ภาพนิ่ง 1 - pinionteam.in.th

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - pinionteam.in.th

การเตรียมเยาวชนไทย
ก่ อนเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
นายกิตติพร อินทะสีดา
ผู้อานวยการโรงเรียนกมลาไสย
กศบ.,นบ.,ศษ.ม.
ASEAN
มี 10 ประเทศ
ไทย- พม่ า- ลาว- เวียดนามกัมพูชา-มาเลเซีย- สิ งคโปร์
อินโดนีเซีย-บรูไน-ฟิ ลิปปิ นส์
ASEAN + 3 (จีน- ญี่ป่ ุน- เกาหลี)
ASEAN + 6 (จีน-ญีป่ ่ ุน -เกาหลี –
อินเดีย –ออสเตรเลีย – นิวซีแลนด์ )
แผนที่ 10 ประเทศ ASEAN
ประชากร ASEAN 10 ประเทศ
= 582 ล้ านคน
ASEAN + 3 = 2,100 ล้ านคน
ASEAN + 6 = 3,328 ล้ านคน
แผนที่ ASEAN + 6
(10 ประเทศ–จีน–ญีป่ ุ่ น–เกาหลี–อินเดีย–ออสเตรเลีย–นิวซีแลนด์)
ASEAN ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพฯ
Bangkok Declaration เมื่อ 8 ส.ค. 2510
สมาชิกก่ อตั้ง 5 ประเทศ ได้ แก่ ไทย
มาเลเซีย สิ งคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์
สั ญลักษณ์ ของ ASEAN
รวงข้ าว 10 รวง สี เหลืองบนพืน้ สี แดง
ล้ อมรอบด้ วย วงกลมสี ขาว และสี น้าเงิน
ภาษากลางของ ASEAN คือ
ภาษาอังกฤษ
3 เสาหลักของประชาคม ASEAN
่ คงของอาเซียน
1. ประชาคมการเมืองและความมัน
( ASEAN Politied and Security Community
= APSC)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
( ASEAN Economic Community = AEC )
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
( ASEAN Soeio Cultural Community = ASCC )
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เพือ่ ขับเคลือ่ น
ตามปฏิญญา ชะอา - หัวหิน
1. เผยแพร่ ความรู้ ข้ อมูลข่ าวสารและ เจตคติ
ที่เกีย่ วกับอาเซียน
2. พัฒนาศักยภาพ นักเรียน นักศึกษา และประชาชน
เพือ่ เตรียมความพร้ อม ในด้ าน
1) ภาษาอังกฤษ
2) ภาษาเพือ่ นบ้ าน
3) ICT
4) ทักษะการผลิตด้ านอุตสาหกรรม
3. พัฒนามาตรฐาน การศึกษาเพือ่ ส่ งเสริมการ
หมุนเวียนนักศึกษา และอาจารย์ ในอาเซียน
4. การเตรียมความพร้ อมเพือ่ เปิ ดเสรีการศึกษา ใน
อาเซียน
5. การพัฒนาเยาวชนเพือ่ เป็ นทรัพยากรสาคัญ ในการ
ก้ าวสู่ ประชาคมอาเซียน
จะเตรียมอะไร ให้ แก่ เยาวชนไทย
ก่ อนเข้ าสู่ ประชาคม ASEAN
1
2
ภาษา + ปัญญา
ภาษา
+ ปัญญา
1. ภาษาต่ างประเทศที่1
(ภาษาอังกฤษ)
1. การคิดวิเคราะห์
(Critical Thinking)
2. ภาษาต่ างประเทศที่ 2-3-4 2. การคิดสร้ างสรรค์
(Creative Thinking)
ปัญหาสาคัญของประเทศชาติ
1. คนไทยส่ วนใหญ่ ไม่ สามารถ
ใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่ อสาร
2. เด็กไทยส่ วนใหญ่ ไม่ เก่ ง
ด้ านการ คิด
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ในการเตรียมภาษาอังกฤษ
EP = English Program
- MEP = Mini English Program
- IP
= International Program
- ฯลฯ
-
EIS คืออะไร
EIS =
English for
Integrated Studies
การเรียนการสอนโดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ
เพือ่ การศึกษาแบบบูรณาการโดยครู ไทย
เป้ าหมายสูงสุดของ EIS คือ
1. เด็กไทยสื่ อสารโดยใช้
ภาษาอังกฤษได้
2. คิดเป็ น (คิดวิเคราะห์ สั งเคราะห์ - สร้ างสรรค์ )
EIS บูรณาการ 2 ลักษณะ
1. สอนวิชาต่ างๆ โดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นสื่ อ
(วิทย์ - คณิต- คอมพิวเตอร์ โดยครู ไทย)
2. สอนวิชาภาษาอังกฤษ โดยเอาเนือ้ หา
วิชาอืน่ ๆ มาบูรณาการ
ทาไมต้อง EIS
1. EP,MEP.IP…ราคาแพง ได้ เรียนเฉพาะคนมีเงิน
2. EP,MEP.IP… บางสาขาวิชา หาครู สอนไม่ ได้
3. ครู ไทยเก่ง เนือ้ หา (Content)
เพียงแต่ ไม่ กล้าพูดภาษาอังกฤษ
EIS
เกิดจากงานวิจยั ของ
ผอ. สุ รพงษ์ งามสม ร.ร. สุ นทรภู่พทิ ยา
จ.ระยอง
- โดยทดลองสอนกับวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ คอมพิวเตอร์
โรงเรียนทั่วประเทศสนใจ
เกิด EIS Network ทั้งในประเทศ และต่ างประเทศ
มี EIS Network ทั่วประเทศ 20 ศู นย์
เกิดสมาคม EIS แห่ งประเทศไทย
 โรงเรียนกมลาไสยนามาทดลองและวิจัยต่ อเป็ นปี ที่ 3
EIS เกิดจากรากหญ้ า : Buttom up
EIS กับกรณีศกึ ษา SINGAPORE
Singapore ประกอบด้วยคน 4 เชื้อชาติ
1. จีน
2. มาเลย์
3. อินเดีย
4. ผสม
-
ภาษาจีน
ภาษามาเลย์
ภาษาทมิฬ
....................
สอน EIS
เริ่มปี พ.ศ. 2518
= 36 ปี มาแล้ ว
โรงเรียนกมลาไสย เตรียมการ
ก่อนเข้าสู่อาเซียน อย่างไร ?
1.
เปลีย่ นกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift )
ของครูบคุ ลากร และนักเรียน เกีย่ วกับการใช้ภาษาอังกฤษ
เพือ่ การสือ่ สาร ( English for communication )
- อบรมปฏิบตั ิการ - สร้างบรรยากาศในโรงเรียน
- สร้างความเข้าใจ ความตระหนัก
2. ปฏิรูปวิธีสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนใหม่ ?
1) เน้ นการสอนด้ วยวิธีธรรมชาติ (Natural Learning
Methods, Listening copying Practice )
2) เน้ นทักษะ การฟัง – พูด – อ่ าน – เขียน ตามลาดับ
3) เน้ นความกล้ าทีจ่ ะสื่ อสาร ในห้ องเรียน ในโรงเรียนและ
ในชีวติ ประจาวัน
4) การสอนหลักไวยากรณ์ หลักการใช้ ภาษา เป็ นคนละ
ส่ วนกับการสื่ อสาร ในชีวติ ประจาวัน
3. ใช้ นวัตกรรม EIS ในการเรียนการ
สอน วิช าวิท ยาศาสตร์ - คณิต ศาสตร์
แ ล ะ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ ต่ อ ไ ป คื อ
วิชาสั งคมศึกษา – สุ ขศึกษา/พละศึกษา
- ศิลปะ การงานอาชีพ
กรณีโรงเรียนกมลาไสยเปิ ดสอน EIS
ปี การ
ศึกษา
ม.1
ม.2
ม.3
2552
2553
2554
2555
2556
3
2
10
10
10
3
2
10
10
3
2
10
ม.4
3
2
10
10
10
ม.5
3
2
10
10
ม.6
3
2
10
รวม
ห้ องเรียน
6
10
30
44
60
การเรียนการสอน EIS
โรงเรียนกมลาไสย
คณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์
(ดู VCD )
ผลการพัฒนา
ครู เก่ ง 2อย่ าง เห็นได้ ชัดเจน
1. ภาษาอังกฤษ
2. ICT
ครู วท
ิ ย์ - คณิต หลายคนสอนโดยใช้ ภาษาอังกฤษ
100% ในชั้นเรียนได้
ผลการพัฒนา (ต่ อ)
ครู และนักเรี ยน ไม่ กลัวภาษาอังกฤษ
นักเรี ยนพูดสื่ อสารด้ วยภาษาอังกฤษได้ มากขึน
้
นักเรียนมีโอกาสได้ ฟัง- พูด –อ่ าน –เขียน
ภาษาอังกฤษมากขึน้
ผลการพัฒนา (ต่ อ)


นักเรียนนาเสนอ Project เป็ น
ภาษาอังกฤษได้ ดขี นึ้
นักเรียนสามารถทาข้ อสอบวิชา
วิทย์ – คณิต เป็ นภาษาอังกฤษได้
การเปิ ดสอน EIS ในโรงเรียน


เปิ ดได้ ทนั ที ไม่ ต้องขออนุญาต
เปิ ดได้ ทุกระดับชั้น ขึน้ อยู่กบั
ความพร้ อมของครู และสื่ อ
ปัญหาอุปสรรค์ การเปิ ดสอน EIS
1. ความเชื่อ ที่ว่า เรื่อง EIS เป็ นไปไม่ ได้
2. ความกลัวภาษาอังกฤษ ทั้ง ผู้บริหาร ครู และเด็ก
3. ความกลัวว่ าเด็กจะสอบเข้ ามหาวิทยาลัยไม่ ได้
4. ขาดสื่ อ และ Internet ความเร็วสู ง
การเปิ ดสอน EIS สู่ ความสาเร็จ
1. ปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน์ ( Paradigm Shift)
1.1 ต้ องเชื่อว่ าครู ไทยทาได้ , เด็กไทยเรียนได้
1.2 ต้ องกล้ าพูดภาษาอังกฤษออกมา โดยไม่ ต้องกลัวผิด
เน้ นการสื่ อสาร ผิด – ถูก เอาไว้ แก้ ไขทีหลัง
การเปิ ดสอน EIS สู่ ความสาเร็จ (ต่ อ)
2. เตรียมครู- อบรมครู- สร้ างความตระหนัก
3. เตรียมสื่ อ- และระบบ ICT
4. สร้ างเครือข่ ายร่ วมพัฒนา (Network)
5. นิเทศติดตาม – ผอ. ติดตามใกล้ชิด
6. การสอนยึดหลัก Teach less Learn More
MODEL การพัฒนาครู
Awareness
On the job
Training
Supervision
Network
การอบรมครู(TRAINING)
1. Classroom English
2. การใช้ ICT เพือ่ ทาสื่ อการสอน
3. การเขียน Lesson Plan / Script การสอน
4. ทดลองสอน (Show Case)
CLASSROOM ENGLISH
1.
Greeting
 2. Command
 3. Explain
4, Questions and Answers
GREETING
Hi , Hello
Hello.
Good morning/ afternoon / evening
How are you ?
Are you ok ?

COMMAND
Listen. Listen to me.
Repeat. Repeat after me.
Come on / Stand up /
Come in front of the class
Do the exercise No. 2,1 on page 12 .
Etc.
QUESTIONS
Yes- No Questions
1. ready ?
(Are you ready ? )
2. understand ?
( Do you understand ? )
3. Tea or coffee?
( Do you want tea or coffee? )
4. hungry?
( Are you hungry? )
5. finish?
( Do you finish? )
6. sleepy?
( Are you sleepy?)
WH/
HOW -
QUESTIONS
What are you doing ?
What is the difference between animals and plants ?
Where is the cloud from ?
What is CO2 / H2O ?
When do you get up ?
How do you solve this problem ?
How to do this exercise ?