งานวิจัยทางคลินิก

Download Report

Transcript งานวิจัยทางคลินิก

Index
งานวิจัยทางคลินิก
การศึกษาเปรียบเทียบภาวะแทรกซ้ อนและผลจาก
การ ตั้งครรภ์ ระหว่ างสตรี วัยร่ ุนและสตรี วัยผ้ ใู หญ่
(teenage&adult women)
Index
ผูว้ ิ จยั
นสพ.ชนะชัย จันทรคิด
นสพ.ดวงนภา ศิริโสภณ
นสพ.นราวดี โฆษิตเภสัช
หลักการและเหตุผล
Index
ปัจจบุ ันนี้มีแนวโน้ มของการตั้งครรภ์ ในวัยร่ ุนมากขึน้ โดย
เฉพาะประเทศกาลังพัฒนาอย่ างประเทศไทย อาจทาให้ เกิด
ภาวะแทรกซ้ อนและผลจากการตั้งครรภ์ ได้ เนื่องจากสตรีวัยร่ ุน
ขาดความร้ ูความเข้ าใจเรื่ องสุขภาพอนามัย การวางแผน
ครอบครัว การพัฒนาทางร่ างกายและทางจิตใจยังไม่ เต็มที่
รวมทัง้ ภาวะเศรษฐานะต่า
Index
วัตถุประสงค์
1.เพือ่ ศึกษาผลการเปรียบเทียบภาวะแทรกซ้ อน
และผลจากการตั้งครรภ์ ระหว่ างสตรี วัยร่ ุนและสตรี วัย
ผ้ ใู หญ่
2.เพือ่ ศึกษาอบุ ัติการณ์ ของภาวะแทรกซ้ อนและผล
จากการตั้งครรภ์ ทเี่ กิดกับสตรี ตั้งครรภ์ วัยร่ ุนและวัยผ้ ใู หญ่
Index
คาถามหลัก
ภาวะแทรกซ้ อนและผลจากการตั้งครรภ์
ระหว่ างสตรี วัยร่ ุนและสตรี วัยผ้ ใู หญ่ แตกต่ างกันหรือไม่
คาถามรอง
Index
1. อบุ ัติการณ์ ของโรคแทรกซ้ อนต่ างๆทีเ่ กิดกับสตรี
ตั้งครรภ์ วยั ร่ ุนเทียบกับสตรี วยั ผ้ ใู หญ่ ว่าแตกต่ างกันหรื อไม่
complication
outcome
-Eclampsia
- low birth weight
-Preterm labour
-stillbirth/live birth
-Antepartum haemorrhage
-Cephalopelvic disproportion
-Caesarean section
Index
meterial and method
Analytical study comparative retrospective study
Index
Key word
Teenage pregnancy
Pregnancy outcome
Complication
นิยามศัพท์
Index
1. Teenage pregnancy หมายถึง การตั้งครรภ์ในสตรี
ทีม่ ีอายนุ ้ อยกว่ าหรื อเท่ ากับ 19 ปี
2.Adult pregnancy หมายถึง การตั้งครรภ์ในสตรีที่มี
อายรุ ะหว่ าง 20-29 ปี
3. Eclampsia หมายถึง Pregnancy induced
hypertension ทีม่ ีความรุนแรงจนเกิดอาการชักขึน้
Index
4. Preterm labour หมายถึง การเจ็บครรภ์ ก่อนอายุ
ครรภ์ ครบ 37 สัปดาห์
5. Antepartum haemorrhage
หมายถึง การที่มีเลือดออกทางช่ องคลอดหลังจาก
ตั้งครรภ์ ได้ 28 สัปดาห์ ( หรื อ น้าหนักทารกเกิน
1,000 กรั ม) ไปจนถึงก่ อนเข้ าสู่ ระยะก่ อนคลอด
6. Low birth weight หมายถึง ทารกที่มีน้าหนัก
ตัวแรกคลอดน้ อยกว่ า 2,500 กรั ม
Index
7. Stillbirth
หมายถึง ทารกเมื่อคลอดแล้ ว ไม่ มีอาการแสดงของการมี
ชีวิต ได้ แก่ ไม่ มีการหายใจเอง ไม่ มีการเต้ นของหัวใจ
และ ไม่ มีการเคลื่อนไหว อาจรวมถึงทารกที่คลอดออก
มาแล้ วตายทันทีด้วย
(Foetal death in utero &Intrapartum foetal death)
Index
8.Cephalopelvic disproportion หมายถึง ภาวะไม่ ได้
สัดส่ วนกันระหว่ างศีรษะทารกกับช่ องเชิงกรานของมารดา
9.Caesarean section หมายถึง การผ่ าตัดคลอดทาง
หน้ าท้ อง
ทบทวนวรรณกรรม
Author
Study design
Index
Outcome/complications
Result
Teenage
Chahande M.S. et.al (2002) cross sectional study low birth weight
Adult
72.60%
59.20% significance
stillbirth
5.40%
2.40% significance
eclampsia
2.80%
0.60% significance
APH
0.80%
1.00% no significance
preterm labour
CPD
16.20%
2.80% significance
9.10%
1.80% significance
7.00% significance
Chhabra S. (1991)
Prospective study
low birth weight
11.00%
Fetemech N.A.(1997)
Case control study
low birth weight
6.70%
6.60% no significance
stillbirth
1.70%
1.10% no significance
APH
6.70%
5.00% no significance
35.00%
44.00% no significance
Retrospective study preterm labour
21.00%
10.00% significance
low birth weight
35.00%
23.00% significance
caesarean section
Verma V.,Das K.B.(1997)
Index
1. เพือ่ ให้ สังคมตระหนักและเห็นความสาคัญจากการตั้งครรภ์ ในสตรี วยั ร่ ุน
ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อสุขภาพมารดาและบุตร
2. เพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการรณรงค์ ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
3. เพือ่ ส่ งเสริ มการวางแผนครอบครั ว ในการสอนสุขศึกษาในโรงเรี ยนที่
เกีย่ วกับเรื่ องการวางแผนครอบครั ว การใช้ สิ่งคมุ กาเนิดและการคมุ กาเนิด
แบบฉุกเฉินอย่ างถูกต้ องและมีประสิทธิภาพ
4. เพือ่ เป็ นแนวทางในการเป็ นฐานข้ อมูลในการใช้ อ้างอิงต่ อไป
Index
โครงร่ างการวิจัยนีไ้ ด้ ผ่านความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยโรงพยาบาลพุทธ
ชินราช พิษณุโลก เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน
พ.ศ.2545
Index
ระเบียบวิธีวิจัย(Research Methodology)
1.ประชากรและตัวอย่ างการวิจัย
*กาหนดกลุ่มตัวอย่ างเป็ นหญิงตั้งครรภ์ วยั รุ่นและวัยผู้ใหญ่ ทมี่ า
เข้ ารับการคลอดทีโ่ รงพยาบาลพุทธชินราช ระหว่ าง 1 มกราคม
ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2545 ซึ่งทั้งสองกลุ่มตัวอย่ างมี
ภูมิลาเนาอยู่ที่
จ.พิษณุโลก เป็ นการตั้งครรภ์ ครั้งแรก ไม่ มี
ประวัติทาแท้ งและไม่ เป็ นครรภ์ แฝดซึ่งได้ จานวนสตรี ต้งั ครรภ์
วัยรุ่นทั้งหมด 296 คนและสตรีต้งั ครรภ์ วยั ผู้ใหญ่ 531 คน
เหตุผลทีเ่ ลือกกล่ มุ ตัวอย่ างนี้
Index
*ภูมิลาเนา จ.พิษณุโลกเนื่องจากเพื่อเป็ นการศึกษา
อุบัตกิ ารณ์ การเกิดปัญหาในสั งคมหนึ่งและข้ อมูลทีไ่ ด้ จะได้ นาไป
แก้ ไขกับสั งคมนั้นได้
*การตั้งครรภ์ ครั้งแรกเนื่องจากเพื่อไม่ ให้ มีประสบการณ์ ใน
การตั้งครรภ์ มาเป็ นปัจจัยรบกวน
*ไม่ มีประวัติทาแท้ งและไม่ เป็ นครรภ์ แฝดเนื่ องจากอาจ
ทาให้ เกิดภาวะแทรกซ้ อนและผลจากการตั้งครรภ์ ที่ผดิ ปกติได้
Index
2.วิธีคิดขนาดตัวอย่ าง
N=[Za 2p(1-p) +
ZB p1(1-p1)+p2(1-p2)]2
(p1-p2)2
p1 = อุบัตกิ ารณ์ ของ low birth weight ในสตรี ตงั ้ ครรภ์ วัยรุ่ น= 0.726
p2 = อุบัตกิ ารณ์ ของ low birth weight ในสตรี ตงั ้ ครรภ์ วัยผู้ใหญ่ = 0.592
ต้ องใช้ กลุ่มสตรี ตงั ้ ครรภ์ วัยรุ่ น 212 คน และกลุ่มสตรี ตงั ้ ครรภ์ วัยผู้ใหญ่
212 คน
(Indian journal of community medicine,2002)
3.การสังเกตและการวัด
Index
*ผู้วจิ ยั 3 คน
*ข้ อมูลจากสมุดลงทะเบียนของมารดาและบุตรทีเ่ ข้ ารับการ
คลอดทีโ่ รงพยาบาลแผนกสู ต-ิ นรีเวชกรรม
4.วิธีดาเนินการวิจัย
รวบรวมข้ อมูลตามลาดับผู้ทเี่ ข้ ารับการคลอดตั้งแต่ 1
มกราคม ถึง 31 ตุลาคม 2545 โดยเลือกเอาผู้ป่วยทีม่ ีคุณสมบัติ
ตรงตามทีก่ ารวิจยั ได้ ต้งั ไว้
Index
5.ผลการศึกษา
Birth weight of babies in study teenage pregnancy and adult
pregnancy group.
Body weight
Teenage pregnancyNo.(%) Adult pregnancy No.(%)
น้ อยกว่ า 2.5 Kg
มากกว่ าหรื อเท่ากับ 2.5 Kg
Total
43(14.53)
45(8.47)
253(85.47)
486(91.53)
296
531
OR = 1.84 , 95%CI = 1.15-2.93
Index
Pregnancy outcome in study teenage pregnancy and adult
pregnancy group.
Pregnancy outcome Teenage pregnancy No.(%) Adult pregnancy No.(%)
Live birth
295(99.66)
528(99.44)
Still birth
1(0.34)
3(0.56)
296
531
Total
OR = 0.60 , 95%CI = 0.02-6.42
Complications during pregnancy and labour in study
Index
teenage and adult group
Complications
Eclampsia
APH Preterm labour CPD Cesarean section
0
0
1(0.19) 1(0.19)
Teenage pregnancy No.(%)
Adult pregnancy No.(%)
OR
_
_
95%CI
_
_
64(21.62) 35(11.82)
47(8.85) 87(16.38)
2.84
51(17.23)
150(28.25)
0.68
0.53
1.85-4.36 0.44-1.06
0.36-0.77
Index
%
Outcome of pregnancy
20
10
0
14.5
3
8.4
7
Low birth weight
0.3
4
0.56
Stil birth
Teenage group Adult group
Index
%
Complications of pregnancy
40
20
0
21.6
2
8.85
11. 16.
82 38
Preterm labour
CPD
17.
23
Teenage group Adult group
28.
25
C/S
Index
10
95%C
1
I
1.84
Low birth weight
0.1
0.01
0.6
Still birth
Index
10
95%CI
2.84
1
Preterm labour
0.68
CPD
C/S0.53
Index
ข้ อเสนอแนะ
สตรีต้งั ครรภ์ วยั รุ่ นทาให้ เกิดภาวะแทรกซ้ อนและผล
จากการตั้งครรภ์ อนั ได้ แก่ ภาวะนา้ หนักแรกคลอดต่า
กว่ าปกติและภาวะทารกคลอดก่ อนกาหนดมากกว่ า
สตรีต้งั ครรภ์ วยั ผู้ใหญ่ ซึ่งจากการวิจยั นีส้ ามารถ
นาไปใช้ ประโยชน์ ในการรณรงค์ ป้องกันการตั้งครรภ์
ในสตรีวยั รุ่นเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้ อนและผล
จากการตั้งครรภ์ ดงั กล่ าว
Index