เอกสารประกอบ 1 (คลิกดาวน์โหลดที่นี่..)

Download Report

Transcript เอกสารประกอบ 1 (คลิกดาวน์โหลดที่นี่..)

มิติของการบริหารจัดการ
และประเด็นปัญหาการวิจัย
โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ชีพ พุทธประเสริฐ
รองคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน
คณะศึกษาศาสตร์
มิตขิ องการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจยั
มิติของการบริหาร :
Process
Roles / Functions
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา
• บทบาทและหน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาที่
เหมาะสมและก่อให้เกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลสู งสุ ด
ควรเป็ นเช่นไร
• ยุทธศาสตร์ในการสร้าง / พัฒนาบทบาทและหน้าที่ของ
องค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาให้เป็ นไปเพื่อคุณภาพควร
เป็ นเช่นไร
Roles / Functions
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่ อ)
• มีปัจจัย / องค์ประกอบใดบ้างที่ส่งผลต่อการแสดงบทบาท /
หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานได้ดีที่สุด
• มาตรฐานตัวบ่งชี้ เกณฑ์การพิจารณาที่ใช้วดั ความมี
ประสิ ทธิภาพของการแสดงบทบาท / หน้าที่ขององค์การ /
หน่วยงานทางการศึกษา ควรมีอะไรบ้างและควรเป็ นอย่างไร
Roles / Functions
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่ อ)
• มีวิวฒั นาการ / พัฒนาการของบทบาท / หน้าที่ขององค์การ /
หน่วยงานทางการศึกษาเป็ นมาอย่างไร
• แนวโน้มของบทบาท หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการ
ศึกษาควรเป็ นอย่างไร
Skills
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา
• การพัฒนาทักษะการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงาน
ในตาแหน่งต่าง ๆ ควรดาเนินการอย่างไร (รู ปแบบ /
ยุทธศาสตร์การพัฒนา)
• ทักษะและพฤติกรรมที่แสดงออกใดบ้าง ที่จะใช้วดั หรื อ
ประเมินความเหมาะสม / การเข้าสู่ ตาแหน่งต่าง ๆ ของ
บุคลากรทางการศึกษา
Process
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา
• กระบวนการ / การจัดการที่มีประสิ ทธิภาพขององค์การ / หน่วยงาน
ทางการศึกษาควรเป็ นอย่างไร (บางส่ วนของกระบวนการ / ทั้ง
กระบวนการ)
• ยุทธศาสตร์ / รู ปแบบการบริ หารความเสี่ ยง (Risk Management)
ในการบริ หารจัดการด้านต่าง ๆ ในองค์การ / หน่วยงานทางการ
ศึกษาควรเป็ นอย่างไร
Process
กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่ อ)
• ยุทธศาสตร์ / รู ปแบบการบริ หารจัดการในองค์การด้านอื่น ๆ
ที่สาคัญ จาเป็ นและเป็ นธรรมชาติขององค์การ เช่น ความ
ขัดแย้ง / การเปลี่ยนแปลง / คุณภาพ เป็ นต้น ควรเป็ นอย่างไร
• มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์พิจารณาคุณภาพองค์การ / หน่วยงาน
ด้านกระบวนการควรเป็ นอย่างไร
• เทคนิควิธีใดบ้างที่จะช่วยพัฒนากระบวนการบริ หารจัดการ
คุณภาพให้ประสบผลสาเร็ จ
มิตขิ องการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจยั
มิติขององค์ การ :
โครงสร้าง
คนและ
สังคมของคน
องค์การ
เทคโน ฯ / นวัตกรรม
งาน / กิจกรรม
มิติด้านโครงสร้ างองค์การกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหาร
การศึกษา
• โครงสร้างองค์การ / โครงสร้างทางการบริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพ
ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาระดับต่าง ๆ ควรเป็ น
อย่างไร (การปรับรื้ อโครงสร้าง / การออกแบบโครงสร้างใหม่)
• ยุทธศาสตร์ / รู ปแบบการบริ หารจัดการภายใต้โครงสร้าง
(เดิม / ใหม่) ให้มีประสิ ทธิภาพควรดาเนินการอย่างไร
มิติด้านโครงสร้ างองค์การกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหาร
การศึกษา (ต่ อ)
• วิวฒั นาการ / พัฒนาการของโครงสร้างการบริ หารจัดการองค์การ
/ หน่วยงานทางการศึกษาระดับต่าง ๆ เช่น การศึกษาขั้นพื้นฐาน /
อาชีวศึกษา / อุดมศึกษา / การเจาะลึกในรายสถาบันเป็ นมา
อย่างไรและแนวโน้มจะเป็ นอย่างไร
• การกระจายอานาจ / การมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาที่เป็ น
รู ปธรรมในระดับต่าง ๆ ควรเป็ นอย่างไร (สถานศึกษา / อปท. /
สพฐ. / สกอ. / สอศ. )
มิติด้านคนและสั งคมของคนกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนา
การบริหารทางการศึกษา
• รู ปแบบ / ยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการบริ หารจัดการบุคลากร
และสร้างวัฒนธรรมองค์การควรเป็ นอย่างไร (เฉพาะภารกิจใด
ภารกิจหนึ่ง หรื อทั้งระบบ)
• เทคนิควิธีที่ควรนามาใช้เพิ่มประสิ ทธิภาพในการบริ หารจัดการ
บุคลากรและวัฒนธรรมองค์กร ควรเป็ นอย่างไร (เทคนิคที่
น่าสนใจ เช่น KM / LO / TQM / BSC / MC / QA
/ TQA / ISO
มิติด้านคนและสั งคมของคนกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหาร
ทางการศึกษา (ต่ อ)
• การสร้างคุณภาพของคนเพื่อการปฏิบตั ิงานที่มีประสิ ทธิภาพควร
ดาเนินการอย่างไร เช่น แรงจูงใจ / ขวัญกาลังใจ / ศักยภาพด้าน
ต่าง ๆ ของบุคลากรที่ส่งผลต่อการทางาน (เน้นการแสวงหา
นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้เพิ่มประสิ ทธิภาพของบุคลากรเป็ นหลัก)
มิติด้านงาน / กิจกรรมกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนาการบริหาร
การศึกษา
• แนวทางการพัฒนางาน / กิจกรรมตามภารกิจขององค์การให้มี
คุณภาพจะเป็ นอย่างไร (เน้นงานตามภารกิจของแต่ละองค์การ /
หน่วยงานในลักษณะเฉพาะหรื อทั้งระบบ)
• ผลการใช้นวัตกรรมที่สร้างขึ้นหรื อคัดเลือกมาใช้จะส่ งผลต่องาน
และกิจกรรมตามภารกิจขององค์การหรื อไม่ อย่างไร
• ผลการประเมินและพัฒนางาน / กิจกรรมที่องค์การหรื อ
หน่วยงานรับผิดชอบอยู่ เป็ นอย่างไร (ประเมิน / นาเสนอ
แนวทางพัฒนาทั้งเชิงนโยบายและการปฏิบตั ิที่เป็ นรู ปธรรม)
มิติด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์ การพัฒนา
การบริหารการศึกษา
• แนวทาง / รู ปแบบการบริ หารจัดการเทคโนฯ / นวัตกรรมที่มี
ประสิ ทธิภาพควรเป็ นอย่างไร
• ผลการใช้เทคโนฯ / นวัตกรรมที่สร้างขึ้นหรื อคัดเลือกมาใช้จะ
ส่ งผลต่อประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลขององค์การหรื อไม่
อย่างไร
• มีเทคโนฯ / นวัตกรรมอะไรบ้างที่องค์การ / หน่วยงานระดับต่าง
ๆ นามาใช้จนประสบผลสาเร็ จ ทั้งในระดับสากล / ประเทศ /
ท้องถิ่น / สถาบัน (สังเคราะห์ / สร้าง / ทดลองใช้ / ปรับ,พัฒนา )
รู ปแบบการวิจยั ทีค่ วรเป็ น :
วิจัยและพัฒนา (R&D)
 ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูลทั้งเชิงคุณภาพและปริ มาณ / สร้าง / ทดลอง
ใช้ / ประเมิน / ปรับและพัฒนา
 ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม / เลือก / นามาใช้
จริ ง / ประเมิน / เสนอแนวปฏิบตั ิ
รู ปแบบการวิจยั ทีค่ วรเป็ น :
วิจัยปฏิบัตกิ าร (Action Research)
 ศึกษาตามกระบวนการ / เทคนิควิธีที่นามาใช้ / ประเมินผล /
เสนอแนวปฏิบตั ิ
 ศึกษาข้อมูลในองค์การ / ระบุปัญหา / ทบทวน / ชี้ชดั / หาทาง
เลือกร่ วมกัน / วางแผนปฏิบตั ิ / ปฏิบตั ิ / ประเมิน / ปรับปรุ ง /
กาหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิ
รู ปแบบการวิจยั ทีค่ วรเป็ น :
วิจัยเอกสาร (Documentary Research)
 รวบรวม / คัดเลือก / วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / นาเสนอผล /
นาเสนอทิศทาง
วิจัยอนาคต (Future Research)
 EFR
 EDFR
รู ปแบบการวิจยั ทีค่ วรเป็ น :
วิจัยแบบผสม (Mixed Methodology)
การใช้วิธีวิจยั หลายวิธีเพื่อตอบปัญหาการวิจยั ให้ตรงที่ สุด เช่น
 ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพและปริ มาณ / สร้าง / หา
ประสิ ทธิภาพโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ (Delphi) / ทดลองใช้ / ประเมิน /
หารู ปแบบที่เหมาะสมที่สุด / ใช้จริ ง / ประเมิน / ปรับปรุ งพัฒนา
 ศึกษา วิจยั อนาคต / วางแผนรองรับ / ปฏิบตั ิตามแผน / ตรวจสอบ
ประเมิน / ปรับปรุ ง พัฒนา
ประเด็น (Issues) ทีก่ าลังอยู่ในความสนใจเป็ นพิเศษ :
เกีย่ วกับโครงสร้ างการบริหารจัดการ เช่ น
 การถ่ายโอนการจัดการศึกษา
 การปรับรื้ อโครงสร้างการบริ หารจัดการระดับสถานศึกษา /
เขตพื้นที่
 การจัดตั้งสานักงานในเขตพื้นที่เพื่อบริ หารจัดการโรงเรี ยน
มัธยม
 การปรับและพัฒนาโครงสร้างการบริ หารจัดการอาชีวศึกษา
 การปรับและพัฒนาโครงสร้างการบริ หารสถาบันอุดมศึกษาสู่
องค์กรในกากับ
ประเด็น (Issues) ทีก่ าลังอยู่ในความสนใจเป็ นพิเศษ : (ต่ อ)
เกีย่ วกับคน / สั งคมของคนในองค์ การ เช่ น
การจัดการความขัดแย้งในองค์การ (Conflict
Management)
การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Changing
Management)
การบริ หารความเสี่ ยง (Risk Management)
การสร้างองค์การแห่งการเรี ยนรู ้ (Learning
Organization)
เกีย่ วกับคน / สั งคมของคนในองค์ การ (ต่ อ)
 การสร้างพฤติกรรมของบุคลากรที่จาเป็ นต่อการพัฒนา เช่น ความ
พอเพียง / แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ / พันธสัญญากับองค์การ /ความทุ่มเท /
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ / การมีส่วนร่ วม / การกระจายอานาจ / การ
ประสานงานและการสื่ อสาร / ความศรัทธาต่อองค์การ / ความภักดีต่อ
องค์การ ฯลฯ
 การแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ความเครี ยด / ความ
ฉลาดทางอารมณ์ / การถดถอย เป็ นต้น
 การเข้าสู่ ตาแหน่ง / วิทยะฐานะของบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็น (Issues) ทีก่ าลังอยู่ในความสนใจเป็ นพิเศษ : (ต่ อ)
เกีย่ วกับงาน / กิจกรรมในองค์ การ เช่ น
 การสร้าง / พัฒนาระบบประกันความสาเร็ จในการปฏิบตั ิงานของ
บุคลากร
 การใช้ / แสวงหาแนวทางการปฏิบตั ิงานที่มีประสิ ทธิ ภาพใน
หน่วยงานที่มีปัญหาในการปฏิบตั ิงาน เช่น ความสัมพันธ์ , ร่ วมมือกับ
ชุมชน / การบริ หารการเงินและงบประมาณ / การติดตามผูส้ าเร็ จ
การศึกษา / การเร่ งรัดให้จบตามเวลา / การนิเทศภายใน / การบริ หาร
จัดการแหล่งเรี ยนรู ้ / งานพัฒนาหลักสู ตร / การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสาคัญ / การแก้ปัญหาป้ องกันยาเสพติดในสถานศึกษา / การวางแผน
กลยุทธ์ / การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น
ประเด็น (Issues) ทีก่ าลังอยู่ในความสนใจเป็ นพิเศษ : (ต่ อ)
 เกีย่ วกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์ การ เช่ น
เทคนิควิธีที่เหมาะสมต่อการพัฒนาองค์การที่สาคัญจาเป็ นปั จจุบนั ได้แก่
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน / ระบบประกันคุณภาพของสกอ.
/ สอศ. / รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) / ระบบการประเมินภายนอกของสมศ. /
การสร้างเครื่ องมือที่ใช้วดั ประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของสมศ. เช่น วัดความคิด
วิเคราะห์ของผูเ้ รี ยน / วัดคุณธรรม จริ ยธรรม เป็ นต้น / การสร้างมาตรฐานตัวบ่งชี้
คุณภาพการจัดการศึกษาที่ยงั ไม่ชดั เจน เช่น การศึกษานอกระบบ / การศึกษาพิเศษ /
การศึกษาของพระสงฆ์ / การจัดการศึกษาโรงเรี ยนสาธิตของมหาวิทยาลัย / การจัดการ
ศึกษาโรงเรี ยนสองภาษา / การจัดการศึกษาโรงเรี ยนแบบ EP / การจัดการการศึกษา
อาชีวศึกษาเอกชน / การจัดการศึกษาปฐมวัย เป็ นต้น
เกีย่ วกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์ การ(ต่ อ)
รู ปแบบ / ยุทธศาสตร์การบริ หารจัดการสารสนเทศ /
เทคโนโลยีสารสนเทศของเขตพื้นที่การศึกษา / สถานศึกษาและหน่วยงาน
ทางการศึกษาอื่น ๆ เน้นการสร้างระบบ / พัฒนาระบบ / การใช้ระบบหรื อ
ฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษา
ประเด็น (Issues) ทีก่ าลังอยู่ในความสนใจเป็ นพิเศษ : (ต่ อ)
จากผลการประชุ มสั มมนาทีจ่ ัดโดยหน่ วยงานทางการศึกษาต่ าง ๆ และการ
วิเคราะห์ เอกสาร
การประชุมสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย.
2550)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะที่ พึง
ประสงค์ ควรเป็ นอย่างไร เช่น การแสวงหาความรู ้ / คุณธรรม / การคิด
วิเคราะห์ / ภาวะผูน้ า , ผูต้ าม / จิตสาธารณะ / ขยันหมัน่ เพียร / การทางาน
ร่ วมกับคนอื่น / แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ เป็ นต้น
การประชุ มสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย. 2550) (ต่ อ)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่
มีประสิ ทธิ ภาพควรเป็ นอย่างไร เช่น ทักษะการสอน / การวิจยั เพื่อพัฒนา
วิชาชีพ / ทักษะในการให้บริ การวิชาการแก่สังคม / การเป็ นที่ปรึ กษาที่ดี /
การนิเทศ ติดตาม / การจัดการความรู้ เป็ นต้น
- ยุทธศาสตร์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีประสิ ทธิ ภาพควรเป็ นอย่างไร เช่น ทักษะ
ในการจัดทาสารสนเทศ / การใช้สารสนเทศ / การถ่ายทอด แลกเปลี่ยน
ข้อมูล เป็ นต้น
การประชุ มสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย. 2550) (ต่ อ)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาการจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาที่มี
คุณภาพควรเป็ นอย่างไร เช่น การบริ หารจัดการ / โครงสร้างและระบบการศึกษา /
การวางแผนทางการศึกษา / การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ / การประกันคุณภาพ
การศึกษา เป็ นต้น
- ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาควรเป็ นอย่างไร เช่น การ
วางแผนพัฒนาของสถานศึกษา / เครื อข่ายการจัดการศึกษา / การกระจายอานาจ / การ
มีส่วนร่ วม / การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ เป็ นต้น
- ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนในสังคมเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ควรเป็ นอย่างไร เช่น รู ปแบบการมีส่วนร่ วม / องค์กรเครื อข่ายการมีส่วน
ร่ วม / กิจกรรมการมีส่วนร่ วม / การวัดและประเมินผลการมีส่วนร่ วม เป็ นต้น
จากผลการประชุ มสั มมนาทีจ่ ัดโดยหน่ วยงานทางการศึกษาต่ าง ๆ และ
การวิเคราะห์ เอกสาร (ต่ อ)
จากกรอบแนวคิดการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งของศูนย์พฒั นาโครงการหลวง
- ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนควรเป็ น
อย่างไร
- ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการดูแลรักษาสิ่ งสาธารณประโยชน์
ควรเป็ นอย่างไร
จากผลการประชุ มสั มมนาทีจ่ ัดโดยหน่ วยงานทางการศึกษาต่ าง ๆ และ
การวิเคราะห์ เอกสาร (ต่ อ)
จากวิสยั ทัศน์ประเทศไทย (แผนพัฒนาระยะที่ 10)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข (Green and Happiness
Society) ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัวเข้มแข็ง ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมสมานฉันท์ ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่มีประสิ ทธิภาพ
ควรเป็ นอย่างไร (การจัดการป่ าชุมชน / แหล่งน้ า)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงาน / วัยแรงงาน ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การพัฒนา / สร้างระบบบริ หารจัดการที่ดี ควรเป็ นอย่างไร
- ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมภูมิปัญญา ควรเป็ นอย่างไร