ง จะแพ้ ในเซตนั้นหรื อการแข่ งขันนัดนั้น ทีมตรงข้ ามจะได้ คะแนนและ
เซตเพื่อเป็ นทีมชนะในเซตหรื อการแข่ งขันนัดนั้น ส่ วนทีมที่ไม่ พ ร้ อมจะแข่ งขัน
จะยังคงได้ คะแนนและเชตทีท่ าไว้
กติกาข้ อที่ 7 โครงสร้ างการแข่ งขัน (Structure of Play)
7.1 การเสี่ ยง (TOSS) ก่ อนการแข่ งขัน ผู้ตดั สิ นที่ 1 จะทาการเสี่ ยงเพือ่ ตัดสิ นว่ าทีมใด
จะทาการเสิ ร์ฟก่ อนหรืออยู่แดนใด ในเซตที่ 1 ถ้ าต้ องการแข่ งขันเซตตัดสิ นจะต้ อง
ทาการเสี่ ยงใหม่ อกี ครั้งหนึ่ง
7.1.1 การเสี่ ยงต้ องทาโดยมีหัวหน้ าทีมทั้งสองทีมร่ วมอยู่ด้วย
7.1.2 ผู้ชนะการเสี่ ยงจะสิ ทธิเลือกอย่ างใดอย่ างหนึ่ง ดังนี้
7.1.2.1 เลือกเสิ ร์ฟหรือรับลูกเสิ ร์ฟ
7.1.2.2 เลือกแดนใดแดนหนึ่งของสนามก็ได้ ผู้แพ้ การเสี่ ยงจะได้ รับส่ วนทีเ่ หลือ
7.1.3 ในกรณีทที่ าการอบอุ่นร่ างกายมาพร้ อมกัน ทีมทีท่ ากาเสิ ร์ฟก่อนจะทาการ
อบอุ่นร่ างกายที่ตาข่ ายก่ อน
7.2 การอบอุ่นร่ างกาย (WARM-UP SESSION)
7.2.1 ก่ อนการแข่ งขัน ถ้ าทีมมีสนามอบอุ่นร่ างกายทีจ่ ัดไว้ ให้ แล้ ว แต่ ละทีมจะทา
การอบอุ่นร่ างกายที่ตาข่ ายได้ ทมี ละ 5 นาที
7.2.2 ถ้ าหัวหน้ าทีมทั้งสองตกลงทาการอบอุ่นร่ างกายที่ตาข่ ายพร้ อมกันจะอบอุ่น
ร่ างกายได้ 6 นาที หรือ 10 นาที
7.3 ตาแหน่ งการเริ่มต้ นของทีม (TEAM STARTING LINE-UP)
7.3.1 ทีมต้ อมีผู้เล่ น 6 คนเสมอ ในการแข่ งขันตาแหน่ งเริ่มต้ นของทีม แสดงถึงลาดับการหมุน
ตาแหน่ งของผู้เล่ นในสนามลาดับนีต้ ะคงอยู่ตลอดเวลานั้น
7.3.2 ก่ อนการเริ่มแข่ งขันแต่ ละเซตผู้ฝึกสอนต้ องแจ้ งตาแหน่ งเริ่มต้ นเล่ นทีมของตนเองในใบส่ ง
ตาแหน่ ง ซึ่งเขียนหมายเลขของผู้เล่ นและลงชื่อกากับแล้ ว ส่ งให้ ผ้ ูตัดสิ นที่ 2 หรือผู้บนั ทึกการ
แข่ งขัน
7.3.3 ผู้เล่ นทีไ่ ม่ ได้ อยู่ในตาแหน่ งเริ่มต้ นเล่ นของทีม จะเป็ นผู้เล่ นสารองในเซตนั้น
7.3.4 เมือ่ ใบส่ งตาแหน่ งเริ่มต้ นเล่ น ถูกนาส่ งให้ ผ้ ูตัดสิ นที่ 2 หรือผู้บนั ทึกการแข่ งขันแล้ ว จะไม่
อนุญาตให้ มกี ารเปลีย่ นแปลงใบส่ งตาแหน่ งอีก นอกจากต้ องการทาการเปลีย่ นตัวผู้เล่ นตามปกติ
7.3.5 ถ้ าพบว่ ามีการผิดพลาดระหว่ างใบส่ งตาแหน่ งกับตาแหน่ งของผู้เล่ นในสนาม
7.3.5.1 ถ้ าพบว่ ามีการผิดพลาดก่ อนเริ่มการแข่ งขันของเซต ผู้เล่ นต้ องเปลีย่ นตาแหน่ งให้
เป็ นไปตามใบส่ งตาแหน่ งโดยไม่ มกี ารลงโทษ
7.3.5.2 อย่ างไรก็ตามถ้ าผู้ฝึกสอนต้ องการให้ ผ้ ูเล่ นเปลีย่ นทีไ่ ม่ ได้ ระบุไว้ ในใบส่ งตาแหน่ ง
ยังคงอยู่ในสนาม ผู้ฝึกสอนต้ องของเปลีย่ นตัวตามปกติและต้ องบันทึกลงในใบบันทึกการแข่ งขัน
7.4 ตาแหน่ ง (POSITIONS)
ขณะทีผ่ ้ เู สิ ร์ฟทาการเสิ ร์ฟลูกบอล แต่ ละทีมต้ องอยู่ในแดนของตนเองตามลาดับการห
มุมตาแหน่ ง
7.4.1 ตาแหน่ งของผู้เล่ นจาแนกได้ ดงั นี้
7.4.1.1 ผู้เล่ นแถวหน้ า 3 คน ทีอ่ ยู่ใกล้ ตาข่ ายเป็ นผู้เล่ นแถวหน้ าอยู่ในตาแหน่ งที่ 4
ตาแหน่ งที่ 3 และตาแหน่ งที่ 2
7.4.1.2 ส่ วนอีก 3 คน เป็ นผู้เล่ นแถวหลังอยู่ในตาแหน่ งที่ 5 ตาแหน่ งที่ 6 ตาแหน่ งที่ 1
ตาแหน่ งของผู้เล่ นจะถือตาแหน่ งของเท้ าที่แตะพืน้ เป็ นเครื่องหมายกาหนด
หมายเลข ๑ ตาแหน่ง หลังขวา มีหน้าที่เสิ ร์ฟและรับลูกบอลป้ อนไปยังแดนหน้า
หมายเลข ๒ ตาแหน่ง หน้าขวา มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอลหน้าตาข่าย
หมายเลข ๓ ตาแหน่ง หน้ากลาง มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอลหน้าตาข่าย
หมายเลข ๔ ตาแหน่ง หน้าซ้าย มีหน้าที่สกัดกั้น เล่นลูกบอลหน้าตาข่าย
หมายเลข ๕ ตาแหน่ง หลังซ้าย มีหน้าที่รับและป้ อนลูกบอลไปยังแดนหน้า
หมายเลข ๖ ตาแหน่ง กลางหลัง มีหน้าที่รับและป้ อนลูกบอลไปยังแดนหน้า
7.4.2 ความเกีย่ วข้ องของตาแหน่ งระหว่ างผู้เล่ น
7.4.2.1 ผู้เล่ นแถวหลังแต่ ละคนต้ องมีตาแหน่ งอยู่ด้านหลังทั้งคู่ของตนเองทีเ่ ป็ นผู้เล่ น
แถวหน้ า
7.4.2.2 ผู้เล่ นแถวหน้ าและแถวหลังแต่ ละคู่ต้องอยู่ในตาแหน่ งข้ างเดียวกันตามลาดับ
การหมุนตาแหน่ งทีร่ ะบุไว้ ในกติกาข้ อ 7.4.1
7.4.3 ตาแหน่ งของผู้เล่ นจะพิจารณาและควบคุมจากตาแหน่ งของเท้ าทีส่ ั มผัสพืน้
ดังนี้
7.4.3.1 ผู้เล่ นแถวหน้ าแต่ ละคนต้ องมีส่วนหนึ่งส่ วนใดของรองเท้ าอยู่ใกล้เส้ นแบ่ ง
แดนมากกว่ าเท้ าของผู้เล่ นแดนตน
7.4.3.2 ผู้เล่ นทีอ่ ยู่ทางขวา (หรือทางซ้ าย) ต้ องมีส่วนใดส่ วนหนึ่งของเท้ าใกล้ กบั
เส้ นทางขวา (หรือซ้ าย) มากกว่ าผู้เล่ นทีอ่ ยู่ตาแหน่ งกลางของแถวเดียวกัน
7.4.4 เมือ่ ทาการเสิ ร์ฟลูกบอลออกไปแล้ ว ผู้เล่ นสามารถเคลือ่ นทีไ่ ปอยู่ตาแหน่ งใดก็ได้
ในแดนและเขตรอบสนามตน
7.5 การผิดตาแหน่ ง (POSITIONAL FAULT)
7.5.1 ทีมจะผิดตาแหน่ ง ถ้ าผู้เล่ นคนใดคนหนึ่งไม่ อยู่ไม่ อยู่ในตาแหน่ งทีถ่ ูกต้ อง
ขณะทีผ่ ้ เู สิ ร์ฟทาการเสิ ร์ฟลูกบอล
7.5.2 ถ้ าผู้เสิ ร์ฟเสิ ร์ฟผิดกติกาขณะทีท่ าการเสิ ร์ฟ จะถือว่ าการเสิ ร์ฟผิดปกติเกิดขึน้
ก่อนการผิดตาแหน่ งของทีมตรงข้ าม
7.5.3 ถ้ าการเสิ ร์ฟผิดกติกาหลังจากทาการเสิ ร์ฟออกไปแล้ว จะถือว่ าการผิด
ตาแหน่ งเกิดขึน้ ก่อน
7.5.4 การทาผิดตาแหน่ งจะมีผลตามมาดังนี้
7.5.4.1 เป็ นฝ่ ายแพ้ ในการเล่ นลูกครั้งนั้น
7.5.4.2 เปลีย่ นตาแหน่ งของผู้เล่ นให้ ถูกต้ อง
7.6 การหมุนตาแหน่ ง (ROTATION)
7.6.1 ลาดับการหมุนตาแหน่ งจะเป็ นไปตามใบส่ งตาแหน่ งเริ่มต้ นของทีมและ
ควบคุมด้ วยลาดับการเสิ ร์ฟและตาแหน่ งของผู้เล่ นตลอดทั้งเซต
7.6.2 เมือ่ ทีมทีร่ ับลูกเสิ ร์ฟได้ สิทธ์ ในการทาเสิ ร์ฟ ผู้เล่ นต้ องหมุนต้ องหมุนไปตาม
เข็มนาฬิ กาไป 1 ตาแหน่ ง
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๒ หมุนไปตาแหน่งที่ ๑ เพื่อทาการ
เสิ ร์ฟ
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๑ หมุนไปตาแหน่งที่ ๖
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๖ หมุนไปตาแหน่งที่ ๕
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๕ หมุนไปตาแหน่งที่ ๔
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๔ หมุนไปตาแหน่งที่ ๓
ผูเ้ ล่นตาแหน่งที่ ๓ หมุนไปตาแหน่งที่ ๒
7.7 การหมุนตาแหน่ งผิด (ROTATIONAL FAULT)
7.7.1 การหมุ นต าแหน่ ง ผิด เกิด ขึ้น เมื่อ การเสิ ร์ ฟไม่ เ ป็ นไปตามตาแหน่ งการหมุ น
ตาแหน่ ง และมีผลตามมาดังนี้
7.7.1.1 เป็ นฝ่ ายแพ้ ในเล่ นลูกครั้งนั้น
7.7.1.2 ต้ องเปลีย่ นตาแหน่ งของผู้เล่ นให้ ถูกต้ อง
7.7.2 นอกจากนั้ น ผู้บันทึกต้ องตัดสิ นใจหยุดการแข่ งขันทันทีที่มีการผิด
ตาแหน่ ง และยกเลิกคะแนนที่ได้ ทาทั้งหมดขณะที่ผิดตาแหน่ ง
ส่ วนคะแนนของที่ทาได้ ท้งั หมดขณะผิดตาแหน่ งส่ วนคะแนนของ
ทีมตรงข้ ามให้ คงไว้ คงเดิมถ้ าคะแนนขณะผิดตาแหน่ งไม่ ส ามารถ
ตรวจพบได้ ใ ห้ ล งโทษเพี ย งเป็ นฝ่ ายแพ้ ใ นการเล่ น ลู ก ครั้ ง นั้ น
เท่ านั้น
กติกาข้อที่ 8
การเปลี่ยนตัว
8.1 ข้ อจากัดขอกการเปลีย่ นตัว (LIMIYION OF SUBSTITUTION)
8.1.1 ทีมหนึ่งจะเปลี่ยนตัวได้ มากที่สุด 6 คนต่ อเซต การเปลี่ยนตัวแต่ ละ
ครั้งจะเปลีย่ นเพียง 1 คน หรือมากกว่ าก็ได้
8.1.2 ผู้ เ ล่ น ที่ เ ริ่ ม ต้ น เล่ น ในเซตนั้ น จะเปลี่ ย นตั ว ออกได้ ห นึ่ ง ครั้ ง และ
กลับมาเข้ าไปเล่นได้ อกี หนึ่งครั้ง ในตาแหน่ งเดิม ตามใบส่ งตาแหน่ ง
8.1.3 ผู้เล่ นสารองจะเปลี่ยนเข้ าแทนผู้เล่ นที่เริ่ มต้ นเล่ นในเซตนั้นได้ เพียง
ครั้ งเดียวในแต่ ละเซต และผู้ที่จะเปลีย่ นตัวเข้ ามาแทนผู้เล่ นสารองต้ องเป็ นผู้เล่ นคน
เดิมเท่ านั้น
8.2 การเปลี่ยนตัวที่ได้ รับการยกเว้ น (EXCEPTIONAL SUBSTITUTION)
ผู้เล่ นทีไ่ ด้ รับบาดเจ็บ (ยกเว้ นผู้รับอิสระ) จนแข่ งขันต่ อไปไม่ ได้ จะเปลีย่ นตัวตาม
กติ ก า ถ้ า เปลี่ย นตั ว ตามกติ ก าไม่ ไ ด้ ที ม นั้ น จะได้ รั บ การยกเว้ น ให้ เปลี่ย นได้
นอกเหนือจากกติกาที่กาหนดไว้ ใน การเปลี่ยนตัวที่ได้ รับยกเว้ นจะไม่ นับรวม
กับการเปลีย่ นตัวตามปกติ ไม่ ว่ากรณีใด
8.3 การเปลี่ยนตัวผู้เล่ นที่ถูกทาโทษออกจากการแข่ งขันหรื อขาดคุ ณสมบัติที่จะ
แข่ งขันหรือขาดคุณสมบัติที่จะแข่ งขัน (SUBSTITUTION FOR EXPULSION
OR DISQUALIFICATION)ผู้เล่ นที่ถูกทาโทษให้ ออกจากการแข่ งขันหรื อขาด
คุ ณสมบัติที่จะแข่ งขัน ต้ องทาการเปลี่ยนตัวตามกติกา ถ้ าทาการเปลี่ยนตัวตาม
กติกาไม่ ได้ จะถือว่ าทีมนั้นเป็ นทีมทีไ่ ม่ พร้ อมจะแข่ งขัน
8 . 4 ก า ร เ ป ลี่ ย น ตั ว ที่ ผิ ด ก ติ ก า ( ILLEGAL
SUBSTITUTION)
8.4.1 การเปลี่ยนตัวจะผิดกติกา ถ้ านอกเหนือจากข้ อจากัดที่กาหนดไว้ ใน
กติกาข้ อ 8.1
8.4.2 เมื่อทีมทาการเปลี่ยนตัวผิดกติกา และการแข่ งขันได้ เ ล่ นต่ อไปแล้ ว
จะต้ องดาเนินการดังนี้ (กติกาข้ อ 9.1)
8.4.2.1 ทีมถูกลงโทษให้ เป็ นฝ่ ายแพ้ ในการเล่ นลูกครั้งนั้น
8.4.2.2 แก้ ไขการเปลีย่ นตัวให้ ถูกต้ อง
8.4.2.3 คะแนนที่ ท าได้ ต้ั ง แต่ ท าผิ ด กติ ก าของที ม นั้ น จะถู ก ตั ด ออก ส่ วน
คะแนนของทีมตรงข้ ามยังคงไว้ ตามเดิม
กติกาข้อที่ 9 รูปแบบต่างๆ ของการเล่น
9.1 ลูกบอลทีอ่ ยู่ในการเล่ น (BALL IN PLAY)
ลูกบอลจะอยู่ในการเล่ นตั้งแต่ ขณะทีท่ าการเสิ ร์ฟ โดยผู้ตดั สิ นที่ 1 เป็ นผู้อนุญาต
(กติกาข้ อ 13.3)
9.2 ลูกบอลทีไ่ ม่ ได้ อยู่ในการเล่ น หรือลูกตาย (BALL OUT OF PLAY)
ลูกบอลทีไ่ ม่ ได้ อยู่ในการเล่ น ตั้งแต่ ขณะทีม่ กี ารทาผิดกติกาซึ่งผู้ตดั สิ นคนใดคน
หนึ่งจะเป็ นผู้ให้ สัญญาณนกหวีด การทาผิดกติกาสิ้นสุ ดลงพร้ อมๆกับสั ญญาณ
นกหวีด
9.3 ลูกบอลอยู่ในสนาม (BALL IN)
ลูกบอลอยู่ในสนาม เมือ่ ลูกบอลถูกพืน้ สนามแข่ งขันรวมทั้งเส้ นเขตสนาม (กติกา
ข้ อ 1.1, 1.3.2)
9.4 ลูกบอลออกนอกสนาม (BALL OUT)ลูกบอลออกนอกสนามเมือ่
9.4.1 บางส่ วนของลูกบอลตกลงบนพืน้ นอกเส้ นเขตสนามอย่ างสมบูรณ์
9.4.2 ลูกบอลถูกสิ่ งของที่อยู่ภายนอกสนาม เพดาน หรือผู้ทไี่ ม่ ได้ แข่ งขันด้ วย
9.4.3 ลูกบอลถูกเสาอากาศ เชือก เสา หรือตาข่ ายทีอ่ ยู่นอกแถบข้ าง (กติกาข้ อ 2.3)
9.4.4 ลูกบอลข้ ามตาข่ าย นอกเขตแนวตั้งที่กาหนดให้ ลูกบอลผ่ านอย่ างสมบูรณ์
หรือเพียงบางส่ วน (ยกเว้ นกรณีกติกาข้ อ 11.1.2, 11.1.1)
9.4.5 ลูกบอลลอดใต้ ตาข่ ายไปยังแดนของทีมตรงข้ ามอย่ างสมบูรณ์
กติกาข้อที่ 10 การเล่นลูกบอล
10.1 การถูกลูกบอลของที ม (TEAM HITS) ที มถูกลูกบอลได้มากที่ สุด 3 ครั้ ง
(นอกจากทาการสกัดกั้นตามกติ กาข้อ 15.4.1) เพื่อส่ งลูกบอลกลับไปยังที มตรง
ข้าม ถ้าถูกลูกบอลมากกว่านี้ ถือว่าทีมทาผิดกติกา “ถูกลูก 4 ครั้ง” การถูกลูกบอล
ของทีม นับรวมทั้งที่ผเู ้ ล่นตั้งใจถูกหรื อไม่ต้ งั ใจถูกก็ตาม
10.1.1 การถูกลูกบอลอย่างต่อเนื่ อง (CONSECUTIVE CONTACTS) ผูเ้ ล่นจะถูก
ลูกบอล 2 ครั้งติดต่อกันไม่ได้ (ยกเว้นกติกาข้อ 10.2.3, 15.2, 15.4.2)
10.1.2 การถูกลูกบอลพร้อมกัน (SIMULTENEOUS CONTACTS) ผูเ้ ล่น 2 คน
หรื อ 3 คนอาจถูกลูกบอลพร้อมๆกันได้ในเวลาเดียวกัน
10.1.2.1 เมื่อผูเ้ ล่นทีมเดียวกัน 2 คน (3 คน) ถูกบอลพร้อมๆกัน จะถือว่าเป็ นการถูก
บอล 2 ครั้ง (3 ครั้ง) ยกเว้นเมื่อทาการสกัดกั้น ถ้าผูเ้ ล่นหลายคนถึงลูกบอลพร้อม
กัน แต่มีผเู ้ ล่นถูกลูกบอลเพียงคนเดียว จะถือว่าถูกลูกบอล 1 ครั้ง ถึงแม้วา่ ผูเ้ ล่นชน
กันก็ไม่ถือว่าผิดกติกา
10.1.2.2 เมื่อทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมๆกันเหนื อตาข่าย และยังเล่นลูกบอลนั้น
ต่อไปได้ ที มรับที่ รับลูกนั้นสามารถถูกลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง ถ้าลูกบอลออกนอก
สนาม จะถือว่าที มที่ อยู่ฝั่งตรงข้ามกับลูกบอลเป็ นฝ่ ายทาลูกบอลออกนอกสนาม
10.1.2.3 ถ้าการถูกลูกบอลพร้อม ๆ กันทั้งสองทีมเป็ นการจับลูก (CATCH) จะถือ
ว่าผิดกติกาทั้งสองทีม และต้องเล่นลูกนั้นใหม่
10.1.3 การเล่นลุกบอลโดยมีกาช่วยเหลือ (ASSISTED HIT) ภายในบริ เวณพื้นที่
เล่น ไม่อนุ ญาตให้ผเู ้ ล่นอาศัยเพื่อนร่ วมที มหรื อสิ่ งใด ๆ ช่วยให้ไปถึงลูกบอลได้
อย่างไรก็ตาม ผูเ้ ล่นที่กาลังจะทาผิดกติกา (โดยกาลังจะถูกตาข่ายหรื อเส้นขั้นเขต
แดน) อาจถูกฉุ ดหรื อดึงโดยเพื่อนร่ วมทีมได้
10.2 การถูกลูกบอลในลักษณะต่ าง ๆ (CHARACTERISTICS OF THE HIT)
10.2.1 ลูกบอลอาจถูกส่ วนใดส่ วนหนึ่งของร่ างกายได้
10.2.2 การถูกลูกบอลต้ องเป็ นการกระทบ ไม่ ใช่ จับหรือโยน ลูกบอลจะสะท้ อน
กลับในทิศทางใดก็ได้
10.2.3 ลูกบอลอาจถูกหลายส่ วนของร่ างกายได้ ถ้ าการถูกนั้นเกิดขึน้ พร้ อม ๆ กัน
10.2.3.1 ในการสกกัดกั้น ลูกบอลอาจถูกผู้สกัดกั้นคนเดียวหรือมากกว่ าติดต่ อกัน
ได้ ถ้ าการถูกลูกบอลเป็ นลักษณะการเล่ นลูกบอลเพียงครั้งเดียว
10.2.3.2 การถูกลูกบอลครั้งแรกของทีม ลูกบอลอาจถูกส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย
ต่ อเนื่องกันได้ ถ้ าการถูกลูกบอลเป็ นลักษณะการเล่ นลูกครั้งเดียว
10.3 การทาผิดกติกาในการเล่นลูกบอล (FAULT IN PLATING THR BALL)
10.3.1 การถูกลูกบอล 4 ครั้ง ทีมถูกลูกบอล 4 ครั้งก่อนส่ งลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม
10.3.2 การถูกลูกบอลโดยมีการช่วยเหลือ ผูเ้ ล่นอาศัยเพื่อนร่ วมทีมหรื อสิ่ งของใดๆ
ช่วยให้เข้าถึงลูกบอลภายในบริ เวณพื้นที่เล่นลูก
10.3.3 การจับลูกบอล ผูเ้ ล่นไม่ได้กระทบลูกแต่จบั และ / หรื อโยนลูกบอล
10.3.4 การถูกลูกบอลติดต่อกัน 2 ครั้ง ผูเ้ ล่นถูกลูกบอล 2 ครั้ง หรื อถูกส่ วนต่าง ๆ
ของร่ างกายในการเล่นลูก 1ครั้ง
กติกาข้อที่ 11 ลูกบอลที่บริเวณตาข่าย
11.1 การข้ามตาข่ายของลูกบอล (BALL CROSSING THE NET)
11.1.1 ลูกบอลที่ส่งไปยังทีมตรงข้าม ต้องข้ามเหนือตาข่ายภายในพื้นที่สาหรับข้ามตาข่าย พื้นที่
สาหรับข้ามตาข่ายคือ พื้นที่ในแนวตั้งของตาข่ายที่ถูกกาหนดด้วยสิ่ งต่อไปนี้
11.1.1.1 ส่ วนต่าสุ ด โดยขอบบนของตาข่าย
11.1.1.2 ด้านข้าง โดยมีเสาอากาศและแนวสมมุติที่สูงขึ้นไป
11.1.1.3 ส่ วนบนสุ ด โดยเพดาน
11.1.2 ลูกบอลที่ขา้ มแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของทีมตรงข้ามโดยทุกส่ วนของลูกบอล
หรื อเพียงบางส่ วนของลูกบอลอยูน่ อกแนวข้ามตาข่าย ลูกบอลอาจกลับมาเล่นต่อได้โดยเล่นลูก
ไม่เกิน 3 ครั้ง ถ้า
11.1.2.1 ผูเ้ ล่นไม่ถูกแดนของทีมตรงข้าม
11.1.2.2 ลูกบอลที่เล่นกันมา ข้ามนอกเขตข้ามตาข่ายลูกบอล ทางด้านเดียวกันของสนาม
ทั้งลูกหรื อเพียงบางส่ วนของลูก ทีมตรงข้ามจะกีดขวางการเล่นลูกนี้ไม่ได้
11.2 การถูกตาข่ ายของลูกบอล (BALL TOUCHING THE NET)
ลูกบอลอาจถูกตาข่ ายได้ ขณะทีก่ าลังข้ ามตาข่ าย
11.3 ลูกบอลทีช่ นตาข่ าย (BALL IN THE NET)
11.3.1 ลูกบอลทีพ่ ่ งุ ชนตาข่ ายยังเล่ นต่ อไปได้ จนครบ 3 ครั้ง ตามกาหนดการเล่ นลูก
11.3.2 ถ้ าลูกบอลทาให้ ลูกบอลทาให้ ตาข่ ายฉีกขาด หรือทาให้ ตาข่ ายหลุดให้ ยกเลิก
การเล่ นลูกครั้งนั้นและนามาเล่ นกันใหม่
กติกาข้อที่ 12 ผูเ้ ล่นที่บริเวณตาข่าย
12.1 การลา้ เหนือตาข่ าย (REACHING BEYOND THE NET)
12.1.1 ในการสกัดกั้น ผู้สกัดกั้นอาจลา้ ตาข่ ายเข้ าไปถูกลูกบอลได้ ถ้าไม่ กดี ขวางการเล่ นลูกของ
ทีมตรงกันข้ าม คือไม่ ถูกลูกก่ อนหรือไม่ ถูกลูกขณะทีท่ มี ตรงกันข้ ามทาการรุ ก
12.1.2 ภายหลังการตบลูกบอล มือของผู้เล่ นอาจลา้ ตาข่ ายได้ ถ้ าขณะถูกลูกเป็ นการถูกลูกบอลใน
แดนของทีมของตนเอง
12.2 การลา้ ใต้ ตาข่ าย (PENETRATION UNDER THE NET)
12.2.1 อนุญาตให้ ลา้ เข้ าไปในแดนของทีมตรงข้ ามใต้ ตาข่ ายได้ ถ้ าไม่ ขดั ขวางการเล่ นของทีม
ตรงข้ าม
12.2.2 การลา้ เส้ นแบ่ งแดนเข้ าไปในแดนของทีมตรงข้ าม
12.2.2.1 อนุญาตให้ เท้ าหรือมือข้ างเดียว (2 ข้ าง) ถูกแดนของทีมตรงข้ ามได้ ถ้ าส่ วนใดส่ วนหนึ่ง
ของเท้ าหรือมือยังคงแตะ หรืออยู่เหนือเส้ นแบ่ งแดน
12.2.2.2 ส่ วนอืน่ ๆ ของร่ างกายจะถูกแดนของทีมตรงข้ ามไม่ ได้
12.2.3 ผู้เล่ นอาจเข้ าไปในแดนของทีมตรงข้ ามได้ หลังจากลูกตายแล้ ว
12.2.4 ผู้เล่ นอาจลา้ เข้ าไปในเขตรอบสนามของทีมตรงกันข้ ามได้ ถ้ าไม่ กดี ขวางการเล่ นของทีม
ตรงกันข้ าม
12.3 การถูกตาข่าย (CONTACT WITH THE NET)
12.3.1 การถูกตาข่ายหรื อเสาอากาศไม่ผดิ กติกา เว้นแต่เมื่ออยูใ่ นลักษณะเล่นลูกหรื อกีดขวาง
การเล่น การเล่นลูกบางลักษณะอาจรวมถึงลักษณะที่ผเู้ ล่นไม่ได้ถกู ลูกบอลในขณะนั้นด้วย
12.3.2 เมื่อผูเ้ ล่นได้เล่นลูกบอลไปแล้ว ผูเ้ ล่นอาจถูกเสาเชือก หรื อสิ่ งใด ๆ ที่อยูน่ อกระยะ
ความยาวของตาข่ายได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่น
12.3.3 ถ้าลูกบอลที่พงุ่ ชนตาข่ายทาให้ตาข่ายไปถูกผูเ้ ล่นทีมตรงข้ามไม่ถือว่าผิดกติกา
12.4 การผิดกติกาของผูเ้ ล่นที่ตาข่าย (PLAYERS’ FAULTS AT THE NET)
12.4.1 ผูเ้ ล่นถูกลูกบอลหรื อถูกผูเ้ ล่นทีมตรงข้าม ในแดนของทีมตรงกันข้าม หรื อระหว่างที่
ทีมตรงกันข้ามทาการรุ ก
12.4.2 ผูเ้ ล่นล้ าเข้าไปในที่วา่ งใต้ตาข่ายของทีมตรงข้ามและกีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม
12.4.3 ผูเ้ ล่นล้ าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้าม
12.4.4 ผูเ้ ล่นถูกตาข่าย หรื อเสาอากาศขณะอยูใ่ นลักษณะของการเล่นลูก หรื อกีดขวางการเล่น
กติกาข้อที่ 13 การเสิรฟ์
13.1 การเสิ ร์ฟครั้งแรกในแต่ ละเซต (FIRST SERVICE IN A SET)
13.1.1 ทีมใดจะได้ เสิ ร์ฟลูกแรกในเซตที่ 1 และเซตตัดสิ น (เซต 5) มีผลมาจากการ
ตัดสิ นใจของทีมเมือ่ ทาการเสี่ ยง
13.1.2 ในเซตอืน่ ๆทีมทีไ่ ม่ ได้ เสิ ร์ฟลูกแรกในเซตทีผ่ ่ านมาจะเป็ นทีมที่ทาการเสิ ร์ฟ
ลูกแรก
13.2 ลาดับการเสิ ร์ฟ (SERVICE ORDER)
13.2.1 ลาดับการเสิ ร์ฟของผู้เล่ นต้ องเป็ นไปตามทีบ่ ันทึกไว้ ในใบส่ งตาแหน่ ง
13.2.2 หลังจากากรเสิ ร์ฟครั้งแรกในแต่ ละเซตผู้เล่ นทีเ่ สิ ร์ฟครั้งต่ อไปจะเป็ นดังนี้
13.2.2.1 เมือ่ ฝ่ ายเสิ ร์ฟชนะการเล่ นลูกนั้น ผู้ทที่ าการเสิ ร์ฟอยู่แล้ว (หรือผู้เล่ น
สารองเปลีย่ นตัวเข้ ามาแทน) จะทาการเสิ ร์ฟต่ อไปอีก
13.2.2.2 เมือ่ ฝ่ ายรับลูกเสิ ร์ฟชนะในการเล่ นลูกนั้นจะได้ สิทธ์ ทาการเสิ ร์ฟและต้ อง
หมุนตาแหน่ งก่ อนทาการเสิ ร์ฟ ผู้เล่ นทีห่ มุนจากตาแหน่ งหน้ าขวาไปยังหลังขวาจะ
เป็ นผู้เสิ ร์ฟ
13.3 การอนุญาตให้ เสิ ร์ฟ (AUTHORIZATION OF THE SERVICE)
ผู้ตัดสิ นที่ 1 เป็ นผู้อนุญาตให้ เสิ ร์ฟ หลังจากการตรวจดูว่าทั้งสองทีมพร้ อมแข่ งขัน และผู้
เสิ ร์ฟถือลูกบอลไว้ แล้ ว
13.4 การปฏิบัติในการเสิ ร์ฟ (EXECUTION OF THE SERVICE)
13.4.1 หลังจากผู้เสิ ร์ฟโยนหรือปล่ อยลูกบอลออกจากมือแล้ วจะเสิ ร์ฟด้ วยมือหรือส่ วนใด
ส่ วนหนึ่งของแขนเพียงข้ างเดียว
13.4.2 อนุญาตให้ ทาการโยนลูกบอลเพือ่ ทาการเสิ ร์ฟเพียงครั้งเดียว แต่ อนุญาตให้ เดาะหรือ
เคลือ่ นไหวลูกบอลในมือได้
13.4.3 ขณะทาการเสิ ร์ฟหรือกระโดดเสิ ร์ฟ ผู้เสิ ร์ฟต้ องไม่ ถูกพืน้ ที่เขตสนาม (รวมทั้งเส้ น
หลังด้ วย) หรือพืน้ ที่นอกเขตเสิ ร์ฟหลังจากทาการเสิ ร์ฟแล้ ว ผู้เสิ ร์ฟจึงสามารถเหยียบหรือ
ถูกพืน้ นอกเขตเสิ ร์ฟและพืน้ ในเขตสนามได้
13.4.4 ผู้เสิ ร์ฟต้ องทาการเสิ ร์ฟลูกภายใน 8 นาที หลังจาก ผู้ตัดสิ นที่ 1 เป่ านกหวีดให้ ทาการ
เสิ ร์ฟ
13.4.5 การเสิ ร์ฟก่ อนสั ญญาณนกหวีดของผู้ตัดสิ น ต้ องยกเลิกและให้ ทาการเสิ ร์ฟใหม่
13.5 การกาบัง (SCREENING)
13.5.1 ผูเ้ ล่นของทีมที่กาลังจะทาการเสิ ร์ฟ คนเดียวหรื อหลายคนก็ตามไม่บงั ทีมตรงข้ามเพื่อมิให้
มองเห็นผูเ้ สิ ร์ฟเคลื่อนไหวแขน กระโดด หรื อเคลื่อนที่ไปข้าง ๆ ขณะที่กาลังทาการเสิ ร์ฟ เพื่อบัง
ทิศทางที่ลูกบอลพุง่ ไป จะถือว่าเป็ นการกาบัง
13.6 การกระทาผิดระหว่างทาการเสิ ร์ฟ (FAULTS MADE DURING THE SEERVIC)
13.6.1 การเสิ ร์ฟที่ผดิ กติกา การผิดกติกาต่อไปนี้จะต้องเปลี่ยนเสิ ร์ฟ ถึงแม้วา่ ทีมตรงข้ามจะผิด
ตาแหน่ง
13.6.1.1 ทาการเสิ ร์ฟผิดลาดับการเสิ ร์ฟ
13.6.1.1 ทาการเสิ ร์ฟไม่ถูกต้อง
13.6.2 การผิดกติกาหลังจากการเสิ ร์ฟลูกบอลออกไปอย่างถูกต้องแล้ว การเสิ ร์ฟนั้นอาจผิดกติกาได้
13.62.1 ถ้าลูกบอลถูกผูเ้ ล่นของทีมที่ทาการเสิ ร์ฟหรื อไม่ผา่ นพื้นที่วา่ งเหนือตาข่ายอย่างสมบูรณ์
13.6.2.2 ลูก “ออก” กติกาข้อ 9.4
13.6.2.3 ลูกบอลผ่านเหนือการกาบัง
กติกาข้อที่ 14 การรุก
14.1 การรุ ก (ATTACK HIT)
14.1.1 การกระทาใด ๆ ที่ส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้ ามยกเว้ นการเสิ ร์ฟและการสกัดกั้น ถือว่ าเป็ นการรุก
14.1.2 ขณะทาการรุ ก อนุญาตให้ ใช้ ปลายนิว้ เล่นลูกได้ ถ้าการถูกลูกเป็ นไปอย่ างชัดเจน และไม่ ได้ ใช้ ฝ่ามือ
จับหรือโยนลูกบอลออกไป
14.1.2 การรุ กจะสมบูรณ์ เมื่อลูกได้ ข้ามแนวดิ่งของตาข่ ายไป แล้ วทั้งลูกหรือเมื่อทีมตรงข้ ามถูกลูก
14.2 ข้ อกาจัดของการรุก (RESTRICTIONS OF THE ATTACK HIT)
14.2.1 ผู้เล่ นแถวหน้ าสามารถทาการรุกที่ระดับความสู งเท่ าใดก็ได้ ถ้ าการถูกลูกบอลอยู่ภายในแดนของผู้
เล่นเอง
14.2.2 ผู้เล่ นแถวหลังสามารถทาการรุ กทีร่ ะดับความสู งเท่ าใดก็ได้ จากหลังเขตรุ ก
14.2.2.1 ขณะกระโดด เท้ าข้ างหนึ่ง (ทั้งสองข้ าง) ต้ องไม่ แตะหรือข้ ามเส้ นรุ ก
14.2.2.2 หลังจากตบลูกแล้ว จึงจะลงยืนในเขตรุ กได้
14.2.3 ผู้เล่ นแถวหลังสามารถทาการรุ กในเขตรุกได้ ถ้ าถูกลูกบอลในขณะทีท่ กุ ส่ วนของลูกบอลไม่ อยู่
เหนือกว่ าขอบบนสุ ดของตาข่ าย
14.2.4 ไม่ อนุญาตให้ ผ้ เู ล่นทุกคนตบลูกบอลที่ทมี ตรงข้ ามเสิ ร์ฟมา เมื่อลูกบอลอยู่ในเขตรุก และลูกบอลอยู่
ในเขตรุ ก และลูกบอลทั้งลูกอยู่เหนือขอบบนสุ ดของตาข่ าย
14.3 การรุ กทีผ่ ดิ กติกา (FAULTS OF THE ATTACK HIT)
14.3.1 ถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ าม
14.3.2 ตบลูกออกนอกเขตสนาม
14.3.3 ผู้เล่ นแถวหลังทาการรุ กในเขตรุ ก ขณะทีล่ ูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุ ดของตา
ข่ ายทั้งลูก
14.3.4 ตบลูกบอลทีท่ มี ตรงข้ ามเสิ ร์ฟมา ขณะทีล่ ูกบอลอยู่ในเขตรุ กและอยู่เหนือ
ขอบบนสุ ดของตาข่ ายทั้งลูก
14.3.5 ตัวรับอิสระทาการรุ ก โดยขณะถูกลูกบอล ลูกบอลทั้งลูกอยู่เหนือขอบ
บนสุ ดของตาข่ าย
14.3.6 ผู้เล่ นทาการรุ กขณะลูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุ ดของตาข่ าย โดยตัวรับอิสระ
ทีอ่ ยู่ในแดนหน้ าเป็ นผู้ใช้ นิว้ ส่ งลูกบอลมาให้ ด้วยการเล่ นลูกบนมือบน
กติกาข้อที่ 15 การสกัดกั้น
15.1 การสกัดกั้น (BLOCK)
15.1.1 การสกัดกั้นคือ การเล่ นของผู้เล่ นทีอ่ ยู่ชิดตาข่ ายเพือ่ ป้ องกันลูกบอลทีจ่ ะมาจากทีมตรง
ข้ าม โดยเอือ้ มมือสู งกว่ าระดับสู งสุ ดของตาข่ าย
ผู้เล่ นแถวหน้ าเท่ านั้นทีไ่ ด้ รับอนุญาตให้ ทาการสกัดกั้นได้
15.1.2 ความพยายามทีจ่ ะสกัดกั้น คือลักษณะของการทาการสกัดกั้นแต่ ไม่ ถูกลูกบอล
15.1.3 การสกัดกั้นทีส่ มบูรณ์ คือการสกัดกั้นทีส่ มบูรณ์ คือการสกัดกั้นทีผ่ ้ ูสกัดกั้นถูกลูกบอล
15.1.4 การสกัดกั้นเป็ นกลุ่ม คือการสกัดกั้นโดยผู้เล่ นสองหรือสามคนทีอ่ ยู่ใกล้ ๆ กัน การสกัดกั้น
จะสมบูรณ์ เมือ่ ผู้เล่ นคนใดคนหนึ่งถูกลูกบอล
15.2 การถูกลูกบอลขณะทาการสกัดกั้น (BLOCK CONTACT)
การถูกลูกบอลหลายครั้ง (อย่ างรวดเร็วและต่ อเนื่อง) โดยผู้สกัดกั้นคนเดียวหรือมากกว่ าอาจ
เกิดขึน้ ได้ ถ้ าการถูกลูกนั้นเป็ นลักษณะทาการสกัดกั้นเพียงครั้งเดียว
15.3 การสกัดกั้นในแดนของทีมตรงข้ าม (BLOCKING WITHIN THE
OPPONENT’S SPACE)
ในการสกัดกั้น ผู้เล่ นยืน่ มือแขนลา้ ตาข่ ายได้ ถ้ าไม่ กดี ขวางการเล่นของทีมตรงข้ าม
การสกัดกั้นจะถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ ามไม่ ได้ จนกว่ าทีมตรงข้ ามจะถูก
ลูกเพือ่ ทาการรุ กแล้ ว
15.4 การสกัดกั้นและการถูกลูกบอลของทีม (BLOCK AND TEAM HITS)
15.4.1 การถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้น ไม่ นับเป็ นการถูกลูกบอลของทีม หลังจาก
ถูกลูกบอลโดยการสกัดกั้นแล้ ว ทีมนั้นยังถูกลูกบอลได้ อกี 3 ครั้ง เพือ่ ส่ งลูกกลับไป
ยังทีมตรงข้ าม
15.4.2 หลังจากทาการสกัดกั้น ผู้ถูกลูกแรกจะเป็ นผู้เล่ นคนใดคนหนึ่งรวมทั้งผู้เล่ น
ทีถ่ ูกลูกบอลในการสกัดกั้นด้ วยก็ได้
15.5 การสกัดกั้นลูกเสิ ร์ฟ (BLOCKING THE SERVICE)
ห้ ามสกัดกั้นลูกบอลทีท่ มี ตรงข้ ามเสิ ร์ฟมา
15.6 การสกัดกั้นที่ผดิ กติกา (BLOCKING FAULT)
15.6.1 ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ ามก่ อนหรือพร้ อมกับการถูกลูก
เพือ่ ทาการรุ กของทีมตรงข้ าม
15.6.2 ผู้เล่ นแถวหลังหรือตัวรับอิสระ ทาการสกัดกั้นหรือรวมกลุ่มทาการสกัดกั้น
โดยสมบูรณ์
15.6.3 สกัดกั้นลูกเสิ ร์ฟของทีมตรงข้ าม
15.6.4 ลูกบอลถูกสกัดกั้นแล้ วออกนอกเขตสนาม
15.6.5 สกัดกั้นลูกบอลด้ านนอกเสาอากาศในแดนของทีมตรงข้ าม
15.6.6 ตัวรัยอิสระพยายามทาการสกัดกั้นด้ วยตัวเองหรือรวมกับผู้เล่ นอืน่
การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
1 สาเหตุภายใน (Intrinsic factor) ซึ่ งเป็ นสาเหตุจากตัวนักกีฬาเอง ได้แก่
1.1.1 ความไม่เหมาะสมของรู ปร่ างหรื อโครงสร้างของร่ างกายกับการเล่นกีฬา
ประเภทนั้นๆ
1.1.2 ความไม่สมบูรณ์ของร่ างกาย
1.1.3 การได้รับบาดเจ็บจากอดีตระหว่างการแข่งขัน
1.1.4 สภาพจิตใจที่ไม่พร้อมหรื อขาดสมาธิ
1.1.5 มีการอบอุ่นร่ างกายหรื อเตรี ยมร่ างกายเช่น ยืดกล้ามเนื้อไม่เพียงพอ
1.1.6 ความเหนื่อยล้าของนักกีฬา
1.1.7 เทคนิคและวิธีการเล่นของนักกีฬาแต่ละคน
1.2 สาเหตุภายนอก (Extrinsic factor) ซึ่ งได้แก่
1.2.1 ความบกพร่ องของสถานที่ที่ใช้ในการแข่งขันและอุปกรณ์การเล่น
1.2.2 อุณหภูมิ ความชื้น สภาพอากาศ
1.2.3 เครื่ องแต่งกายที่ไม่เหมาะสมกับรู ปร่ าง
1.2.4 การเล่นของคู่แข่งขัน
1.2.5 การเร่ งเร้าจากคนเชียร์
1.2.6 ผูต้ ดั สิ นตามเกมไม่ทนั
1.2.7 ลักษณะเฉพาะของกีฬาประเภทนั้นๆ ซึ่ งรวมถึงกติกาการแข่งขันด้วย
ปั จจัยต่างๆ เหล่านี้ลว้ นมีส่วนสาคัญซึ่ งนาไปสู่ การได้รับบาดเจ็บจากการเล่น
กีฬาได้ท้ งั สิ้ นเมื่อนักกีฬาได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา การปฐมพยาบาล
เบื้องต้นจึงมีความจาเป็ นและมีความสาคัญอย่างยิง่
การบาดเจ็บจากการกีฬา
1 บาดเจ็บที่เกิดจากภยันตราย
1.1 กระดูกแตกหรือหัก ( Fractures) กระดูกแตกหรือหักอาจเกิดจากแรง
กระแทกโดยตรงกัน เช่น ถูกไม้ฮอกกี้ ตีที่ขา หรือโดยทางอ้อมเช่ น หกล้ม
เอามือเท้าพื้ นทาให้กระดูกไหปลาร้าหัก มักพบในกีฬาที่ มีการปะทะกัน
เช่น ฟุตบอล รักบี้ ฮอกกี้ บาสเกตบอล ยูโด มวย เป็ นต้น บาดเจ็บ จากการ
กี ฬ าที่ ท าให้มี การหักหรื อ แตกของกระดูก ถื อ เป็ นเรื่ อ งใหญ่ เ พราะความ
รุนแรงที่เกิดขึ้ นจะทาให้เนื้ อเยื่อโดยรอบได้รบั ภยันตรายอย่างมากด้วย เช่น
เอ็น กล้ามเนื้ อ หลอดเลือด เส้นประสาท และผิวหนั ง โดยต้องให้การปฐม
พยาบาลและการรักษาควบคู่กนั ไป
กระดูกหัก หมายถึง ภาวะที่ส่วนประกอบของกระดูกแตกแยกออกจากกัน อาจเป็ นการ
แตกแยกโดยสิ้ นเชิง หรื ออาจมีบางส่ วนติดกันอยูบ่ า้ ง ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความรุ นแรงของแรง
ที่มากระแทกต่อกระดูก ทาให้แนวการหักของกระดูกแตกต่างกัน
1. กระดูกหักชนิดปิ ด (closed fracture) คือกระดูกหักแล้วไม่ทะลุผิวหนังและไม่มี
บาดแผลบนผิวหนังตรงบริ เวณที่หกั
2. กระดูกหักชนิ ดเปิ ด คื อกระดูกหักแล้วทิ่ มแทงทะลุ ผิวหนัง ทาให้มีแผลตรง
บริ เวณที่ กระดูกหัก โดยอาจไม่มีกระดูกโผล่ออกมานอกผิวหนังก็ได้ แต่มีแผล
เห็นได้ชดั เจน
1.2 ข้อเคลื่อน ข้อหลุด (Subluxation, Dislocation)
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรงหรือโดยทางอ้อมทาให้มีการฉีกขาดของเยื่อหุ ้มข้อ
แคปซูล และเอ็นข้อต่อ ส่วนปลายของกระดูกที่ประกอบกันเป็ นข้อต่อ เลื่อนหลุด
ออกจากกัน อาจจะเลื่อนหลุดออกจากกันเป็ นบางส่วน ( subluxation) หรือเลื่อน
หลุดโดยสมบูรณ์ ( dislocation) ที่พบได้บ่อย คือ ข้อไหล่และข้อศอก เป็ นต้น ที่
ยังพบได้บ่อยอยู่ในนั กกีฬาก็คือข้อต่อหลุดซ้าแล้วซ้าอีกเช่ น ข้อไหล่บางคนหลุด
เป็ นสิบๆ ครั้งก็มี ทั้งนี้ เนื่ องจากการรักษาที่ไม่ครบถ้วน มีนั กมวยบางคนถึงกับ
ขณะต่อยมวยไปก็หลุดไปและดึงเข้าที่เองขณะที่กาลังชกมวยอยูก่ ็มี ในรายพวกนี้
ต้องผ่าตัดรักษาจึงจะหายขาดได้
สาเหตุ
ข้อเคลื่ อน ข้อหลุด พบได้บ่อยในกี ฬาที่ มีการปะทะกัน เช่ น รั กบี้ ฟุตบอล
ฯลฯ เกิ ดจากการที่ หัวกระดูกหลุดออกจากเบ้า อาจหลุดออกเป็ นบางส่ วน หรื อหลุด
ออกโดยสมบู ร ณ์ จะมี การฉี กขาดของเอ็น พังผืด และเนื้ อ เยื่อ ที่ หุ้ม รอบข้อ ต่ อ ตรง
ตาแหน่ งที่หลุด ทาให้มีอาการปวด บวม เคลื่อนไหวไม่ได้ ติดขัด หรื อเคลื่อนไหวได้
ไม่เต็มที่ รู ปร่ างของข้อจะเปลี่ยนไป พบได้บ่อยจากการเล่นกี ฬา คือ ข้อไหล่ ข้อศอก
ข้อนิ้ วมือ กระดูกสะบ้าหลุด ตัวอย่างเช่น ข้อไหล่หลุดจะพบว่า บริ เวณไหล่ที่เคยนู น
จะแบนราบลงเป็ นเส้นตรง เหมือนไม้บรรทัด และไม่สามารถเอื้อมมือข้างนั้น ไปแตะ
บ่ า ด้า นตรงข้า มได้ ข้อ ศอกหลุ ด จะพบว่ า ส่ ว นข้อ ศอกนั้ น นู น บวมขึ้ น มองจาก
ด้านหน้าจะพบว่า ต้นแขนยาวกว่าปลายแขน แต่ถา้ มองมาจากทางด้านหลัง จะพบว่า
ต้นแขนสั้นกว่าปลายแขน เป็ นต้น
อาการของโรค
ปวดมาก บวมรอบๆ ข้อ กดเจ็บ มีอาการฟกช้ า รู ปร่ างของข้อที่ได้รับอันตราย
เปลี่ยนรู ปไปจากเดิมและความยาวของแขนหรื อขาข้างที่ได้รับบาดเจ็บอาจสั้นหรื อยาว
กว่าปกติ เคลื่อนไหวข้อนั้นไม่ได้ตามปกติ
อาการข้อเคลื่อนที่ พบได้บ่อย บวม, ปวด, กดเจ็บบริ เวณข้อ ข้อมีรู ปร่ าง
ผิดปกติไปจากเดิม สี ของบริ เวณข้อที่ได้รับบาดเจ็บเปลี่ยนไปจากเดิม การเคลื่อนไหวข้อ
ทาไม่ได้ หรื อทาได้นอ้ ยมาก ผูป้ ่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวข้อได้ตามปกติ มีการหดสั้น
ของอวัยวะ เช่น แขน หรื อขา อาจคลาพบปลายหรื อหัวกระดูกที่เคลื่อนออกมา การที่ขอ้
เคลื่อน อาจมีอนั ตรายต่อเส้นประสาท และหลอดเลือดใกล้เคียง
1.3 ข้อเคล็ด ข้อแพลง จากเอ็นยึดข้อต่อฉีกขาด ( Sprain)
แรงที่มากระทาต่อข้อต่อทั้งทางตรงหรือทางอ้อมทาให้เอ็นยึดข้อต่ อฉี กขาดได้ท้ัง
เอ็นภายนอกหรือภายในข้อต่อ อาจฉี กขาดเป็ นบางส่วนหรือฉี กขาดโดยสมบู รณ์
ตามความรุนแรงของแรงจากภายนอกที่มากระทาตาแหน่ งที่ฉีกขาดอาจเป็ นตรง
กลางเอ็นหรือส่วนที่ปลายที่เกาะกระดูกหรือดึงกระดูกที่เกาะให้หลุ ดตามออกมา
เป็ นชิ้ นเล็กๆ ได้
1.4 กล้ามเนื้ อฉีกขาด ( Strain)
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรงหรือโดยทางอ้อมเช่นขณะกาลังวิ่งด้วยความเร็ว และมี
การเปลี่ยนทิศทางทันทีทาให้กล้ามเนื้ อต้นขาฉีกขาด (จากแรงกระตุก กระชาก)
อาจฉี กขาดเป็ นบางส่วน หรือฉี กขาดโดยสมบูรณ์น้ั นขึ้ นอยู่กบั ความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้ อและความรุนแรงของแรงที่มากระทาให้มีเลือดออกและบวม
1.5 เอ็นฉีกขาด ( Tendon rupture)
เอ็ น เป็ นส่ ว นที่ ต่ อ จากกล้า มเนื้ อเกาะที่ ก ระดู ก จึ ง ท าให้ห น้ า ที่ เ ช่ น เดี ย วกับ
กล้ามเนื้ อกลไก การฉีกขาดจึงเป็ นไปในลักษณะเดียวกัน
1.6 บาดแผลหรือผิวหนังฉีกขาด ( Wound)
เกิดจากแรงที่กระทาโดยตรง เช่น แผลถลอก ( Abrasion) เกิดจากถูกของแข็ง
ครูดอย่างแรง แผลตัด ( Cut wound) เกิดจากถูกของมีคมเช่นมีดหรือกระจกบาด
แผลถูกของแหลมทิ่มดา ( punctured wound) เช่น หนาม เศษหิน หรือตะปูทิ่ม
ตาขณะวิ่งหรือเล่นกีฬา เป็ นต้น
2. เกิดจากการฝึ กหนักหรือการใช้มากเกินไป
2.1. การอักเสบ ( Inflammation) การอักเสบเป็ นปฏิกิริยาโต้ตอบของร่างกายเมื่ อ
เนื้ อเยื่อได้รบั บาดเจ็บจากแรงกด แรงเสียดสี การใช้งานมากเกินไป การใช้งาน
ซ้าๆ และจากแรงกระแทกภายนอก
อาการที่ พบคือ ปวด บวม แดง ร้อน กดเจ็บและเสียหน้าที่ การบาบัดรั กษาที่
สาคัญที่ สุด คือการขจัดสาเหตุ อาการของการอักเสบในลักษณะนี้ จะค่ อยเป็ น
ค่อยไป และเพิ่มมากขึ้ นเรื่อยๆ แต่บางครั้งอาการลดลงเมื่อมีการอุ่นร่างกายก่อน
เล่นกีฬา ( Warm up) และจะกลับมาเพิ่มมากขึ้ นอีกถ้ายังทาการฝึ กหรื อเล่นกีฬา
ไปเรื่ อยๆ การอักเสบของเนื้ อเยื่อต่างๆ ของร่างกายที่ เกิดจากการใช้ งานมาก
เกินไป มีดงั นี้
1.1 การอักเสบของเอ็นที่เกาะกระดูก ( Tendinitis)
เกิดจากการที่มีการใช้งานมากเกินไปบริเวณเอ็นที่เกาะกระดูก ทาให้มีการ
ฉีกขาดทีละเล็กละน้อย (สาหรับในเด็กอาจมีการดึงชิ้ นกระดูก บริ เวณที่เอ็น
นั้นเกาะหลุดติดออกมาด้วย) เช่น บริเวณข้อศอกด้านนอก ( Tennis elbow)
บริเวณข้อศอกด้านใน ( golfer’s elbow) เป็ นต้นอาการที่ตรวจพบคือ เจ็ บ
กดเจ็บ เจ็บเมื่อเคลื่อนไหวหรือออกกาลังกาย
1.2 การอักเสบของเอ็นกล้ามเนื้ อและปลอกเอ็น ( Paratendinitis)
เกิดบริเวณเอ็นร้อยหวาย ( Achilles tendon) นอกจานี้ ยังพบได้ที่ไหล่ ข้อมือ
และข้อเท้า เป็ นต้น
1.3 ถุงลื่นอักเสบ ( Bursitis)
ถุงลื่น ( Bursa ) นี้ มีหน้าที่รองรับการเสียดสี จะอยูร่ ะหว่างกระดูกกับเอ็น
ระหว่างเอ็นกับเอ็น และอยู่ระหว่างกระดูหรือเอ็นกับผิวหนั ง เช่ น ที่ตะโพก
ไหล่ ข้อศอก ข้อเข่า และข้อเท้า เป็ นต้น บริ เวณส้นเท้า ( Retro-calcaneal
bursitis) บริเวณตาตุ่ม ( Malleolar bursitis)
2. กระดูกหักล้า ( Stress fracture)
เกิดการร้าวของกระดูกเนื่ องจากการใช้มากจนเกินไป เช่นนั กวิ่งระยะไกลที่เพิ่ม
ระยะทางเร็วเกินไปหรือวิ่งบนพื้ นที่แข็ง จะพบกระดูกร้าวหรือแตกบริ เวณขาและ
เท้า ส่วนนั กกีฬาที่เล่นกีฬาด้วยการหมุนบิดตัวหรือยกของหนั ก เช่ น ยิมนาสติก
หรือยกน้ าหนัก จะพบกระดูกร้าวที่หลังระดับเอว เป็ นต้น โดยจะมีอาการเจ็บ กด
เจ็บตรงตาแหน่ งที่กระดูกร้าวหรือปวดหลัง การวินิจฉัยค่อนข้างยากในระยะแรก
เพราะยังไม่เห็นรอยหักในภาพเอ็กเรย์ ดังนั้นจึงควรสังวรไว้เสมอ
การบาดเจ็บทางกีฬาที่มกั จะเกิดขึ้นบ่อย ๆ
1. บาดเจ็บที่ผิวหนัง
ก. ผิวหนังถลอก (แผลถลอก)
การถลอก คือ การที่พื้นผิวบนของผิวหนั งถูกแรงเฉือนให้หลุด ไป แต่ไม่
ลึกไปจนถึงชั้นของผิวหนังทั้งหมด อาจมีเลือดออกเพียงซึม ๆ แผลจะหายอย่าง
รวดเร็วถ้าไม่มีการติดเชื้ อแทรกซ้อน
ผิวหนั งที่ได้รับบาดเจ็บและพบบ่อยได้แก่ บริเวณข้อศอก ข้อ เข่า ตาตุ่ม
เพราะผิวหนั งส่วนนี้ อยู่ชิดติดกับกระดูก เมื่อมีการลื่นไถลผิ วหนั งจะถูกบดอยู่
ตรงกลางระหว่างพื้ นแข็งกับกระดูก
ข. ผิวหนังพอง
การพอง เป็ นการบาดเจ็บจากการแยกของชั้นผิ วหนั งด้วยกันเองออกไป
โดยช่องระหว่างชั้นของผิวหนั งที่แยกออกไปนี้ จะเต็มไปด้วยน้ าเหลว ๆ จากเซลล์
ข้างเคียงหลัง่ ออกไป การบาดเจ็บแบบนี้ มักจะเกิดจากการเสียดสีของผิว หนั ง จน
ชั้นของหนังกาพร้าแยกตัวออกจากชั้นของหนังแท้
ค. ผิวหนังฟกช้ำ
การฟกช้า เกิดจากมีแรงมากระแทกโดยตรงซึ่งโดยมากมาจากวัตถุแข็งไม่มี คม ซึ่ง
ไม่สามารถทาให้เลือดที่คงั ่ อยู่ซึมออกไปสู่เนื้ อเยื่อรอบ ๆ ข้างเคียงและข้างใต้ของ
ผิวหนังเอง การแตกจึงเกิดเป็ นแผลอยูใ่ นชั้นผิวหนังนัน่ เอง
การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ
ตะคริว หมายถึง อาการกล้ามเนื้ อเกร็งแข็งและปวดซึ่ งจะเกิ ดขึ้นรวดเร็ว และ
มั ก จะเป็ นอยู่ เ พี ย งไม่ กี่ น าที กล้า มเนื้ อที่ พ บเป็ นตะคริ ว ได้บ่ อ ย ได้แ ก่
กล้ามเนื้ อน่ องและต้นขา ตะคริวเป็ นภาวะที่ พบได้บ่อยมาก ซึ่ งจะพบได้
เป็ นครั้งคราวในคนเกือบทุกคน
สาเหตุุ
ส่วนมากจะไม่มีสาเหตุรา้ ยแรง เป็ นเพียงชัว่ เดี๋ยวเดียวก็หายได้เอง ผูท้ ี่มีภาวะ
แคลเซี ยมในเลื อดตา่ ก็ อาจเป็ นตะคริ วได้บ่อย เสี ยเหงื่ อเนื่ องจากความร้อน
(อากาศ หรื อ ท างานในที่ ที่ ร ้อ นจัด ) อาจเป็ นตะคริ ว รุ น แรง คื อ เกิ ด กับ
กล้ามเนื้ อหลายส่วนของร่างกายและมักจะเป็ นอยูน่ าน)
บาดเจ็บที่ขอ้ ต่อและเอ็นยึดข้อต่อ


ข้อเท้าแพลง หมายถึง การที่เอ็นยึดข้อเท้าได้รบั บาดเจ็บ การบาดเจ็บจะ
มีมากหรือน้อยย่อมแตกต่างกันไปสุดแท้แต่กรณี
ข้อเท้าแพลงชนิดเอ็นยึด ทาให้รูส้ ึกเจ็บปวดหรือเจ็บเสียวข้อเท้าตรง
บริเวณที่เอ็นยึด ความเจ็บจะเพิ่มมากขึ้ น ถ้าใช้นิ้วกดไปตรงบริเวณนั้นหรือ
ทาให้มีการเคลื่อนไหว หรือบิดหมุนข้อเท้า นอกจากนี้ ข้อเท้า จะบวม ซึ่งอาจ
บวมทันที จากการที่ หลอดเลื อดบริ เวณนั้ นฉี กขาดทาให้เลื อดคั ่ง อาการ
บวมมากหรือน้อยขึ้ นอยู่กบั ปริมาณของเลือดที่ออก แต่ถา้ ไม่มี หลอดเลือด
ฉี กขาดอาการบวมจะไม่ปรากฎในระยะแรกแต่จะมาปรากฏในระยะหลัง
คือ ภายในระยะเวลา 24 ชัว่ โมง ซึ่งเกิดจากการบวมตัวของเส้นเอ็นที่ ยึดและ
อักเสบ เส้น เอ็ นที่ บวมตัวนี้ ความเหนี ยวและความทนทานจะลดลง หาก
ได้รับบาดเจ็บซ้าจะทาให้ฉีกขาดออกจากกันได้ง่าย แต่ถา้ ได้พั กรักษาตัว
ถู ก ต้อ งตามขั้น ตอน ข้อ เท้า แพลงชนิ ด เอ็ น ยึ ด ก็ จ ะหายได้ภ ายในเวลา
อันรวดเร็ว
หลักการปฐมพยาบาลบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
เมื่อเกิดการบาดเจ็บทันทีจากการเล่นกีฬา เราสามารถให้
การปฐมพยาบาลและเรี ยงลาดับก่อ นหลังอย่างไรนั้ น มี
หลั ก ในการจ าง่ า ยๆ จากตั ว อั ก ษรภาษาอั ง กฤษ คื อ
PRICED
P = Prevent
ป้องกันการบาดเจ็บที่จะตามมาอีกให้หยุดการเล่นกีฬาทันที นานั กกีฬาออกจาก
สถานที่ที่ได้รับบาดเจ็บ เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่จะตามมาอี ก (to avoid
further injury)
R = Rest
พัก ส่ ว นที่ ไ ด้รับ บาดเจ็ บ ทัน ที เพราะการเคลื่ อ นไหวส่ ว นที่ บ าดเจ็ บ จะท าให้
เลือดออกมากขึ้ น
I = Ice
ประคบเย็นบริเวณที่ได้รบั บาดเจ็บด้วยน้ าแข็ง น้ าเย็น ผ้าเย็น หรือน้ าเย็นจากน้ า
ก๊อก (tap) ก็ยงั ดีกว่าไม่มีอะไร เพื่อลดอาการบวม (swelling) การเจ็บปวด
(pain) กล้ามเนื้ อเกร็งตัว (muscle spasm) และการอักเสบ (inflammatory
response)
C = Compression
พัน กระชับ ส่ ว นที่ ไ ด้รับ บาเจ็ บ ด้ว ยผ้า ยืด หรื อ ใช้ผ ้า ส าลี ผื น ใหญ่ ร องไว้ห นาๆ
โดยรอบก่อน เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดออกมากขึ้ น เป็ นการลดอาการบวม และ
เป็ นการประคองส่วนที่ได้รบั บาดเจ็บด้วย
E = Elevation
ยกส่วนที่ได้รบั บาดเจ็บนั้ นให้สูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อให้เลือดไหลเวียนกลับได้
สะดวก เป็ นการลดการมีเลือดออก ลดบวม และลดอาการเจ็บปวด
D = Disposal
ส่งพบแพทย์หรือสถานพยาบาล เพื่อให้การรักษาพยาบาลที่ถกู ต้องต่อไป
(ธีรวัฒน์ กุลทนันท์ อ้างถึงใน วิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล :2548)

การปฐมพยาบาลด้วยวิธีการ PRICED ดังกล่าวแล้วนั้ น ต้องทาให้ครบทุ ก
ขั้นตอนจึงจะได้ผลลัพธ์ที่ดี ระยะเวลาการให้วิธีการดังกล่าวแล้วควรอยูใ่ น 2472 ชัว่ โมงแรกหลังจากที่ได้รบั ภยันตรายจากการเล่นกีฬา

การประคบเย็นจะใช้เวลาประมาณ 15-30 นาที ทุกๆ 2 ชัว่ โมง จนอาการบวม
ไม่เพิ่มขึ้ นหรือภายในเวลาประมาณ 48 ชัว่ โมง ส่วน Compression Rest และ
Elevation นั้ นใช้เวลาประมาณ 48-72 ชัว่ โมง การประคบเย็นที่ดีน้ั นควรเป็ น
ผ้าขนหนู เย็น (wet towel) หรือน้ าแข็งในถุงพลาสติก ( plastic bag) บางคนแพ้
น้ าแข็ง ทาให้เกิด allergic reaction และการเจ็บปวดมากยิ่งขึ้ น ดังนั้ น จึงควร
ถามผูท้ ี่ได้รบั บาดเจ็บก่อนเสมอ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ความเย็นจากน้ าแข็ง

การพันกระชับนั้ นจะต้องพันให้พอดี ไม่รัดแน่ นเกินไป ซึ่งสามารถสังเกตได้
จากส่วนปลายจากที่พนั ไว้บวม มีอาการชา ผิวหนั งซีด เย็น และเสียความรูส้ ึก
บริเวณส่วนนั้ น ถ้าการพันกระชับนั้ นแน่ นจนเกินไปก็สามารถคลายออกและ
พันใหม่โดยง่าย การพันกระชับใน 48-72 ชัว่ โมง แรกจะช่วยให้ลดอาการบวมได้
เป็ นอย่างดี
การพันผ้า (Bandaging)
ชนิดของผ้าพันแผลที่ใช้ในการปฐมพยาบาลได้ 2 ชนิด
1. ผ้าพันแผลชนิ ดเป็ นม้วน แบ่งเป็ นชนิ ดธรรมดา (Roll gauze bandage)
และ ชนิ ดผ้ายืด (Elastic bandage) ซึ่ งชนิ ดผ้ายืดจะมีความยืดหยุน่ ได้ดีกว่า มีขนาด
แตกต่างกัน โดยมี ความกว้าง 1 ,2,3,4, หรื อ 6 นิ้ ว การเลื อกใช้ข้ ึ นอยู่กบั ขนาดของ
อวัยวะที่บาดเจ็บ เช่น ที่นิ้วมือใช้ขนาด 1 นิ้ว ส่ วนศีรษะใช้ขนาด 6 นิ้ว เป็ นต้น ขนาด
ของผ้าที่ พอเหมาะคือ เมื่ อพันแล้วขอบของผ้าควรกว้างกว่าขอบบาดแผลอย่างน้อย
หนึ่งนิ้ว
2. ผ้าสามเหลี่ยม (Triangular bandage) เป็ นผ้าสามเหลี่ยมมีฐานกว้าง และ
ด้านประกอบสามเหลี่ยมยาว 36-40 นิ้ ว ในบางโอกาสวัสดุดงั กล่าวหาไม่ได้ ดังนั้นผู ้
ปฐมพยาบาลอาจต้องดัดแปลงวัสดุอื่นมาใช้แทน เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว เสื้ อผ้า
หรื อแม้แต่เข็มขัดผ้า แต่จะต้องเลือกเฉพาะที่สะอาด ๆ เท่านั้น
ประโยชน์ ของผ้าพันแผล
ใช้หา้ มเลือด, ป้ องกันการติดเชื้อ,พันเฝื อกในรายกระดูกหัก,ใช้ยดึ ผ้าปิ ดแผลให้อยูก่ บั ที่
หลักทั่วไปในการพันผ้า
1. ก่อนพันผ้าทุกครั้ง ผ้าที่พนั ต้องม้วนให้เรี ยบร้อย ไม่หลุดลุ่ย
2. จับผ้าด้วยมือข้างที่ถนัด โดยหงายม้วนผ้าขึ้น
3. วางผ้าลงบริ เวณที่ตอ้ งการพัน พันรอบสัก 2-3 รอบ เมื่อเริ่ มต้น และสิ้ นสุ ดการพัน
เพื่อป้ องกันไม่ให้ผา้ คลายตัวหลุดออก
4. พันจากส่ วนปลายไปหาส่ วนโคน หรื อ พันจากข้างล่างขึ้นข้างบน หรื อ พันจากส่ วน
เล็กไปหาส่ วนใหญ่
5. เมื่อสิ้ นสุ ดการพัน ควรผูกหรื อใช้เข็มกลัดหรื อติดพลาสเตอร์ ให้เรี ยบร้อย แต่ไม่ให้
ทับบริ เวณแผล
6. การใช้ผา้ ยืดต้องระวังการรัดแน่นจนเกินไป จนเลือดเดินไม่สะดวกและกดทับ
เส้นประสาท สังเกตได้จากการบวม สี ผวิ ซี ด ขาว และเย็น พร้อมทั้งผูบ้ าดเจ็บจะบอกถึง
อาการปวดและชา
7. ถ้ามีอาการปวดและชา บริ เวณที่พนั ผ้า ให้รีบคลายผ้าที่พนั ไว้ออกแล้วจึงพันใหม
Elastic bandage
Triangular bandage
ลักษณะต่ างๆ ของการพันผ้าพันแผลชนิดม้ วนและวิธีทา
1. การพันรอบหรื อพันเป็ นวงกลม (Circular turns) เป็ นการพันรอบที่ใช้กบั
ส่ วนที่เป็ นวงกลม และมักใช้เป็ นจุดเริ่ มต้นและจุดจบของการพันผ้าพันแผลชนิ ดม้วน
ลักษณะอื่ น ๆ อวัย วะที่ เหมาะสาหรั บ การพันรอบ เช่ น รอบศี รษะ รอบนิ้ วมื อ รอบ
ข้อมือ เป็ นต้น ซึ่ งมีวธิ ี การพันตามลาดับดังนี้
1.1 ใช้มือขวาจับม้วนผ้าให้ชายผ้าอยูข่ า้ งล่าง
1.2 พันรอบบริ เวณที่ตอ้ งการพันหลาย ๆ รอบ
1.3 ติดเข็มกลัด หรื อ ผูกชายผ้าให้เรี ยบร้อย
2. การพันเป็ นเกลียว (Spiral turns) เป็ นการพันกับอวัยวะที่ยาว เช่น ต้นแขน ต้นขา
หน้าแข้ง ลาตัว เป็ นต้น ซึ่ งมีวธิ ี การพันตามลาดับดังนี้
2.1 ใช้มือขวาหรื อซ้ายจับม้วนผ้าให้ชายผ้าอยูข่ า้ งล่าง
2.2 พันรอบ 2-3 รอบ เพื่อป้ องกันไม่ให้ผา้ คลายตัว
2.3 พันเฉี ยงขึ้นไปเป็ นเกลียวโดยให้เหลื่อมกันประมาณ 2 ใน 3 ของผ้า
2.4 เมื่อสิ้ นสุ ดการพันให้พนั รอบ อีก 2-3 รอบ ติดเข็มกลัดหรื อผูกชายผ้าให้เรี ยบร้อย
3. การพันรู ปเลขแปด (Figure of eight turns) เป็ นการพันอวัยวะที่เป็ นส่ วนของข้อ เช่น
ข้อมือ ข้อเท้า ข้อสะโพก ข้อศอก และหัวไหล่ เป็ นต้น มีวธิ ี การพันตามลาดับดังนี้
3.1 ใช้มือขวาหรื อซ้ายจับม้วนผ้าให้ชายผ้าอยูข่ า้ งล่าง พันรอบ 2-3 รอบ
3.2 พันขึ้นไปเป็ นเกลียวแล้วอ้อมกลับเป็ นรู ปเลขแปด
3.3 พันขึ้นไปโดยให้ผา้ เหลื่อมกันให้ลายขนานกัน
3.4 ระวังไม่ให้เกิดรอยย่น ไม่พนั ผ้าแน่นจนเกินไป โดยระวังไม่ให้ดึงผ้าใน
ขณะที่พนั ผ้า
3.5 เมื่อสิ้ นสุ ดการพัน พันรอบประมาณ 2-3 รอบ ติดเข็มกลัดหรื อผูกชายผ้าให้
เรี ยบร้อย
การใช้ ผ้าสามเหลีย่ ม (Triangular bandages)
การใช้ผา้ สามเหลี่ยม เมื่อมีบาดแผลต้องใช้ผา้ พันแผล ซึ่ งขณะนั้นมีผา้ สามเหลี่ยม
สามารถใช้ผา้ สามเหลี่ยมแทนผ้าพันแผลได้ โดยพับเก็บมุมให้เรี ยบร้อย และก่อนพัน
แผลต้องพับผ้าสามเหลี่ยมให้มีขนาดเหมาะสมกับบาดแผลและอวัยวะที่ใช้พนั
1. การคล้องแขน (Arm sling) ในกรณี ที่มีกระดูกต้นแขนหัก หรื อกระดูกปลายแขน
หัก เมื่อตกแต่งบาดแผลและเข้าเฝื อกชัว่ คราวเรี ยบร้อยแล้ว จะคล้องด้วยผ้าสามเหลี่ยม
ตามลาดับดังนี้
1.1 วางผ้าสามเหลี่ยมให้มุมยอดของสามเหลี่ยมอยูใ่ ต้ขอ้ ศอกข้างที่เจ็บ ให้ชาย
ผ้าด้านพบพาดไปที่ไหล่อีกข้างหนึ่ ง
1.2 จับชายผ้าด้านล่างตลบกลับขึ้นข้างบน ให้ชายผ้าพาดไปที่ไหล่ขา้ งเดียวกับ
แขนข้างที่เจ็บ
1.3 ผูกชายทั้งสองให้ปมอยูต่ รงร่ องเหนือกระดูกไหปลาร้า
1.4 เก็บมุมสามเหลี่ยมโดยใช้เข็มกลัดติดให้เรี ยบร้อย
2. การพันศีรษะ ซึ่ งสะดวกและรวดเร็ วกว่าใช้ผา้ พันแผลชนิดม้วน
2.1 วิธีใช้ผปู ้ ฐมพยาบาลต้องเริ่ มต้นด้วยการพับด้านฐานสองทบกว้างประมาณ 2
นิ้ว
2.2 จากนั้นวางผ้าบนศีรษะผูป้ ่ วยโดยให้ดา้ นฐานอยูเ่ หนือหน้าผาก จับชายผ้า
ด้านข้างทั้งสองข้างสลับกันที่ดา้ นหลังศีรษะแล้วอ้อมผ่านบริ เวณเหนือหูมาผูกตรงจุด
กึ่งกลางหน้าผาก
2.3 ชายผ้าที่เหลืออยูด่ า้ นหลังศีรษะจับม้วนขึ้นและพับเหน็บให้เรี ยบร้อย
3. การพันมือ ใช้กรณี ที่มีบาดแผลที่มือ ทาตามลาดับดังนี้
3.1 วางมือที่บาดเจ็บลงบนผ้าสามเหลี่ยม จับมุมยอดของผ้า
สามเหลี่ยมลงมาด้านฐานจรดบริ เวณข้อมือ
3.2 ห่อมือโดยจับชายผ้าทั้งด้านซ้ายและขวาไขว้กนั
3.3 ผูกเงื่อนพิรอดบริ เวณข้อมือ
หลายคนใช้ชวี ิตแบบดึง
ทัง้ ที่ประตูบอกให้เลื่อน
ฝื นดึงจนบางทีประตูพงั ...
หลายคนใช้ชีวิตแบบผลัก
ทัง้ ที่ประตูบอกให้ดงึ
***************
ประตูที่แท้จริง คือ ประตูที่ไร้ประตู
ชีวิตที่แท้จริง คือ ชีวิตที่เข้าใจชีวิต.