โครงสร้างรายงานผลการวิจัยแบบเป็นทางการ (ต่อ)

Download Report

Transcript โครงสร้างรายงานผลการวิจัยแบบเป็นทางการ (ต่อ)

“การวิจยั ในชั้นเรียน”
สรุปจาก ดร.นลินี ณ นคร มสธ.
โครงสร้างรายงานผลการวิจยั แบบเป็ นทางการ
-
ชื่อเรื่องการวิจยั
- ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาวิจย
ั
- วัตถุประสงค์ของการวิจย
ั
- ขอบเขตของการวิจย
ั
- ประโยชน์ จากการวิจย
ั
โครงสร้างรายงานผลการวิจยั แบบเป็ นทางการ
(ต่อ)
* วิธีการวิจยั
-
นวัตกรรมที่พฒ
ั นา (แนวคิดที่ใช้)
- กลุ่มเป้าหมาย
(ระดับการศึกษา จานวนตัวอย่าง ระยะเวลา)
- วิธีนานวัตกรรมสู่การปฏิบต
ั ิ / วิธีรวบรวมข้อมูล
- วิธีประเมินความสาเร็จ / วิธีวเิ คราะห์ขอ
้ มูล
- ผลที่เกิดขึ้ น
* บทเรียนที่ได้เรียนรู้ ข้อเสนอแนะจากการวิจยั
โครงสร้างรายงานผลการวิจยั แบบไม่เป็ นทางการ
*
*
*
*
*
สภาพปั ญหาที่เกิดขึ้ นกับนักศึกษา
โจทย์ปัญหาวิจยั
วิธีการออกแบบวิจยั
ผลการวิจยั แสดงรายละเอียดกระบวนการวิจยั ทั้งหมด
บทเรียนที่ได้เรียนรู ้ ควรรายงานผลการวิพากษ์
รายละเอียดของการทาวิจยั ในทุกขั้นตอน
ลักษณะของรายงานที่ดี
คุณสมบัติของรายงานการวิจยั ปฏิบตั ิในขัน้ เรียนที่ดี
* ความชัดเจน
* ถูกต้อง
* มีความสอดคล้องระหว่างประเด็นวิจยั กับการออกแบบวิจยั
* หลักฐานเกี่ยวกับกระบวนการที่มีการสะท้อนผลกลับเพื่อเป็ นข้อมูล
ยืนยันที่ได้จากการวิจยั มุมมอง/การวิพากษ์วจิ ารณืจากผูม้ ีส่วนร่วม
จะทาให้ผลการวิจยั มีความแข็งแกร่ง
ข้อคิด
การนาเสนอรายงานการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการในชัน้ เรียนไม่วา่ จะเป็ น
รูปแบบใด ต้องไม่ลืมที่จะแสดงหลักฐานหรือข้อมูลประกอบเพื่อให้เห็น
ที่มาของข้อสรุป
การเขียนชื่อเรื่องวิจยั
หัวข้อสะท้อนว่าเป็ นการวิจยั ปฏิบตั กิ าร
(การวิจยั การพัฒนา การสร้าง)
ระบุนวัตกรรมที่พฒ
ั นา
(เช่น วิธีการที่ใช้ แนวคิด ลักษณะของสิ่งประดิษฐ์)
ระบุที่ทาวิจยั
(กลุ่มตัวอย่าง ระดับชั้น สถานที่)
การเขียนชื่อเรื่องวิจยั (ต่อ)
ระบุตวั แปรผล (ตัวแปรตาม) ที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รียน
หัวข้อเรื่องวิจยั ในชั้นเรียนไม่ควรเป็ นเรื่องที่เป็ นการวิจยั เชิงสารวจ
สภาพปั ญหาเนื่ องจากไม่ใช่การวิจยั ปฏิบตั ิการ
การเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา
* ระบุสิ่งที่พึงประสงค์ หรือแนวคิด/หลักการสาคัญซึ่งเป็ นที่ยอมรับ
* ระบุสภาพปั จจุบนั ที่เป็ นอยูก่ บั นักเรียนที่ตนเองรับผิดชอบ
* ระบุสิ่งที่เป็ นปั ญหาอันเกิดจากการที่นักเรียนยังมีคุณลักษณะ
ไม่เป็ นไปในทิศทางที่พึงประสงค์ ตลอดจนผลกระทบที่ตามมา
* ค้นหรือ หรืออธิบายแนวคิดสาคัญที่คาดว่าจะเป็ นแนวทางใน
การพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
* อธิบายประโยชน์หรือความคาดหวังจากวิจยั
การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยั
* ให้เขียนโดยระบุคากริยาที่แสดงจุดมุง่ หมายของการวิจยั เพือ่ ให้ได้
คาตอบที่ตอ้ งการ
* ไม่ควรเขียนสิ่งที่คาดว่าจะได้รบั จากการวิจยั หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
* ควรระบุสิ่งที่เป็ นนวัตกรรมที่ผวู้ จิ ยั พัฒนาขึ้ น และการประเมินความสาเร็จ
ตัวอย่าง
•
•
•
เพื่อพัฒนาสื่อ...
เพื่อส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจเรื่อง...
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากสื่อ....
การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน/วิธี
พัฒนาคุณลักษณะของผูเ้ รียน
* ระบุแนวคิดสาคัญที่ใช้ในการออกแบบนวัตกรรม
* อธิบายเหตุผลสนับสนุ นที่ทาให้มคี วามคิดในการออกแบบนวัตกรรมแบบนั้น
(ถ้ามี)
* อธิบายว่านวัตกรรมที่พฒ
ั นาขึ้ นมีลกั ษณะอย่างไร
•
•
•
•
•
ทาเพื่อพัฒนาอะไร กับใคร ทาอย่างไร
ต้องใช้นวัตกรรมนั้นเวลานานเท่าใด
ผูเ้ กี่ยวข้องมีความคิดเห็นอย่างไรต่อนวัตกรรมที่ออกแบบมีการนาข้อคิดเห็น
เหล่านั้นมาปรับปรุงต้นร่างของนวัตกรรมอย่างไร
การใช้นวัตกรรมดังกล่าวต้องมีการเตรียมการในเรื่องอะไรบ้าง
เงื่อนไขอะไรบ้างที่ตอ้ งเตรียม เพื่อให้ใช้นวัตกรรมได้สาเร็จ
กลุม่ ตัวอย่างของการวิจยั
•
•
•
•
กลุ่มตัวอย่างคือใคร ขนาดเท่าใด เป็ นกลุ่มหรือกรณีศึกษา
เรียนอยูใ่ นชัน้ ใด
นักเรียนมีปัญหาอะไร รูไ้ ด้อย่างไร ข้อมูลมาจากไหน
สภาพก่อนการทดลองเป็ นอย่างไร รูไ้ ด้อย่างไร ใช้วธิ ีการวัดแบบใด
มีการเตรียมนักเรียนก่อน ระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรมอะไรบ้าง
การทดลองใช้นวัตกรรม
•
•
•
•
•
•
เตรียมทาแผนการสอนที่มกี ารสอดแทรกคาถามวิจยั
นวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนรการสอนข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ รียน
เก็บข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ รียน
ทดลองใช้นวัตกรรม
เตรียมวิธีการบันทึกผลการสังเกต หรือวิธีการเก็บข้อมูลแบบอื่น
สังเกตพฤติกรรม หรือผลที่เกิดขึ้ น
นาสิ่งที่เกิดขึ้ นไปสะท้อนกับเพือ่ นร่วมงาน บันทึกผล สิ่งที่ได้แก้ไขปรับปรุง
การบันทึกผลที่เกิดขึ้น
•
•
•
•
•
•
กาหนดพฤติกรรม หรือผลที่ตอ้ งการวัดจากผูเ้ รียน
กาหนดวิธีการวัด เช่น การทดสอบ การสังเกต การดูจากผลงานของเด็ก
กาหนดแหล่งผูใ้ ห้ขอ้ มูล หรือร่องรอยหลักฐานเกี่ยวกับผูเ้ รียน
นาผลที่ได้รบั มาตรวจสอบ วิเคราะห์ความก้าวหน้า ศึกษาจุดแข็งหรือ
จุดอ่อนของนวัตกรรม
จัดประชุมวิพากษ์เพื่อสะท้อนผลกับเพื่อนร่วมงานปรับปรุงนวัตกรรม
เก็บข้อมูลซ้า
วิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ สรุปผล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและแปลความหมาย
•
•
•
•
ศึกษาลักษณะหรือธรรมชาติของข้อมูล
กาหนดวิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูล ใช้เชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ
วิเคราะห์ขอ้ มูล นาเสนอผล เลือกรูปแบบการนาเสนอเป็ นความเรียง
ตาราง กราฟ แผนภูมิ
แปลความหมายผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การอภิปรายและจัดทาข้อเสนอแนะ
•
•
•
•
•
•
สรุปข้อค้นพบ ยกร่างประเด็นสาคัญที่คน้ พบ
วิเคราะห์จาแนก แยกแยะผลสรุป ประเด็นที่ขดั แย้งกับแนวคิด หรือสนับสนุ น
พยายามหาเหตุผลอธิบายผลที่เกิดขึ้ น
จัดประชุมเพื่อวิพากษ์ สะท้อนผลการวิจยั
บันทึกมุมมองของเพื่อนร่วมงาน นามาวิเคราะห์เป็ นประเด็นและเขียนในเชิงการ
อภิปราย
เขียนข้อเสนอแนะ
•
•
•
•
บทเรียนที่เรียนรูท้ ี่น่าจะนาไปใช้ประโยชน์หรือเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น
จุดอ่อนในการวิจยั ซึ่งควรเสนอมิให้ผอู้ ื่นทาผิดซ้า
ประเด็นที่คน้ พบจากการวิจยั และคิดว่าน่ าจะมีการวิจยั ต่อยอดจากเดิม
แนวทางการขยายผลการวิจยั
จุดตรวจสอบของคุณภาพงานวิจยั
•
•
•
•
•
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนวัตกรรม
ความน่ าเชื่อถือของผลการวิจยั คุณภาพของข้อมูลซึ่งมาจากวิธีการจัดเก็บที่
น่ าเชื่อถือ
ประโยชน์ที่เกิดขึ้ นและสามารถนาไปปรับใช้ได้ในวงกว้าง
ความสามารถในการสื่อสารข้อค้นพบ ภาษาที่ใช้อ่านง่าย
มีความสอดคล้อง ความเป็ นเหตุเป็ นผล
ความคงเส้นคงวาของคาที่ใช้ตลอดเล่ม
การจัดทารายงาน
•
•
•
•
•
•
กาหนดรูปแบบการเขียน (ดูหวั ข้อ)
ลงมือยกร่าง
ทิ้ งช่วงห่างประมาณ 3-4 วัน แล้วมาอ่านใหม่
ตรวจสอบภาษา ตรวจปรุฟ๊ ดูความถูกต้องของข้อมูลและการเขียนสรุป
พิจารณาความสอดคล้องของรายงาน ความเป็ นเหตุเป็ นผล
ภาษาต้องกระชับ ได้ใจความ เป็ นประโยคสมบูรณ์ อ่านเข้าใจง่าย