นพ.ขจรศักดิ์ วรรณทอง

Download Report

Transcript นพ.ขจรศักดิ์ วรรณทอง

นพ.ขจรศักด์ ิ วรรณทอง
โรคจิตเภท (schizophrenia)
 เป็ นความผิดปกติทย่ี งั ไม่ทราบสาเหตุแน่ชดั ผูป้ ่ วยส่วนใหญ่เริม่ มี
อาการในช่วงวัยรุน่ เมือ่ เป็ นแล้วมักไม่หายขาด ส่วนใหญ่มอี าการ
กาเริบเป็ นช่วง ๆ โดยมีอาการหลงเหลืออยูบ่ า้ งในระหว่างนัน้ อาการ
ในช่วงกาเริบจะเป็ นกลุ่มอาการด้านบวก เช่น ประสาทหลอน หลงผิด
และในระยะหลังส่วนใหญ่มกี ลุ่มอาการด้านลบ เช่น พูดน้อย เฉื่อยชา
แยกตนเอง
ลักษณะอาการทางคลินิก
อาการแสดงของโรคจิตเภทอาจแบ่งออกเป็ นสองกลุม่ คือ
กลุ่มอาการด้านบวก
และกลุ่มอาการด้านลบ
ก. กลุม่ อาการด้ านบวก (Positive
Symptoms)
 แสดงออกในด้านความผิดปกติของความคิด การรับรู้ การติดต่อสื่อสาร
และพฤติกรรม ซึง่ แบ่งตามลักษณะอาการออกเป็ น 2 ด้านใหญ่
1) Psychotic dimension ได้แก่ อาการหลงผิด และอาการประสาท
หลอน
2) Disorganization dimension ได้แก่ disorganized
behavior และ disorganized speech
อาการหลงผิด (Delusion)
 ชนิดทีพ
่ บบ่อย ได้แก่ persecutory delusion, delusion of
reference รวมทัง้ อาการหลงผิดทีจ่ ดั อยูใ่ นกลุม่ อาการหลักของ
Schneider ส่วนอาการหลงผิดอื่น ๆ ทีพ่ บบ้าง เช่น
 somatic delusion, religious delusion หรือ grandiose
delusion เป็ นต้น
 อาการหลงผิดทีม่ นี ้ าหนักในการวินิจฉัย ได้แก่ bizarre delusion ซึง่ เป็ น
อาการหลงผิดทีม่ ลี กั ษณะแปลก ฟั งไม่เข้าใจ หรือเป็ นไปไม่ได้เลย อาการหลงผิด
ทีจ่ ดั อยูใ่ นกลุม่ อาการหลักของ Schneider จัดว่าเป็ น bizarre
delusion
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
 auditory hallucination
 tactile หรือ somatic hallucination อาการ
ประสาทหลอนทีม่ นี ้าหนักในการวินิจฉัยได้แก่ auditory
hallucination ทีจ่ ดั อยูใ่ นกลุ่มอาการหลักของ
Schneider
Disorganized speech
ผูป้ ่ วยไม่สามารถรวบรวมความคิดให้เป็ นไปในแนวทาง
เดียวกันได้ตลอด ซึง่ จะแสดงออกมาให้เห็นโดยผ่าน
ทางการพูดสนทนา อาการทีแ่ สดงออกนี้ตอ้ งเป็ นมากจน
ไม่สามารถสือ่ สารกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างอาการเช่น loose associations,
incoherent speech, หรือ tangentiality
เป็ นต้น
Disorganized behavior
เป็ นพฤติกรรมทีผ่ ดิ ไปจากปกติอย่างมาก ผูป้ ่ วย
แต่งตัวสกปรก แปลก เช่น สวมเสือ้ หลายตัวทัง้ ที่
อากาศร้อนจัด บางคนปั สสาวะกลางทีส่ าธารณะ
บางคนจู่ ๆ ก็รอ้ งตะโกนโดยทีไ่ ม่มเี รือ่ งอะไรมา
กระตุน้
ข. กลุม่ อาการด้ านลบ (Negative
Symptoms)
เป็ นภาวะทีข่ าดในสิง่ ทีค่ นทัว่ ๆ ไปควรมี เช่น ในด้านความรูส้ กึ ความต้องการในสิง่
ต่าง ๆ อาการเหล่านี้ได้แก่
Alogia
Affective flattening
Avolition
Asociality
ในระยะอาการกาเริบ อาการสาคัญส่วนใหญ่จะเป็ นอาการในกลุม่ อาการด้านบวก
ส่วนกลุม่ อาการด้านลบนัน้ มักพบในระยะหลังของโรค และไม่คอ่ ยตอบสนองต่อ
การรักษาด้วยยาเหมือนกลุม่ อาการด้านบวก
กลุม่ อาการหลักของ Schneider
(Schneiderian first-rank symptoms)
อาการเหล่านี้ไม่ได้เป็ นตัวระบุวา่ ผูป้ ่ วยเป็ นโรคจิตเภทแน่นอน
(pathognomonic) ในการวินิจฉัยยังต้องคานึงถึงปั จจัยอืน่ ๆ ด้วย เนื่องจาก
โรคทางจิตเวชอื่น ๆ ก็พบอาการในกลุม่ นี้ได้เช่นกัน แม้วา่ จะไม่บอ่ ยเท่า
1. Audible thoughts
2. Voices arguing
3. Voices commenting
4. Somatic passivity
5. Thought withdrawal
6. Thought insertion
7. Thought broadcasting
8. Delusional perception
9. Delusion of control
การวิ
น
ิ
จ
ฉั
ย
A. มีอาการต่อไปนี้ตงั ้ แต่ 2 อาการขึน้ ไป นาน 1 เดือน
1. อาการหลงผิด
2. อาการประสาทหลอน
3. disorganized speech
4. grossly disorganized behavior หรือ catatonic behavior
5. อาการด้านลบ ได้แก่ flat affect, alogia หรือ avolition
หมายเหตุ แม้มเี พียงอาการเดียวก็ถอื ว่าเข้าเกณฑ์ หากเป็ น bizarre delusion,
voice commenting หรือ voice discussing
B. มีความเสือ่ มหรือปั ญหาในด้าน social/ occupational function มาก
เช่น ด้านการงาน สัมพันธภาพต่อผูอ้ ่นื หรือสุขอนามัยของตนเอง
C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึน้ ไป โดยต้องมี active phase (ตามข้อ A)
อย่างน้อยนาน 1 เดือน
และระยะทีเ่ หลืออาจเป็ น prodromal หรือ residual phase
การจาแนกกลุม่ ย่อย
ตาม DSM-IV โรคจิตเภทแบ่งออกตามลักษณะอาการทางคลินิกออกได้เป็ น 5
กลุม่ ย่อย ได้แก่
1. Catatonic type
Disorganized type
3. Paranoid type
4. Undifferentiated type
5. Residual type
2.
ระบาดวิทยา
 อุบตั กิ ารณ์ 0.1-0.5 ต่อ 1000 ความชุก 2.5-5.3 ต่อ 1000
 ความชุกโดยคานวณตลอดชีวติ (lifetime prevalence) 7.0-9.0 ต่อ 1000
 หญิงและชายพบได้พอ ๆ กัน ชายเริม่ เป็ นอายุน้อยกว่าหญิง
 อายุพบในช่วง 15-54 ปี ส่วนใหญ่เริม่ มีอาการช่วงวัยรุน่ หรือผูใ้ หญ่ตอนต้น
สาเหตุ
ก. ปั จจัยทางด้านชีวภาพ
1. พันธุกรรม
2. ระบบสารชีวเคมีในสมอง
3. กายวิภาคของสมอง
4. ประสาทสรีรวิทยา
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจิตเภทในเครื อญาติ
ความสัมพันธ์
ประชากรทัวไป
่
พีน่ ้องของผูป้ ่ วย
ลูกทีพ่ อ่ หรือแม่ป่วย
คูแ่ ฝดของผูป้ ่ วย (ไข่คนละใบ)
ลูกทีพ่ อ่ และแม่ป่วย
คูแ่ ฝดของผูป้ ่ วย (ไข่ใบเดียวกัน)
ความเสีย่ ง (%)
1.0
8.0
12.0
12.0
40.0
47.0
ข. ปั จจัยทางด้านครอบครัวและสังคม
1.
ในแง่ของครอบครัวนัน้ พบว่าสภาพครอบครัวมีผลต่อการกาเริบของโรค โดยใน
ครอบครัวของผูป้ ่ วยทีอ่ าการกาเริบบ่อย ๆ พบว่ามีการใช้อารมณ์ต่อกัน
(expressed-emotion) สูง ได้แก่ การตาหนิวพิ ากษ์วจิ ารณ์ (criticism)
มีทา่ ทีไม่เป็ นมิตร (hostility) หรือจูจ้ ย้ี ุง่ เกีย่ วกับผูป้ ่ วยมากเกินไป
(emotional overinvolvement)
2. ผูป้ ่ วยทีเ่ ป็ นโรคจิตเภทพบมากในสังคมทีม่ เี ศรษฐานะต่า ซึง่ อาจเป็ นจากการทีผ่ ปู้ ่ วยมี
อาการโรคจิตอยูเ่ รือ่ ย ๆ ทาให้การดารงชีพไม่สามารถคงอยูไ่ ด้ในสถานภาพเดิม
(downward drift hypothesis) หรือการทีส่ ภาพสังคมบีบคัน้ ทาให้คน
เป็ นโรคจิตเภทมากขึน้ (social causation hypothesis)
การวินิจฉัยแยกโรค
1. Secondary and substance-induced psychotic disorders
2. Mood disorders
3. Delusional disorder
4. Personality disorder บางชนิด โดยเฉพาะใน cluster A
การดาเนินโรค
การดาเนินโรคโดยทัวไปแบ่
่
งออกเป็ น 3 ระยะ
ก. ระยะเริม่ มีอาการ (prodromal phase)
ข. ระยะอาการกาเริบ (active phase)
ค. ระยะอาการหลงเหลือ (residual phase)
The natural history of schizophrenia
: a five-year follow-up
22 % กลุม่ ที่ 1 มีอาการเพียงครัง้ เดียว
35 % กลุม่ ที่ 2 มีอาการหลายครัง้ โดยกลับสูภ่ าวะปกติหรือเกือบปกติ
มีความบกพร่อง (impairment) หลัง
8%
กลุม่ ที่ 3 จากป่ วยครัง้ แรก และมีอาการกาเริบ เป็ นระยะ ๆ โดยไม่กลับสู่
ภาวะปกติ มี ความบกพร่องเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ
35%
กลุม่ ที่ 4 หลังการป่ วยแต่ละครัง้ โดยไม่กลับสูภ่ าวะปกติ
การพยากรณ์โรคในผู้ป่วยโรคจิตเภท
การพยากรณ์โรคดี
1. เริม่ มีอาการขณะอายุมาก
2. มีปัจจัยกระตุน้ ชัดเจน
3. อาการเกิดขึน้ เฉียบพลัน
4. มีอาการด้านอารมณ์รว่ มด้วย
5. ลักษณะอาการแบบ paranoid หรือ catatonic
6. เป็ นกลุม่ อาการด้านบวก
7. การเข้าสังคม หน้าทีก่ ารงานเดิมดีก่อนเกิดอาการ
8. มีประวัติ mood disordersในครอบครัว
9. เป็ นมาไม่นานก่อนรักษา
10. สมรส หรือมีญาติชว่ ยเหลือใกล้ชดิ
การพยากรณ์ โรคไม่ดี
1. เริม่ มีอาการขณะอายุยงั น้อย
2. ไม่พบปั จจัยกระตุน้
3. อาการเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป
4. อารมณ์เรียบเฉย แยกตัวเอง
5. ลักษณะอาการแบบ disorganized หรือ undifferentiated
6. เป็ นกลุม่ อาการด้านลบ
7. การเข้าสังคม หน้าทีก่ ารงานเดิมไม่ดกี ่อนเกิดอาการ
8. มีประวัตโิ รคจิตเภทในครอบครัว
9. เป็ นมานานก่อนรักษา
10. โสด ไม่มคี นช่วยเหลือดูแล
การรั กษา
การรับผูป้ ่ วยไว้รกั ษาในโรงพยาบาล
1. มีพฤติกรรมเป็ นอันตรายต่อตนเองหรือผูอ้ น่ื หรือก่อความเดือดร้อนราคาญแก่ผอู้ ่นื
2. มีปัญหาอื่น ๆ ทีต่ อ้ งดูแลใกล้ชดิ เช่น มีอาการข้างเคียงจากยารุนแรง
3. เพือ่ ควบคุมเรือ่ งยา ในกรณีทผ่ี ปู้ ่ วยไม่ยอมรับประทานยา
4. มีปัญหาในการวินิจฉัย
การรักษาด้ วยยา
การรักษานัน้ อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ช่วง
1) ระยะควบคุมอาการ เป้ าหมายของการรักษาในระยะนี้ คือ การควบคุมอาการให้
สงบลงโดยเร็ว การทีอ่ าการวุน่ วายหรือพฤติกรรมของผูป้ ่ วยโดยทัวไปดี
่ ขน้ึ ตัง้ แต่
ระยะแรกนัน้ เป็ นมาจากฤทธิท์ าให้สงบของยา (sedating effect) ส่วน
ฤทธิในการรั
กษาอาการโรคจิตของยานัน้ ต้องใช้เวลาเป็ นสัปดาห์จงึ จะเห็นผล
์
ขนาดของยาทีใ่ ช้โดยทัวไป
่ คือ chlorpromazine 300-800 มก./วัน
หรือ haloperidol 5-20 มก./วัน ในกรณีทผ่ี ปู้ ่ วยอาการวุน่ วายมากอาจให้
benzodiazepine ขนาดสูงร่วมไปด้วย หากหลังจาก 2 สัปดาห์แล้วอาการ
โรคจิตยังไม่ดขี น้ึ จึงพิจารณาเพิม่ ขนาดยา
2) ระยะให้ยาต่อเนื่ อง หลังจากทีอ่ าการสงบลงแล้ว ผูป้ ่ วยยังจาเป็ นต้องได้รบั ยาต่อเนื่อง
เพือ่ ป้ องกันมิให้กลับมามีอาการกาเริบซ้า ยิง่ ผูป้ ่ วยทีม่ กี ารพยากรณ์โรคทีไ่ ม่ดี การ
ควบคุมด้วยยายิง่ เป็ นสิง่ สาคัญ ขนาดของยาจะต่ากว่าทีใ่ ช้ในระยะแรก โดยทัวไปจะ
่
ค่อย ๆ ลดยาลงจนถึงขนาดต่าสุดทีค่ ุมอาการได้ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ผูป้ ่ วยแต่ละคน ขนาดยา
ทีใ่ ช้โดยเฉลีย่ ประมาณ 100-300 มก. ของ chlorpromazine ต่อวัน ในผูป้ ่ วยที่
ไม่ยอมรับประทานยาอาจใช้ยาฉีดประเภท long acting
Schizophrenia
 Antipsychotics
 Typical / Conventional antipsychotics
 Atypical antipsychotics
Typical / conventional
antipsychotics
 Refers to agents introduced in US before 1990
 Also known as
 “Dopamine receptor antagonists”
 Pharmacologic activity at blocking central dopamine receptors
(esp. D2 receptors)
 “Neuroleptics”
 Due to tendency to cause neurologic Adverse effects
 “Major tranquilizers”
 Inappropriate as these agents (esp. high potency) can improve
psychosis without sedating or making patients tranquil
Typical / conventional
antipsychotics
 Low potency
 Chlorpromazine, thioridazine
 Medium potency
 Perphenazine
 High potency
 Trifluoperazine, thiothixene, fluphenazine, haloperidol,
pimozide
Typical / conventional
antipsychotics
Potency
Drug
Low
Equiv
oral
dose
(mg)
EPS
Sedation
Anticholinergic s/e
Chlorpromazine 100
Moderate
High
Moderate
Pericyazine
NA
Low
High
Low
Thioridazine
100
Low
High
High
Moderate
Perphenazine
10
Moderate
Moderate
Low
High
Trifluoperazine
5
High
Low
Low
Thiotheixene
2
High
Low
Low
Fluphenazine
2
High
Low
Low
Haloperidol
2
High
Low
Low
Pimozide
0.5
High
Moderate
Moderate
Sulpiride
200
Low
Moderate
Low
Typical / conventional
antipsychotics
Comparison of representative antipsychotics
Drug
Advantages
Disadvantages
Chlorpromazine
Generic, inexpensive
Many adverse effects
(esp. autonomic)
Thioridazine
Slight EPS, generic
Cardiotoxicity (QT
prolongation)
Fluphenazine
Generic, depot
available
(?) increased tardive
dyskinesia
Thiothixene
(?) decreased tardive
dyskinesia
Uncertain
Haloperidol
Generic, injection and Prominent EPS
depot A/V, few
autonomic s/e
Typical / conventional
antipsychotics
Receptor blockade and Adverse effects
Receptor type
Consequence of blockade
D2 dopaminergic
Extrapyramidal symptoms; prolactin
release
H1 histaminergic
Sedation
Muscarinic cholinergic Dry mouth, blurred vision, urinary
retention, constipation, tachycardia
Alpha1-adrenergic
Orthostatic hypotension; reflex
tachycardia
5-HT2 serotonergic
Weight gain
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Extrapyramidal symptoms (EPS)
 Early reactions – can be managed with drugs




Late reaction – drug treatment unsatisfactory



Acute dystonia
Parkinsonism
Akathisia
Tardive dyskinesia (TD)
Early reactions occur less frequently with low potency drugs
Risk of TD is equal with all agents
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Acute dystonia






Develops within a few hours to 5 days after first dose
Muscle spasm of tongue, face, neck and back
Oculogyric crisis (involuntary upward deviation of eyeballs)
Opisthotonus (tetanic spasm of back muscles, causing trunk to arch
forward, while head and lower limbs are thrust backwards)
Laryngeal dystonia can impair respiration
Management




Anticholinergics (Benztropine, diphenhydramine IM/IV)
Lower or split dosing
Switch agent
Add scheduled benztropine / diphenhydramine with antipsychotic
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Parkinsonism (neuroleptic induced)
 Occurs within first month of therapy
 Bradykinesia, mask-like facies, drooling, tremor, rigidity,
shuffling gait, cogwheeling, stooped posture
 Shares same symptoms with Parkinson’s disease
 Management



Centrally acting anticholinergics (scheduled benztropine /
diphenhydramine / benzhexol with antipsychotics) and amantadine
Avoid levodopa as it may counteract antipsychotic effects
Switch to atypical antipsychotics for severe symptoms
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Akathisia
 Develop within first 2 months of therapy
 Compulsive, restless movement
 Symptoms of anxiety, agitation
 Management




Beta blockers (propranolol)
Benzodiazepines (e.g. lorazepam)
Anticholinergics (e.g. benztropine, benzhexol)
Reduce antipsychotic dosage or switch to low potency agent
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Tardive dyskinesia (TD)




Develops months to years after therapy
Involuntary choreoathetoid (twisting, writhing, worm-like)
movements of tongue and face
Can interfere with chewing, swallowing and speaking
Symptoms are usually irreversible
Typical / conventional
antipsychotics
 Adverse effects
 Tardive dyskinesia (TD)
 Management






Some manufacturers suggest drug withdrawal at earliest signs of TD
(fine vermicular movements of tongue) may halt its full development
Gradual drug withdrawal (to avoid dyskinesia)
Use lowest effective dose
Atypical antypsychotic for mild TD
Clozapine for severe, distressing TD
Inconsistent results with
 Diazepam, clonazepam, valproate
 Propranolol, clonidine
 Vitamin E
Typical / conventional
antipsychotics
 Other Adverse effects
 Neuroleptic malignant syndrome (NMS)
 Rare but serious reaction, 0.2% of patients on neuroleptics
 High fever, autonomic instability, mental status changes, leaden
rigidity, elevated CK, WBC, myoglobinuria
 Management






Discontinue antipsychotic
Paracetamol for hyperthermia
IV fluids for hydration
Benzodiazepines for anxiety
Dantrolene for rigidity and hyperthermia
Bromocriptine for CNS toxicity
Typical / conventional
antipsychotics
 Other Adverse effects
 Prolactinemia
 D2 receptor blockade decreases dopamine inhibition of prolactin
 Results in galactorrhea, amenorrhea, loss of libido

Managed with bromocriptine
 Sedation
 Administer once daily at bedtime
 Seizures
 Haloperidol has a lower risk of seizures
 Anticonvulsants (beware or possible interaction with
antipsychotic)
Atypical antipsychotics
 Refers to newer agents
 Also known as
 “Serotonin-dopamine antagonists”

Postsynaptic effects at 5-HT2A and D2 receptors
Atypical antipsychotics
 Amisulpiride (Solian®)
 Quetiapine (Seroquel®)
 Ziprasidone (Zeldox®)
 Risperidone (Risperdal®)
 Olanzapine (Zyprexa®)
 Clozapine (Clozaril®)
 Aripiprazole (Abilify®)
Atypical antipsychotics
 Properties
 Available evidence to show advantage for some
(clozapine, risperidone, olanzapine) but not all atypicals
when compared with typicals
 At least as effective as typicals for positive symptoms
 May be more efficacious for negative and cognitive
symptoms (still under debate)
Atypical antipsychotics
 Properties
 Less frequently associated with EPS
 More risk of weight gain, new onset diabetes,
hyperlipidemia
 Novel agents, more expensive
Atypical antipsychotics
 Potency
 All atypical antipsychotics are equally effective at
therapeutic doses




Except clozapine
Most effective antipsychotic
For resistant schizophrenia
2nd line due to life-threatening side effect
Atypical antipsychotics
Comparison of representative atypical antipsychotics
Drug
Advantages
Disadvantages
Clozapine
For treatment-resistant cases,
little EPS
Risk of fatal agranulocytosis
Risperidone
Broad efficacy, little or no EPS EPS and hypotension at high
at low doses
doses
Olanzapine
Effective with positive and
negative symptoms, little or
no EPS
Weight gain
Quetiapine
Similar to risperidone, maybe
less weight gain
Dose adjustment with associated
hypotension, bd dosing
Ziprasidone
Perhaps less weight gain than
clozapine, Inj A/V
QT prolongation
Aripiprazole
Less weight gain, novel
mechanism potential
Uncertain
Atypical antipsychotics
Relative incidence of Adverse effects
Drugs
Sedatio
n
EPS
Anticholinergic
Orthostasis
Seizure
Prolactin
elevation
Weight
gain
Clozapine
++++
+
++++
++++
++++
0
++++
Risperidone
+++
+
++
+++
++
0 to
++++
++
Olanzapine
+++
+
+++
++
++
+
+++
Quetiapine
+++
+
++
++
++
0
++
Ziprasidone
++
+
++
++
++
0
+
Aripiprazole
++
+
++
++
++
0
+
Antipsychotic depot injections
 Available for
 4 typicals
 Haloperidol decanoate (Haldol Decanoate®)
 Fluphenazine decanoate (Modecate®)
 Flupenthixol (Fluanxol®)
 Zuclopenthixol (Clopixol Depot®)
 1 atypical
 Risperidone (Risperdal Consta®)
 Used for chronic illness and history of noncompliance
 Trial of oral meds first to assess tolerability
Antipsychotics in schizophrenia
 Selection of typical antipsychotics
 Equally efficacious
 Chosen by side effect profile
 Atypical antipsychotics may be appropriate if
 Adverse effect is a particular concern
 Additional benefits for negative and cognitive symptoms
required
 Clozapine
 2nd line treatment when other agents are ineffective or
not tolerated
Antipsychotics in schizophrenia
 Depot antipsychotic preparations
 Useful for noncompliant patients with poor insight
 Antidepressents and mood stabilisers
 In schizoaffective disorders
 Patients with secondary mood symptoms or aggressivity
 Differentiate between adverse effects and signs of
disease progression
 E.g. Parkinsonism vs. psychotic hysteria, Akathisia vs.
exacerbation of psychosis
Antipsychotics in schizophrenia
 Treatment response
 First 7 days
 Decreased agitation, hostility, combativeness, anxiety, tension
and aggression
 Normalization of sleep and eating habits
 First 2-3 weeks
 Increased socialization, improvement in self-care
 6-8 weeks
 Improvement in formal thought disorder
Antipsychotics in schizophrenia
 Acute phase
 Initiate therapy
 Titrate as tolerated to average effective dose
 Stabilization phase
 Dose titration within the therapeutic range
 Maintenance phase
 Therapy should be continued for at least 12 months after remission
of 1st episode
 Good treatment responders should be treated for at least 5 years
 Continuous lifetime maintenance required in the majority of
patients to prevent relapse

Lowest effective and tolerable dose
ค. การรักษาด้วยไฟฟ้ า (electroconvulsive therapy)
การรักษาด้วยไฟฟ้ าในผูป้ ่ วยโรคจิตเภทนัน้ ผลไม่ดเี ท่าการรักษาด้วยยา โดยทัวไป
่
จะใช้ในกรณีผปู้ ่ วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา โดยใช้ ECT ร่วมไปด้วย
นอกจากนี้ยงั อาจใช้ในผูป้ ่ วยชนิด catatonic หรือผูป้ ่ วยทีม่ ี severe
depression ร่วมด้วย
ง. การรักษาด้ านจิตสังคม
1) จิตบาบัด (psychotherapy)
2) การให้คาแนะนาแก่ครอบครัว (family counseling or
psychoeducation)
3) กลุม่ บาบัด (group therapy)
4) นิเวศน์บาบัด (milieu therapy)