ดาวน์โหลด แฟ้มข้อมูลประกอบ

Download Report

Transcript ดาวน์โหลด แฟ้มข้อมูลประกอบ

การพัฒนาความคิดเพือ่ การวางแผน
การพัฒนาโรงเรียนมัธยมศึกษา
เพือ่ รองรับอาเซียน
วันที่ 13 พฤษภาคม 2557
ณ ฐานทัพเรื อสัตหีบ
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย
รองอธิการบดีฝ่ายแผนและสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี
มองให้ เห็นประเด็นที่สาคัญ
เล่าเรื่ อง
ด้ วยภาพ
บันทึกกลไก
แห่งความสาเร็จ
สร้ าง
ความคิด
รวบยอด
ชวนให้ คิด
วิเคราะห์
บนพื ้นฐาน
การดาเนินชีวิต
โยงความสัมพันธ์ในการงานจริง
อ่านเบื ้องหลัง
ความคิด
อาเซียน และบริบทการศึกษา
3
24 พ.ค. 2504
สมาคมอาสา (ASA)
8 ส.ค. 2510
2527
2538 ΄40 ΄42
สมาคมประชาชาติแห่ง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ASEAN)
Bangkok Declaration
บรูไน
เวียดนาม
กัมพูชา
ไทย
อินโดนีเซีย
ลาว
มาเลเซีย
พม่า
สิงคโปร์
ฟิ ลิปปิ นส์
CLMV countries
4
ASEAN Economic Community
AEC
Characteristics
Objective
To create a stable, prosperous
and highly competitive ASEAN
economic region as outlined in
Bali Concord II
Single market
and production base
Free Flow of Goods
Free Flow of Services
Free Flow of Investment
Free Flow of Skilled Labors
Freer Flow of Capital
Source: http://www.thaifta.com/trade/ppt/asean4.ppt#258
Challenges
โครงสร้ างสถาบัน
อ่ อนแอ
การแข่ งขันเพื่อแย่ ง
ชิงทรัพยากร ตลาด
การลงทุน
ความแตกต่ าง
ด้ านเชือ้ ชาติศาสนา
ระดับการพัฒนา
ขาดความไว้ เนือ้ เชื่อใจ
ความขัดแย้ งใน
ประวัตศิ าสตร์
ผลประโยชน์
แห่ งชาติ VSภูมภิ าค
• ประเทศอาเซียนมีความแตกต่ างทาง ชาติพน
ั ธุ์ วัฒนธรรม ศาสนา ภาษา การเมืองการ
ปกครอง และการศึกษา
ASEAN กับยุทธศาสตร์ FTA(Free Trade Areas/Free Trade Agreement)
ประเทศไทย  East-West corridor แห่งอินโดจีน
3 Republic of Korea : 50 million – AKFTA (ASEAN-Korea Free Trade Area)
2 Japan: 128 million – JTEPA (Japan-Thailand Economics Partnership Agreement)
1 China: 1.364 billion - ACFTA (ASEAN-China Free Trade Agreement)
4 India: 1.198 billion – TIFTA (Thailand-India Free Trade Agreement)
ASEAN+
(10 Countries)
+
: 600 million - AFTA
5 Australia: 22.6 million – TAFTA
(Thailand-Australia Free Trade Agreement)
6 New Zealand: 4.4 million – CEPEA
(Comprehensive Economic Partnership for East Asia8 )
นโยบายการศึกษาใน อาเซียน
• ใช้ นโยบาย “สอนให้ น้อยลง เรียนรู้ ให้ มากขึน้ ” (Teach Less, Learn More)
เป็ นกรอบวิสัยทัศน์ ด้านการศึกษาเพือ่ เตรียมประเทศเข้ าสู่ ศตวรรษที่ 21
สิงคโปร์ • ใช้ แนวคิดเรื่องชุ มชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ ช่ วยเติมกรอบความคิดในการ
เปลีย่ นแปลงสิ งคโปร์ ให้ สมบูรณ์ ยงิ่ ขึน้
• การสอนแบบปฏิสัมพันธ์ ลงมือปฏิบัติ การเรียนรู้ แบบประสมทีส่ อดคล้อง
กับการทํางานของสมอง การเรียนรู้ จากปัญหา และการเรียนรู้ ผ่านกรณีศึกษา
ผ่านการทํางานเป็ นทีม หรือที่ เรียกว่ าชุ มชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ
• ใช้ แนวคิดสร้ าง “ความเป็ นมาเลเซีย” ไม่ ใช่ เฉพาะ “ความเป็ นมลายู” ผสมกับ
“นโยบายมองตะวันออก” เน้ นความขยันหมัน่ เพียร ความซื่อสั ตย์ มีวนิ ัย
มาเลเซีย
ทํางานเป็ นทีม
• พัฒนารู ปแบบการเรียนทีม่ ีการนําเทคโนโลยีมาช่ วยในการจัดการ
• การยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาของประเทศเพือ่ ความพร้ อมในการ
แข่ งขันในศตวรรษที่ 21
 เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพของเด็กไทย
 เพือ่ สร้ างเด็กไทย ให้ เป็ นมนุษย์ ทสี่ มบูรณ์ ท้งั ร่ างกายและจิตใจ อยู่ได้ ใน
สั งคมไทย เป็ นคนเก่ง คนดี และมีความสุ ข
 ใฝ่ รู้ และเรียนรู้ วธิ ีการแสวงหาความรู้ เป็ นผู้มีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
และพัฒนา คิดได้ ทาเป็ น
 สามารถปรับตัวได้ ในสั งคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
“ เรียนให้ ใฝ่ ร้ ู เรียนให้ ใฝ่ ดี เรียนให้ มีงานทา ”
คุณภาพเด็กไทยในอนาคต
เน้ นความคิดจิตตระหนักรักชาติไทย
๑. ต้ องเก่งและดีมีความสุ ข
มีคุณธรรมมีคุณค่าน่ าชื่นชม
๒. เรียนรู้หาความรู้ อยู่เป็ นนิจ
แสวงหาความรู้เสริมเพิม่ ทวี
๓. เตรียมพร้ อมยอมรับการปรับเปลีย่ น
แม้ นสั งคมเปลีย่ นแปลงตามกาลเวลา
ได้ กาหนดอย่ างชัดเจนเป็ นเงื่อนไข
ให้ อยู่ได้ เป็ นคนได้ ในสั งคม
ต้ องสนุกต้ องรักเรียนเพียรสะสม
มีความคมมั่นในจิตคิดสิ่ งดี
เป็ นต้ นคิดสิ่ งใหม่ เด่ นเป็ นศักดิ์ศรี
เป็ นผู้ทมี่ ีจิตใจใฝ่ พัฒนา
ปรับแนวเรียนเปลีย่ นแนวคิดกิจค้ นหา
ก็รักษาปรับตัวรอดตลอดเอย
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้ าธนบุรี
http://thelearningcurve.pearson.com/index/index-ranking
http://thelearningcurve.pearson.com/data-bank/education-input-indicators
การจัดอันดับดัชนีการพัฒนามนุษย์ เฉพาะดัชนีการศึกษา (Education Index) ที่ คํานวณ
จากอัตราการรู้ หนังสื อของผู้ใหญ่ และสั ดส่ วนของเด็กวัยเรียนที่ ได้ รับการศึกษา
ระดับประถมจนถึงอุดมศึกษา จาก 187 ประเทศ เปรียบเทียบเฉพาะอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ
กลุ่มประเทศทีม่ กี ารพัฒนามนุษย์ ระดับสู งมาก
สิ งคโปร์ (อันดับที่ 26)
บรูไน (อันดับที่ 33)
กลุ่มประเทศทีม่ กี ารพัฒนามนุษย์ ระดับปานกลาง
ไทย (อันดับที่ 103)
ฟิ ลิปปิ นส์ (อันดับที่ 112)
อินโดนีเซีย (อันดับที่ 124)
กลุ่มประเทศทีม่ กี ารพัฒนามนุษย์ ระดับสู ง
มาเลเซีย (อันดับที่ 61)
กลุ่มประเทศทีม่ กี ารพัฒนามนุษย์ ในระดับตํ่า
พม่ า (อันดับที่ 149)
เวียดนาม (อันดับที่ 128)
สปป.ลาว (อันดับที่ 138)
กัมพูชา (อันดับที่ 139)
ทีม่ า : Human Development Report 2011 ของ UNDP
High Proficiency ลาดับ (9) Malaysia 55.54
Moderate Proficiency 12 Hong Kong 54.44, 13 South Korea 54.19, 14 Japan
54.17
Low Proficiency 25 Taiwan 48.93, 26 Saudi Arabia 48.05, 29 China 47.62 , 30
India 47.35 ,32 Russia 45.79, 34 Indonesia 44.78,
Very Low Proficiency 39 Vietnam 44.32, 42 Thailand 39.41, 44 Kazakhstan 31.74
No score available for Cambodia, Myanmar, Laos, Philippines
15
เด็กไทยเรียนหนักเป็ นอันดับ(1)ของโลก ในระดับอายุ 11 ปี 1,200 ชั่วโมงต่ อปี , (2) อินโดนีเซีย 1,176
(3) ฟิ ลิปปิ นส์ 1,067 (4) อินเดีย 1,051 (11) มาเลเซีย 964 (19) เยอรมันนี (28) จีน 862 (30) ญี่ปุ่น771
ทัง้ นีเ้ ป็ นการเรียนในห้ องเรียน ไม่ นับการเรียนพิเศษ
เด็กไทยเรียนมาก แต่ สัมฤทธิผลต่า
คุณภาพการศึกษาไม่ ขึน้ กับจานวนชั่วโมงเรียนอย่ างเดียว เด็กไทยเรียนมากแต่ ซา้ ซาก(เรียนใน
ชัน้ เรียนพิเศษ และเรียนกวดวิชาตอนเย็นและวันหยุด เรียนแบบ content-oriented study
ไม่ มีวิธีเรียนรู้ใหม่ - ไม่ ใช่ process-oriented study/learning) ไม่ เว้ นแม้ แต่ อุดมศึกษา
เด็กไทยเรียนต่ อปี ประมาณ 1,200 ชม. ชั่วโมงเรียนมากเป็ นอันดับ 2 ของโลกเมื่ออายุ 9 ปี ,
16
เรียนมากอันดับ 1 ของโลกเมื่ออายุ 11 ปี , อันดับ 5 อายุ 12 ปี , อันดับ 8 อายุ 13 ปี
ireport.cnn.com/docs/DOC-985267
The Thai
Education
System is
One of the
Worst in S.E.
Asia and is
Worsening
Every Year
การใช้ ชีวติ ของเด็กและเยาวชนไทย
ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ
18
การใช้ ชีวติ ของเด็กและเยาวชนไทย
ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ
19
สิ่งที่เกิดขึน้ ในศตวรรษที่ 21
• Life – Cycle ของสิ่งต่ างๆ ในโลก รวมทัง้ ความรู้ ปั ญหา เทคโนโลยี และ
อาชีพ จะสัน้ ลงมากกว่ าในอดีต (ล้ าสมัยเร็ว) นั่นคือ “การเปลี่ยนแปลง
(CHANGE) เป็ นเรื่องปกติของศตวรรษที่ 21”
• สังคมต้ องการกลุ่มคนที่มีประโยชน์ หลากหลายมิติ (“Versatilists”)
มากกว่ ากลุ่มคนที่มีทกั ษะเฉพาะทาง (Specialists) และกลุ่มคนทั่วไป
(Generalists)
• การศึกษาให้ ความสาคัญกับการเรียนรู้มากกว่ าการสอน – ผู้เรียนจะมี
ความสาคัญ
• ฯลฯ
“Super skills” for the 21st century!
ความยัง่ ยืนของการศึกษาไทย
“ โรงเรียนไทย ” ที่ยงิ่ ใหญ่ ใช่ ทรัพย์ สิน ใช่ ที่ดนิ ที่กว้ างใหญ่ ที่ไพศาล
ใช่ มากด้ วยเครื่องมือหรืออาคาร
ใช่ เล่ าขานสื บสานเนิ่นนานมา
ใช่ ว่ามีถิ่นฐานดีที่ต้งั สวย
ใช่ ว่ารวยงบประมาณการศึกษา
ใช่ ว่าขาดคู่แข่ งแหล่ งวิชา
แล้ วเชื่อว่ าจะยิง่ ใหญ่ ใน “ปฐพี”
แต่ มากด้ วยภูมปิ ัญญา-ภูมคิ วามคิด
มากด้ วย “ ศิษย์ ” คิดใฝ่ รู้ อยู่ทุกที่
มากด้ วย “ ใจ ” ราลึกถึงซึ่งความดี
ด้ วยศักดิ์ศรี อุดมการณ์ สานสื บมา
และมากด้ วย “ คนดี ” มีความรู้
มากด้ วย “ ครู ” ผู้มใี จใฝ่ ศึกษา
มากด้ วยจิตสานึกรวมร่ วมพัฒนา
ร่ วมรักษาร่ วมสร้ างเสริมเติม“คนดี”
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้ าธนบุรี
สัมฤทธิผล
มุ่งมัน่ ท้าทาย
ยืดหยุน่
ก่อเกิดประโยชน์
ค่านิยมองค์กร
ประสิ ทธิภาพ
ใช้ตดั สิ นใจ
บทเรี ยนองค์กร
คุม้ ค่า
บทบาทของผ้ นู าต้ องเปลีย่ นไป
แนวคิดของผ้ คู นต้ องเปลีย่ นแปลง
ยุทธศาสตร์ การพัฒนา
โรงเรียนมัธยมศึกษา
เพือ่ รองรับอาเซียน
ต้ องเรียนรู้ จากองค์ กรทีป่ รับตัว และเปลีย่ นแปลง
กรณีศึกษา มจธ.
ช่วงแรก “วิทยาลัย เทคนิคธนบุรี” (พ.ศ. 2503-2514)
วิทยาลัยเทคนิคแห่งแรก ในประเทศที่ผลิตช่างเทคนิคจากผูจ้ บชั้นสูงสุ ดสายสามัญ
กรณีศึกษา มจธ.
ช่วงที่สอง “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี” (พ.ศ. 2514-2529)
ทีไ่ ด้ รวมวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี กับวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และวิทยาลัยเทคนิค
โทรคมนาคม สู่ การเป็ นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า สั งกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ช่วงที่สาม“สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี” (พ.ศ. 2529-2541)
เป็ นนิตบิ ุคคล มีฐานะเป็ นกรมในทบวงมหาวิทยาลัย
กรณีศึกษา มจธ. ช่วงที่สี่“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี” (พ.ศ. 2541-ปัจจุบนั )
การปรับสภาพเป็ นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐบาล ซึ่งถือเป็ นหนึ่งในช่ วงเวลาที่มีการ
เปลีย่ นแปลงครั้งใหญ่ ทสี่ ุ ดครั้งหนึ่ง ไม่ เพียงแต่ ภายใน มจธ. เท่ านั้น แต่ ยงั เป็ นประวัติศาสตร์
ของการเปลีย่ นแปลงในอุดมศึกษาไทย
WORLD CLASS
UNIVERSITY
อันดับที่ 389 ของโลก
อันดับที่ 349 ของโลก
ตานานแห่ งความสาเร็จของชาว มจธ. ส่ วนหนึ่งอยู่ที่ ความหวัง และความเชื่อของประชาคม
ความหวัง คือ ขุมพลังในใจเรา และความเชื่อ คือ แรงผลักดันสู่ ความสาเร็จ
เราสร้ างคนให้ มองไปข้ างหน้ าให้ มคี วามเชื่ออย่ าง เชื่อมั่น ...ศรัทธา... ค้ นหา... กล้ าคิด...และ กล้ าทา
เชื่อมั่นว่ า เราทาได้
เป็ นอย่าง ดี
และจะดีวันดีคนื
ศรัทธาต่ องานทีท่ า
ศรัทธาต่ อผลงานทีไ่ ด้
ศรั ทธา ศรัทธาต่อบุคลากรชาวมจธ.
ศรัทธาต่ อองค์ กรของเราทุกคน
เชื่อมั่น
กล้าที่จะลงมือทา
กล้ าทา
ทาอย่างมืออาชีพ
และทาให้ ดขี นึ้ อย่างต่ อเนื่อง
ค้ นหา
กล้ าคิด
กล้าคิดแบบ พลิกโฉม
กล้าคิดสิ่ งใหม่ ให้ เป็ นนวัตกรรม
กล้าคิดสิ่ งที่ แตกต่ าง
ไม่ หยุดนิ่งต่ อ
การค้ นหาอย่างเข้ าใจ
ใช้ เทคโนโลยีเข้ าช่ วย
ให้ ร้ ูแจ้ ง-เห็นจริง
ถ่ องแท้
2.รศ.ดร.หริส
สู ตะบุตร
ดร.ทองฉัตร
หงศ์ ลดารมภ์
นายกสภา มจธ.
5.รศ.ดร.ศักรินทร์
ภูมริ ัตน
4.รศ.ดร.ไกรวุฒิ
3.ดร.กฤษณพงศ์
1.รศ. ดร.ไพบูลย์
เกียรติโกมล
กีรติกร
หังสพฤกษ์
ความหวัง ความเชื่อ ความศรัทธา ความต่ อเนื่อง และความเป็ นมืออาชีพ ของชาว มจธ.
อธิการบดี มจธ.ทุกท่ านทีย่ งั คงทางานร่ วมกัน ตลอดเวลาจากอดีตถึงปัจจบุ ัน
Theoretical limit
การเปลีย่ นแปลง
ช่ วงเก็บเกีย่ ว
ได้ ผลมาก
เปลีย่ นแปลงมาก
ช่ วงเริ่มต้ นการเปลีย่ นแปลงช้ า
เพราะแรงเสี ยดทาน
ความกลัวการเปลีย่ นแปลง
ช่ วงปลายการเปลีย่ นแปลง
ไม่ มีผลหรือการเปลีย่ นเพิม่ เติม
อย่างมีนัยยะสํ าคัญ
Diminishing return
Theoretical limit
เวลา
กฤษณพงศ์ กีรติกร
ผูน้ า
ผูน้ ำทีเ่ ก่งจะสร้ำง quantum jumpได้มำก
สร้ำง S-curve เส้นใหม่ได้เร็ว ได้ตลอดเวลำ
พำคนไปสู่ S-curve ใหม่ได้รวดเร็ว
ผูบ้ ริหารทีเ่ ก่งจะพาคนไปตาม S-curve ได้รวดเร็ว
เก่ง
ปานกลาง
ไม่เก่ง
แย่
ผูบ้ ริหาร ผูจ้ ดั การ
กฤษณพงศ์ กีรติกร
PRIME MINISTER
LEE HSIEN LOONG'S
SPEECH AT NATIONAL DAY
RALLY 2005
ON 21 AUGUST 2005, 8.00 PM,
AT NUS UNIVERSITY
CULTURAL CENTRE
What will Singapore be like 40 years from now? I can’t tell you. Nobody can.
But I can tell you it must be a totally different Singapore
because if it is the same Singapore as it is today, we’re dead.
We will be irrelevant, marginalised, the world will be different.
You may want to be the same, but you can’t be the same.
Therefore, we have to remake Singapore -- our economy, our education system, our mindsets,
our city. Innovation, enterprise and R&D, these are the ways to remake the economy.
(Lee Hsien Loong, 21 August 2005)
หนทางสู่ การก้าวกระโดด
strategic thinking
Quantum Jump
Zhī jǐ zhī bǐ,
bǎi zhàn bǎi shèng
知己知彼,百戰百勝
รู้เรา รู้เขา ร้อยรบ ร้อยชนะ
Sūn zi bīng fǎ
孙子兵法
Sūn zi bīng fǎ
孙子兵法
กาลังพลไม่ พร้ อม
สั่งรุ ก
ภารกิจห้ ามหยุด
สั่งถอย
ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความศรัทธา
และระบบ ไม่มีความพร้ อม
ความไม่ตอ่ เนื่องในการปฏิบตั ิภารกิจที่อาจเห็น
ผลในระยะยาว
ภาวการณ์ ไม่ แจ้ ง
ปฏิ บัติกิจ
การปฏิบตั ิงานในสภาพ ปรับตัวกับสถานการณ์
ไม่ได้ ตลอดจนไม่เข้ าใจในสถานการณ์
เมื่อไพร่ พลสงสัย จะเกิดความระส่ าระสาย
รากฐานแห่ งพลังขับเคลื่อนองค์ กรสู่ความสาเร็จอย่ างยั่งยืน
ความรู้
การพัฒนาระบบคิด
และความสามารถในการคาดการณ์
ความเชื่อ ความศรั ทธา
ความมุ่งมั่น ความอดทน
ความเสียสละ และความซื่อสัตย์ สุจริ ต
ทักษะ
ความเชี่ยวชาญ
ชานาญการในศาสตร์ แห่ งตน
37
37
บทบาทครูควรเป็ นอย่างไร ?
Teachers or Facilitators
Teachers and Facilitators
วิทยากร
กระบวนกร
บูรณากร
ครู จึงต้องเป็ นผูม้ ีประสบการณ์สูง หลากมุมมอง และรอบรู ้
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้ าธนบุรี
“ ครูหรือผูช้ ว่ ยครู ” ในศตวรรษที่ 21
Sergey Brin and Larry Page
“วลีทองของครู -อาจารย์ ”
• “คนที่นงั่ อยูข่ า้ งหน้าเรา รู้ไหมว่าใครคือพระอรหันต์”
อ.ชวยง พิกลุ สวัสดิ์
• “การสอนของครู คือจุดประกายไฟให้เชื้อเพลิงกับนักศึกษา ไม่ใช่แต่จะ
เติมน้ าใส่ แก้วอย่างเดียวอีกต่อไป ครู ต้องเลือกให้เหมาะสม”
อ.กฤษณพงศ์ กีรติกร
การสอนของครู แบบจุดไฟให้ติด
การสอนของครู แบบเติมน้ าใส่ แก้ว
ถามใน
ประเด็น
ที่สําคัญ
ถามถึง
เบือ้ งหลัง
ของความคิด
ถามให้ เห็นที่มา และถามให้ ถึงที่ไป
ถามถึงประสบการณ์ ของความสํ าเร็จ
THE ANT PHILOSOPHY
by Jim Rohn
ANTS NEVER QUIT
มดไม่เคยละความพยายาม - ชาวบางมด จะไม่ยอมท้อถอย ไม่จนต่อปัญหา
ANTS THINK WINTER ALL SUMMER
มดคิดถึงฤดูหนาวตลอดฤดูรอ
้ น - ชาวบางมด จะคาดการณ์ไปข้างหน้า
ANTS THINK SUMMER ALL WINTER
มดคิดถึงฤดูรอ
้ นตลอดฤดูหนาว - ชาวบางมด จะมองโลกในแง่ด ี
ALL-THAT-THEY-POSSIBLY-CAN
ั
มดทุม
่ เททุกสงิ่ เท่าทีส
่ ามารถ - ชาวบางมด ก็จะทาเต็มศกยภาพอย่
างต่อเนือ
่ ง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย
Thanitsorn Chirapornchai
รองอธิการบดีฝ่ายแผนและสารสนเทศ
Tel. 0-2470-8455-7
126 Pracha Uthit Road, Bangmod,
Thung Khru, Bangkok 10140, Thailand Fax. 0-2470-8038
Mobile : 08-1808-6820
Homepage http://www.kmutt.ac.th
E-mail Address :
[email protected]
43