Transcript Chapter3

บทที่ 3 รัฐบาลและการแทรกแซงตลาด
วิชา เศรษฐศาสตร์ จุลภาคเบือ้ งต้ น
รหัสวิชา 962 101
1
ลักษณะการเข้าแทรกแซงของภาครัฐ
 การกาหนดระดับราคาขั้นต่า (Minimum price level)
นโยบายประกันราคา / นโยบายพยุงราคา
 นโยบายการกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่า
 การกาหนดระดับราคาขั้นสู ง (Maximum price level)
 การเก็บภาษีสินค้ าจากผู้ผลิต
 มาตรการต่ างๆ ของรัฐและผลต่ อส่ วนเกินผู้บริโภคและส่ วนเกินผู้ผลิต

2
การกาหนดระดับราคาขั้นต่า
(Minimum price level)
หมายถึง การทีร่ ัฐเข้ าไปกาหนดราคาสิ นค้ าให้ สูงกว่ าระดับราคา ดุลยภาพเดิมที่
เป็ นอยู่
 วัตถุประสงค์ : ส่ วนใหญ่ ใช้ นโยบายนีเ้ พือ่ ช่ วยเหลือผู้ผลิตทีเ่ ป็ นเกษตรกร เพือ่
ไม่ ให้ ราคาสิ นค้ าทางการเกษตรตกตา่ จนสร้ างความเดือดร้ อนกับเกษตรกร เช่ น
นโยบายประกันราคาข้ าว อ้อย ยางพารา มันสาปะหลัง เป็ นต้ น

3
นโยบายประกันราคา / นโยบายพยุงราคา (1)
P1
A
B
P
S
E
P2
D
0
ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
 รัฐกาหนดราคาให้ สูงขึน
้ เป็ น P1
 ณ ระดับราคา P1 เกิดอุปทานส่ วนเกิน
เท่ ากับ Q1Q2
 รัฐต้ องรับผิดชอบกับสิ นค้ าส่ วนเกินที่
เหลืออยู่ โดยหากปล่ อยให้ ผู้ผลิตขาย
สิ นค้ า ณ ราคา P1 จะขายได้ 0Q1 และ
ส่ วนทีเ่ หลือ จานวน Q1Q2 รัฐต้ องเป็ น
ผู้รับซื้อสิ นค้ าจานวนดังกล่ าวในราคา P1
นั่นคือ รัฐต้ องรับผิดชอบทั้งสิ้น
ABQ1Q2

P
Q1
Q
Q2
Q
4
นโยบายประกันราคา / นโยบายพยุงราคา (2)
P
 รัฐต้ องรับผิดชอบกับสิ นค้ า
S
P1
X
P
E
Y
P2
D
0
Q1
Q
Q2
Q
ส่ วนเกินทีเ่ หลืออยู่น้ัน โดยปล่อย
ให้ ผู้ผลิตขายสิ นค้ าทั้งหมด
จานวน 0Q2 ในราคา P2 และส่ วน
ที่เหลือรัฐต้ องจ่ ายเงินสนับสนุน
ให้ กบั ผู้ผลิต ราคา P1P2 จานวน
0Q2 นั่นคือ รัฐต้ องรับผิดชอบ
ทั้งสิ้น XYP1P2
5
นโยบายการกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่า
ค่ าจ้ าง
 ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
S
 รัฐกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่าเป็ น W1
W1
W
 เกิดอุปทานส่ วนเกิน หรือการ
E
ว่ างงานเท่ ากับ L1L2
D
0
L1
L
L2
จานวน ชม.
การทางาน
6
การกาหนดระดับราคาขั้นสู ง
(Maximum price level)
P
P2
P
E
P1
D
0
Q1
Q
Q2
ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
 รัฐใช้ นโยบายการควบคุมราคา ที่
ระดับ P1
 เกิดอุปสงค์ ส่วนเกิน เท่ ากับ Q2Q1
 รัฐอาจระบายสิ นค้ าทีม
่ ีอยู่ กลับเข้ า
สู่ ตลาด
 กรณีทรี่ ัฐควบคุมไม่ ทวั่ ถึงอาจเกิด
การลักลอบซื้อขายระหว่ างผู้ขาย
และผู้ซื้อทีม่ ีกาลังซื้อค่ อนข้ างสู งใน
“ตลาดมืด” (Black market)

S
Q
7
การเก็บภาษีสินค้ าจากผู้ผลิต
 การเก็บภาษีสินค้ าจากผู้ผลิต แสดงว่ ารายได้ ท้งั หมดทีผ
่ ้ผู ลิตเคยได้ รับ
ถูกแบ่ งบางส่ วนไปให้ กบั รัฐ
 การเก็บภาษีสินค้ าต่ อหน่ วย จะทาให้ ต้นทุนการผลิตสู งขึน
้ เท่ ากับอัตรา
ภาษีทรี่ ัฐจัดเก็บ
8
การเก็บภาษีสินค้ าจากผู้ผลิต
P
S1
P1
S
E1
P
B
P2
A
0
ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
 รัฐเก็บภาษีต่อหน่ วย ทาให้ S  S1
เกิดดุลยภาพใหม่ ณ จุด E1
 ณ ปริมาณ Q1 รัฐเก็บภาษีต่อหน่ วย
เท่ ากับ AE1 = P1P2
 ราคาเพิม
่ ขึน้ จากเดิม PP1 จะเห็นว่ า
ราคาทีเ่ พิม่ ขึน้ น้ อยกว่ าอัตราภาษีทรี่ ัฐ
จัดเก็บ เนื่องจากภาระภาษีถูกแบ่ งไปสู่
ผู้บริโภคและผู้ผลิต กล่ าวคือผู้ขายผลัก
ภาระภาษีให้ ผู้บริโภคได้ หน่ วยละ PP1
และผู้ขายรับภาระภาษีเท่ ากับ P2P 9

Q1
E
D
Q
Q
การเก็บภาษีสินค้ าต่ อหน่ วย
กรณีสินค้ าฟุ่ มเฟื อย
P
S1
S
 รัฐเก็บภาษีต่อหน่ วยเท่ ากับ P1P2
 ผู้บริโภครับภาระภาษี
E1
P1
P
P2
0
 ผู้ขายรับภาระภาษี PP2
E
B
D
A
Q1
Q
PP1
 ภาระภาษีส่วนใหญ่ ตกกับผู้ขาย
Q
10
การเก็บภาษีสินค้ าต่ อหน่ วย
กรณีสินค้ าจาเป็ น
P
S1
P1
P
P2
S
 ผู้บริโภครับภาระภาษี
E1
B
 รัฐเก็บภาษีต่อหน่ วยเท่ ากับ P1P2
PP1
 ผู้ขายรับภาระภาษี PP2
E
 ภาระภาษีส่วนใหญ่ ตกกับผู้ซื้อ
A
D
0
Q1 Q
Q
11
มาตรการต่ างๆ ของรัฐและ
ผลต่ อส่ วนเกินผู้บริโภคและส่ วนเกินผู้ผลิต
 ส่ วนเกินผู้บริโภคและส่ วนเกินผู้ผลิต
 ผลประโยชน์ ของผู้บริโภคและผู้ผลิตจากการใช้ มาตรการต่ างๆ ของรัฐ



การกาหนดราคาขั้นต่า
การกาหนดราคาขั้นสู ง
การเก็บภาษีต่อหน่ วย
12
ส่ วนเกินผู้บริโภค
(Consumer’s surplus)
P
A
P2
P1
B
P
D
0
เส้ นอุปสงค์ : บอกถึงจานวนเงิน
สู งสุ ดทีผ่ ู้บริโภคยินดีจ่าย สาหรับ
การซื้อสิ นค้ าแต่ ละหน่ วย
 เช่ น ผู้บริ โภคต้ องการซื ้อ
จานวน Q1 ราคาสู งสุ ดที่
ผู้บริโภคยินดีทจี่ ะจ่ ายเท่ ากับ
P1
 ส่ วนเกินผู้บริโภค เป็ นผลรวมของ
ส่ วนเกินของผู้บริโภคสิ นค้ าแต่ ละ
หน่ วยเข้ าด้ วยกัน เท่ ากับ ABP

Q2 Q 1 Q
Q
13
ส่ วนเกินผู้ผลิต
(Producer’s surplus)
 เส้ นอุปทาน : บอกถึงราคาต่าสุ ด
P
ทีผ่ ู้ผลิตจะยอมนาสิ นค้ าออก
จาหน่ าย
 ส่ วนเกินผู้ผลิต เป็ นผลรวมของ
ส่ วนเกินของผู้ผลิตแต่ ละหน่ วย
เข้ าด้ วยกัน เท่ ากับ PBA
S
P
B
P1
P2
A
0
Q2 Q 1 Q
Q
14
คาศัพท์
 ผลประโยชน์ ของสั งคม หรือสวัสดิการสั งคม หมายถึง ผลประโยชน์
ทั้งหมดทีส่ ั งคมได้ รับ ซึ่งเท่ ากับผลรวมของส่ วนเกินผู้บริโภคกับ
ส่ วนเกินผู้ผลิต
 ความสู ญเสี ยของสั งคม หมายถึง ส่ วนเกินผู้บริโภคและส่ วนเกินผู้ผลิตที่
ลดลง อันเนื่องมาจากระดับการผลิตทีไ่ ม่ มีประสิ ทธิภาพ
15
การกาหนดราคาขั้นต่า
P
 ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
A
S
P
PEB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค :
AEP
 ผลประโยชน์ ของสั งคม :
AEB
E
D
B
0
 ส่ วนเกินผู้ผลิต :
Q
Q
16
การกาหนดราคาขั้นต่า
กรณีรับประกันว่ าผู้ผลิตจะขายได้ Q2 หน่ วย
P
 รัฐกาหนดราคาสิ นค้ าที่ P1
A
X
P1
P
Z
S
E
Y
C
D
B
Q1
0
Q
Q2
Q
พร้ อมรับประกันว่ าผู้ผลิตจะขาย
ได้ Q2 หน่ วย
 ส่ วนเกินผู้ผลิต : P1ZB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค : AXP1
 ผลประโยชน์ ของสั งคม :
P1ZB + AXP1
ส่ วนเกินผู้ผลิตเพิม่ ขึน้
 ส่ วนเกินผู้บริโภคลดลง
 ผลประโยชน์ ของสั งคมเพิม
่ ขึน้ (Social gain)

17
การกาหนดราคาขั้นต่า
แต่ ไม่ รับประกันทางด้ านปริมาณ
P
 รัฐกาหนดราคาสิ นค้ าที่ P1
A
P1
S
X
P
E
C
D
B
0
Q1
Q
Q
แต่ ไม่
รับประกันทางด้ านปริมาณ
 ส่ วนเกินผู้ผลิต : P1XCB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค : AXP1
 ผลประโยชน์ ของสั งคม :
 P1XCB +
AXP1
 เกิดการสู ญเสี ยของสั งคม (Social
loss) เท่ ากับ XEC
 เรียกว่ า Deadweight Loss
18
การกาหนดราคาขั้นสูง
P
 ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
A
S
P
PEB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค :
AEP
 ผลประโยชน์ ของสั งคม :
AEB
E
D
B
0
 ส่ วนเกินผู้ผลิต :
Q
Q
19
การกาหนดราคาขั้นสู ง
P
 รัฐกาหนดราคาสิ นค้ าที่ P1
A
S
X
P2
P
E
Y
P1
C
Z
D
B
0
Q2
Q
Q1
Q
ก่อให้ เกิดการขาดแคลนสิ นค้ า
เท่ ากับ Q1Q2
 ส่ วนเกินผู้ผลิต :
P1 ZB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค :
AXZP1
 เกิดการสู ญเสี ยของสั งคม :
XEZ
20
การเก็บภาษีต่อหน่ วย
P
S
A
 ดุลยภาพเดิม ณ จุด E
 ส่ วนเกินผู้ผลิต :
PEB
 ส่ วนเกินผู้บริโภค :
AEP
 ผลประโยชน์ ของสั งคม :
AEB
E
P
D
B
0
Q
Q
21
การเก็บภาษีต่อหน่ วย
P
S1
A
P1
E1
E
P
C
S
X
D
B
0
Q1 Q
Q
 การเก็บภาษีต่อหน่ วย ทาให้ เส้ น
อุปทานเลือ่ นสู งขึน้ เกิดดุลยภาพ ณ
จุด E1
 ส่ วนเกินผู้ผลิต :
P1E1C
 ส่ วนเกินผู้บริโภค :
AE1P1
 รายได้ ของรัฐในรู ปภาษี :
CE1XB
 เกิดการสู ญเสี ยของสั งคม :
E1EX
22