เอกสารประกอบ 1 (คลิกดาวน์โหลดที่นี่..)

Download Report

Transcript เอกสารประกอบ 1 (คลิกดาวน์โหลดที่นี่..)

หลักการบริหารพัสดุ
กระบวนการบริหารงานพัสด ุ
กาหนดความต้ องการ
งบประมาณ
จัดทาแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ ายเงิน
การบริหารสัญญา
การควบคุมและจาหน่ ายพัสดุ
ข้ อ 6 ระเบียบนีใ้ ช้ บังคับแก่ ส่วนราชการ
ซึ่งดาเนินการเกีย่ วกับการพัสดุโดยใช้
เงินงบประมาณ
เงินก้ ู และเงินช่ วยเหลือ
ความหมาย
ระเบียบฯ ข้อ ๕
พัสดุ
คืออะไร
วัสดุ
ครุภณ
ั ฑ์
ที่ดินและ
สิ่งก่อสร้าง
ความหมาย-พัสดุ-เป็ นไปตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายของ
สานักงบประมาณ(ด่วนที่สุด ที่นร๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว.๑๘ ม.ค.๒๕๕๓)
5
วัสดุ หมายถึง
๑.รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลกั ษณะเมื่อใช้แล้วย่อม
สิ้นเปลือง /หมดไป/แปรสภาพ/ไม่คงสภาพเดิมและให้รวมถึงสิ่งของ
ราคา
ลักษณะคงทนถาวร ที่มีราคาต่อหน่วย:ต่อชุดไม่เกิน ๕ พันบาท
ให้รวมถึง
๓.รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้น
รายจ่ายที่
๒.รายจ่ายเพื่อจัดหา
ต้องชาระ
ใหม่/ดัดแปลง/ต่อเติม/
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ปรับปรุง ครุภณ
ั ฑ์ท่ีมีวงเงิน พร้อมกัน
ที่มีราคาต่อหน่วย ต่อชุด
เช่น
ไม่
เ
กิ
น
๕
พั
น
บาท
ไม่เกิน ๒หมื่นบาท
ค่าขนส่ง
๕.รายจ่
า
ยเพื
่
อ
ซ่
อ
มแซม/
๔.รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้น
ภาษี ค่า
บารุง/รักษาทรัพย์สิน
ใหม่ ดัดแปลงต่อเติม/
ประกันภัย
เพื่อให้สามารถใช้งานได้
ปรับปรุงที่ดินหรือ
ค่าติดตั้ง
ตามปกติ แต่ไม่รวม
สิ่งก่อสร้างที่มีวงเงิน
เป็ นต้น
ค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่
ไม่เกิน ๕ หมื่นบาท
เพื่อใช้ซ่อมแซมรถยนต์
6
ครุภณ
ั ฑ์ หมายถึง
๑.รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมี
ลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วย:ต่อชุด
เกินกว่า๕พันบาท
ราคา
ให้รวมถึง
รายจ่ายที่
ต้องชาระ
๓.รายจ่ายเพื่อจัดหา
๒.รายจ่ายเพื่อประกอบ
พร้อมกัน
โปรแกรมคอมพิ
ว
เตอร์
ขึ้นใหม่ ดัดแปลงต่อเติม
เช่น
ที
ม
่
ี
ร
าคาต่
อ
หน่
ว
ย:ชุ
ด
ปรับปรุงครุภณ
ั ฑ์ที่มี
ค่าขนส่ง
เกินกว่า ๒หมื่นบาท
วงเงินเกินกว่า ๕พันบาท
ภาษี ค่า
๔.รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษา ๕.รายจ่ายเพื่อจ้าง ประกันภัย
ที่ปรึกษาในการ
ค่าติดตั้ง
โครงสร้างครุภณ
ั ฑ์ขนาดใหญ่ เช่น
เครือ่ งบิน เครือ่ งจักรกลยานพาหนะ/ไม่ จัดหาหรือปรับปรุง เป็ นต้น
รวมซ่อมบารุงปกติ,ค่าซ่อมกลาง
ครุภณ
ั ฑ์
7
ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ ายเพือ่
8
การจ้างทาของ และการรับขน
ตาม ปพพ. การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่
รวมถึงการจ้างล ูกจ้างของส่วนราชการ
การรับขนในการเดินทางไปราชการ
การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ
ควบค ุมงาน และการจ้างแรงงาน
การซื้อ/การจ้าง หมายความว่าอย่างไร?
มติกวพ.ครัง้ ที่ ๕๑/๒๕๕๓(๒๓ ธ.ค.๒๕๕๓)
การซื้อ หมายถึง ผูข้ ายสินค้าได้มีการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของ
สิ่งของนัน้ ๆไว้แล้วตามตัวอย่าง /แค็ตตาล็อก เมื่อผูซ้ ้ ือสั่งซื้อ ผูข้ ายจะ
ดาเนินผลิตตามตัวอย่าง/แค็ตตาล็อก
-นอกจากนี้ ผูซ้ ้ ือยังสามารถให้ผขู ้ ายจัดทารายการใดๆเพิ่มเติม
นอกเหนือไปจากรูปแบบในตัวอย่าง/แค็ตตาล็อกเป็ นพิเศษ
อีกก็ได้
การจ้าง หมายถึง ผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูอ้ อกแบบคุณลักษณะเฉพาะของ
สิ่งของที่จะจ้างทานัน้ ๆก่อน แล้วจึงจะนาแบบที่คดิ ไว้นนั้ ไปจ้างทา
ตามแบบที่ตอ้ งการมีขอ้ หารือของหน่วยงานก. ซื้อรถยนต์
แต่ขอให้ผขู ้ ายติดตัง้ อุปกรณ์ตา่ งๆเพิ่มเป็ นพิเศษ จึงถือได้ว่า
เป็ นงานซื้อ/มิใช่จา้ ง
การซื้อครุภณ
ั ฑ์ท่ีเป็ นของใช้แล้วไว้ใช้ในราชการ กระทาไม่ได้
คาวินิจฉัยกวพ. (RFที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๓๓๒๒๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๕๔)
กรมประมงหารือว่า ตามที่ครม.มีมติแจ้งตามหนังสือสานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๗๒ ลว.๑๖ พ.ค.๒๕๒๓ และที่ นร
๐๒๐๒/ว๑๕๘ ลว ๑๒ ต.ค.๒๕๕๓ ผ่อนผันให้ส่วนราชการซื้อครุภณ
ั ฑ์ใช้
แล้วไว้ใช้ในราชการได้ ภายในวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หากเกิน
กว่า ๑๐๐,๐๐๐ บาท และเป็ นครุภณ
ั ฑ์ท่ีจะนาไปใช้ในการอบรมหรือการ
สอนของส่วนราชการที่เป็ นสถานศึ กษา ให้เสนอสานักงบประมาณ
พิจารณาอนุ มตั เิ ป็ นรายๆ ไป จึงหารือว่า ขณะนี้ยงั ใช้ได้อยู่อีกหรือไม่ ?
คาตอบ เนื่องจากกวพ.ได้กาหนดตัวอย่างเอกสารประกวดราคาซื้อไว้
ตามหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖
ลว.๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒ สรุปว่า
13
“พัสดุท่ีจะซื้อจะต้องเป็ นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็ นของ
เก่าเก็บ อยู่ในสภาพที่จะใช้งานได้ดี และมีคุณลักษณะเฉพาะตรงตามที่
กาหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาฉบับนี้”
และหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)๑๒๐๒/ว ๑๑๖ ลว.
๑ เมษายน ๒๕๓๕ ได้กาหนดตัวอย่างสัญญาซื้อขาย โดย ข้อ ๑ วรรคสอง
กาหนดว่า “ผูข้ ายรับรองว่า สิ่งของที่ขายให้ตามสัญญานี้เป็ นของแท้
ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็ นของเก่าเก็บ และมีคุณภาพและ
คุณสมบัตไิ ม่ตา่ กว่าที่กาหนดไว้ในเอกสารแนบท้ายสัญญา”
ดังนัน้ ในการจัดซื้อพัสดุตามระเบียบฯพ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ส่วนราชการจึงต้องถือปฏิบตั ติ ามหนังสือแจ้งเวียนดังกล่าว
ส่วนกรณีท่ีหารือว่ามติครม.ทัง้ สองฉบับข้างต้นยังมีผลใช้บงั คับอยู่หรือไม่
ขอให้หารือไปยังสานักงบประมาณโดยตรงต่อไป
14
งานจ้างก่อสร้าง คืองานอะไร (มติกวพ.ปี ๕๒)
• งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลัก
ทั ่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./ หนังสือเวียน
ที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.แจ้งเวียน /ว
๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งานก่อสร้างหมาย
รวมถึง งานเคลื่อนย้ายอาคาร,งานดัดแปลง/
ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ที่หัวหน้า
ส่วนราชการเห็ นว่าจาเป็ นต้องมีผคู ้ วบคุมดูแล
การปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างตลอดเวลา/
• มติครม.ว ๑๓ มี.ค.๒๕๕๕- งานก่อสร้างอาคาร/
ชลประทาน/ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
• มติครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาด
คอนกรีต ได้แก่ถนนลูกรัง/ถนนดิน/งานขุดลอก
คู คลอง สระ หนอง เป็ นงานก่อสร้าง
หลักพิจารณาว่าอะไรเป็ น
งานจ้างก่อสร้าง ได้แก่
 สัญญาซื้อขายที่มีงาน
ก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้ง
โครงสร้างพื้นฐานรวมอยูด่ ว้ ย
 ให้พิจารณาว่า หากมีงาน
ก่อสร้างเป็ นสาระสาคัญ ซึ่ง
ราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่
ติดตั้ง ถือว่า เป็ นงาน
ก่อสร้าง เช่น งานติดตั้ง
สะพานลอยทางเดินข้ามถนน
ก่อสร้างรั้ว
15
งานก่ อสร้ าง จะต้ องคานวณราคากลางตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 แจ้ งตามหนังสือสานัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่ นร 0506/2362 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550 และหนังสือ
ที่ 7 มีนาคม 2550 ทัง้ นี ้ ตัง้ แต่ วันที่
21 มีนาคม 2550 เป็ นต้ นไป
ราคาค่ าก่ อสร้ างในงานก่ อสร้ างของทางราชการในแต่ ล ะ
โครงการ ซึ่งได้ จากการประเมินหรื อคานวณตามหลักเกณฑ์ ท่ ี
คณะรั ฐมนตรี กาหนด ราคากลางงานก่ อสร้ างของทางราชการ
จึ ง ไม่ ใช่ ราคามาตรฐานของงานก่ อ สร้ าง แต่ เป็ นราคาที่
ทางราชการยอมรั บไม่ สูงจนผู้ประกอบการได้ กาไรมากเกิน
กว่ าที่ ค วรได้ รั บ และเป็ นราคาที่ ไ ม่ ต่ า จนผู้ ประกอบการ
ไม่ สามารถที่จะดาเนินการก่ อสร้ างได้
งานก่ อสร้ าง จะต้ องกาหนดค่ า K
มติคณะรั ฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2532 แจ้ งตาม หนังสือ
สานั กเลขาธิการคณะรั ฐมนตรี ที่ นร 0203 / ว 109 ลงวันที่ 24
สิงหาคม 2532 เรื่ อง การพิจารณาช่ วยเหลือ
ผู้ประกอบอาชีพงานก่ อสร้ าง
ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ห รื อ ง า น ซ่ อ ม แ ซ ม อ า ค า ร ว ง เ งิ น ไ ม่ เ กิ น
1 แสนบาท จะต้ องแต่ งตั้งคณะกรรมการกาหนดราคาหรื อไม่ ?
มติ ครม. 6 ก.พ.50 กาหนดให้ งานก่ อสร้ างทุกงาน
ต้ องแต่ งตัง้ คณะกรรมการกาหนดราคากลาง
การมอบอานาจ
ผู้มอี านาจ
ดาเนินการ
ตามระเบียบฯ
(ส่ วนกลาง อธิบดี
ส่ วนภูมภิ าค ผู้ว่าฯ)
ผู้รับมอบอานาจ
มอบอานาจ
คานึงถึงระดับ
ตาแหน่ ง
หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
(จะมอบอานาจให้ แก่ ผู้ดารง
ตาแหน่ งอืน่
ต่ อไปไม่ ได้ )
ข้ อยกเว้ นเรื่องการมอบอานาจ (ต่ อ)
มอบอานาจต่ อตามระเบียบกลาโหม
ผู้มอบ
อานาจ
มอบอานาจให้ แก่ ผ้ ูว่าราชการจังหวัด
ผู้ว่าฯ มอบอานาจต่ อ
แจ้ ง
รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ ,
ปลัดจังหวัด , หัวหน้ าส่ วนราชการ
ประจาจังหวัด
บุคคลอืน่
นอกจากวิธีพเิ ศษ / กรณีพเิ ศษ
1. หัวหน้ าส่ วนราชการ (ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท)
2. ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้ านบาท ไม่ เกิน 100 ล้ านบาท)
3. รั ฐมนตรี เจ้ าสังกัด (เกิน 100 ล้ านบาท)
4. ผู้ท่ ไี ด้ รับมอบอานาจ
โดยวิธีพเิ ศษ
1. หัวหน้ าส่ วนราชการ (ไม่ เกิน 25 ล้ านบาท)
2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้ านบาท ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท)
3. รั ฐมนตรี เจ้ าสังกัด (เกิน 50 ล้ านบาท)
โดยวิธีกรณีพเิ ศษ
หัวหน้ าส่ วนราชการไม่ จากัดวงเงิน
ผูม้ ีหน้าที่ตามระเบียบฯพัสดุ ได้แก่
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ/
คณะกรรมการต่างๆ/
และผูค้ วบคุมงาน
24
ผูม้ ีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ)
๑.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
(ข้อ๕) แก้ไข
เพิม่ เติมฉบับที่ ๙
โดยตาแหน่ง (ปฏิบตั ิหน้าทีเ่ กีย่ วกับพัสดุ)
โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/พ.ราชการ/
๒.หน.เจ้าหน้าทีพ่ สั ดุ
(ข้อ ๕)
โดยตาแหน่ง-ผอ.กองพัสดุ/หฝ./หน.งานพัสดุ
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ/พ.มหาวิทยาลัย
พ.มหาวิทยาลัย/ลูกจ้างประจา/ชั ่วคราว
โดยแต่งตัง้ ใช้กบั กรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พสั ดุหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ
หรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอานาจดาเนินการจัดหาพัสดุไปให้
หน่วยงานในสังกัดดาเนินการเอง
25
คณะกรรมการต่าง ๆ
การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง
หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ให้ทาหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกาหนดทุกครั้ง
26
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา
คณะกรรมการรับ และเปิ ดซองประกวดราคา
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
คณะกรรมการจัดซือ้ โดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมการจัดจ้ างโดยวิธีพเิ ศษ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง/ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการกาหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี )
แต่ งตัง้ กรรมการรั บและเปิ ดซองประกวดราคา
เป็ น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
แต่ งตัง้ กรรมการเปิ ดซองสอบราคาหรื อ
พิจารณาผลการประกวดราคา เป็ น กรรมการ
ตรวจรั บพัสดุ
 ประธาน 1 คน
 กรรมการอืน่ อย่ างน้ อย 2 คน
 แต่ งตั้งจากข้ าราชการ พนักงานราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรั ฐ
ทั้งนี้ โดยคานึงถึงลักษณะหน้ าที่และความรั บผิ ดชอบของ
ผู้ทไี่ ด้ รับแต่ งตั้งเป็ นสาคัญ
** ในกรณีจาเป็ นหรื อเพื่อประโยชน์ ของทางราชการ จะแต่ งตั้ง
บุคคลอืน่ อีกไม่ เกิน 2 คน ร่ วมเป็ นกรรมการด้ วยก็ได้
(ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )
**
29
 กวพ. อนุมต
ั ใิ ห้ ส่วนราชการสามารถแต่ งตั้งลูกจ้ างประจา
ของส่ วนราชการเป็ นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่ งตั้ง
ลูกจ้ างประจาจะต้ องคานึงถึง ความรู้ ความสามารถ ลักษณะ
งาน หน้ าที่ และความรับผิดชอบของผู้ทไี่ ด้ รับแต่ งตั้งเป็ น
สาคัญ (ตามหนังสื อกรมบัญชีกลาง ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ กค (กวพ)
0421.3/ว 417 ลว. 22 ตค. 53)
** การแต่ งตั้งคณะกรรมการจะต้ องแต่ งตั้งเป็ นครั้ ง ๆ ไป
(ไม่ จาเป็ นต้ องมีรูปแบบ)
30
ปั ญหา/การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับที่ไม่ถูกต้อง
ข้อควรรู ้
งานซื้อ/จ้างทาของ/
งานจ้างก่อสร้าง
งานจ้างเหมาบริการ/งานจ้าง • ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการ
รับขน/งานจ้างอื่นๆ
ตรวจการจ้าง
ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
• ผูค้ วบคุมงาน
31
องค์ ประชุม
• ประธาน + กรรมการไม่ น้อยกว่ า
กึ่ ง หนึ่ ง และประธานจะต้ อ งอยู่ ด้ ว ย
ทุกครั ง้
มติกรรมการ
• ถือเสียงข้ างมาก
• ถ้ าเสียงเท่ ากันให้ ประธานออกเสียง
เพิ่มอีก 1 เสียง
ยกเว้ น
• คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ
• คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
• *ต้ องใช้ มติเอกฉันท์ *
หลักการตามระเบียบฯ สาหรับการซื้อ / จ้ าง
ไม่ เกิน 10,000 บาท ตามระเบียบฯ ข้ อ 35 วรรคท้ าย
ให้ แต่ งตั้งข้ าราชการ / ลูกจ้ างประจาคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ ผู้จดั ซื้อ
หรือ จัดจ้ าง เป็ นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้ างนั้น

กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่ งตั้ง พนักงานราชการ พนักงาน
มหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็ นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้ าง
(ตามหนังสื อกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว.20 กย. 53)

เมื่ อถึ ง ก าหนดเวลาเปิ ดซองสอบราคา หรื อ
รั บ ซองประกวดราคาให้ ก รรมการที่ ม าเลื อ กกรรมการ
คนหนึ่ งทาหน้ าที่ประธาน โดยให้ ปฏิบัติหน้ าที่ เฉพาะข้ อ
42 (1) หรือข้ อ 49 แล้ วรายงานประธาน
วิธีการจัดซื้อจัดจ้ าง
-วิธีตกลงราคา
-วิธีสอบราคา
ไม่ เกิน 100,000 บาท
เกิน100,000 บาท
ไม่ เกิน 2,000,000 บาท
-วิธีประกวดราคา
เกิน
2,000,000 บาท
-วิธีพเิ ศษ
เกิน 100,000 บาท แต่ มีเงื่อนไข
-วิธีกรณีพเิ ศษ
ไม่ มีกาหนดวงเงิน แต่ มีเงื่อนไข
-วิธีประมูลด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49
กรณี1: ใช้วงเงินเป็ นตัวกำหนดวิธีกำร
ครั ง้ หนึ่งไม่ เกิน
ครั ง้ หนึ่งเกินกว่ า
แต่ ไม่ เกิน
ครั ง้ หนึ่งเกินกว่ า
100,000
100,000
2,000,000
2,000,000
บาท
บาท
บาท
บาทขึน้ ไป
กรณี2: ใช้วงเงินและเงือ่ นไขเป็ นตัวกำหนดวิธกี ำร
วงเงินเกินกว่ า 100,000 บาท
o เงื่อนไขอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามข้ อ 23
o
วงเงินเกินกว่ า
100,000 บาท
o เงื่อนไขอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามข้ อ 24
o
กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็ นตัวกำหนด
ได้ แก่ การซือ้ /จ้ างจากส่ วนราชการ,
รัฐวิสาหกิจ, หน่ วยงานตามกฎหมายท้ องถิ่น
เงื่อนไข:
5.1) เป็ นผู้ทา/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัตหิ ลักการแล้ ว
5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรั ฐมนตรี ให้ ผ้ ูซอื ้ / จ้ าง
กรณี 4: อื่นๆ
การจัดซือ้ / จ้ างด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ปั จจุบัน
ใช้ บังคับตามระเบียบสานั กนายกรั ฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ
ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549


การซือ้ / การจ้ าง ครั ง้ หนึ่งมีราคาตัง้ แต่ 2,000,000 บาท
ต่ากว่ า เป็ นดุลพินิจ
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
๑
เมื่อได้รบั การจัดสรร/ได้รบั ทราบยอดเงินงบประมาณในการ
จัดหาพัสดุแล้ว (ระเบียบฯ ข้อ ๑๓)
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
งานซื้อ/จ้างทั ่วไป
กาหนด spec
ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี
-ให้จดั ทารายงาน ขอซื้อ/จ้างเพื่อขอ
ความเห็นชอบหน.ส่วนราชการก่อนทุกครั้ง
งานจ้างก่อสร้าง-ออกแบบ
แต่งตั้ง คกก.กาหนด
ราคากลาง
ซื้อ/จ้างทั ่วไป ต้องมี
รายการ(ตามข้อ ๒๗)
ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง(ข้อ๒๘)
41
๓
เมื่อได้รบั ความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง
จากหัวหน้าส่วนราชการแล้ว
-ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุดาเนินการจัดหาตามวิธีตา่ งๆ ได้แก่
วิธีตกลงราคา
(ไม่เกินแสน)
(ข้อ ๑๙,๓๙)
วิธีสอบราคา
(เกิน๑แสน-๒ล้าน)
(ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓)
วิธีกรณีพิเศษ
ไม่จากัดวงเงิน
(ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้าง๒๔,๕๘) (ข้อ ๒๖,๕๙)
วิธีพิเศษ
(เกิน ๑ แสนขึ้นไป)
วิธีประกวดราคา
เกิน๒ล้านขึ้นไป
(ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖)
วิธีประกวดราคา
ทางอิเล็กทรอนิกส์
วงเงินตั้งแต่ ๒ล้าน
ระเบียบฯพัสดุ
พ.ศ.๒๕๔๙
43
๔
คัดเลือกได้ตวั ผูข้ าย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทาบันทึกสรุปผล
รายงานเสนอขออนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ)
๕
ผูม้ ีอานาจอนุมตั สิ ั ่งซื้อ/จ้าง (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗)
จะพิจารณาอนุมตั สิ ั ่งให้ซ้ ือ/จ้างได้ตามที่
คณะกรรมการเสนอ
44
๙
คกก.ตรวจรับฯส่งมอบสิ่งของ/งาน
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุเพื่อนาไปลงบัญชี/
ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สิน(ข้อ๑๕๑-๑๕๒)
๑๐
เจ้าหน้าที่พสั ดุ ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยัง
หน่วยของผูใ้ ช้งาน
(เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔
๑๑
การบารุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยูใ่ นสภาพที่ดี
สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน
46
๑๒
การตรวจสอบพัสดุประจาปี
(ข้อ๑๕๕-๑๕๖)
ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี
-หน.ส่วนราชการ-แต่งตั้ง คกก.ที่มิไช่ จนท.พัสดุ ตรวจสอบพัสดุ
-ให้เริม่ ตรวจวันทาการแรกของเดือนตุลาคม/ให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๓๐ วันทาการ นับแต่วนั เริม่ ดาเนินการตรวจสอบฯ
หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชารุด /สูญหาย
ให้แต่งตั้ง คกก.สอบข้อเท็จจริง
47
48
๑๔
กรณีพสั ดุสูญ
ไปโดยไม่มีตวั
ผูร้ บั ผิด
การจาหน่ายพัสดุเป็ นสูญ
กรณีพสั ดุสูญไปโดยมี
ตัวผูร้ บั ผิดแต่ไม่
สามารถชดใช้ตาม
หลักเกณฑ์ความรับผิด
ทางแพ่ง
กรณียงั มีตวั พัสดุ
อยูแ่ ต่ไม่สมควร
จาหน่ายตาม
ระเบียบข้อ๑๕๗
ผูม้ ีอานาจอนุ มตั จิ าหน่าย (๑๕๙)
๑. วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันไม่เกิน ๕ แสน หน.ส่วนราชการ
๒. วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันเกิน ๕ แสน – กระทรวงการคลัง
หรือที่กระทรวงการคลังมอบหมาย
49
๑๕
การลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
๑.เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๗ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
• แล้วแจ้งสตง/สตง.ภูมิภาคภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ลงจ่าย
๒.เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๙แล้ว (หส.ราชการ อนุมตั ใิ ห้จาหน่ายได้)
ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
• แล้วแจ้งกระทรวงการคลัง หรือผูท้ ี่กระทรวงการคลังมอบหมาย และสตง/
สตง.ภูมิภาค ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ลงจ่าย
• เมื่อดาเนินการตามข้อ ๑๕๐,๑๕๒ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน
พัสดุที่ตอ้ งจดทะเบียนตามกม.ให้แจ้งต่อนายทะเบียนภายในเวลาที่กม.กาหนด
ก่อนตรวจสอบพัสดุประจาปี
ข้อ ๑๖๑ พบว่ามีกรณีพสั ดุสูญ/เสื่อมไป/ชารุดบกพร่อง
ให้ดาเนินการเรือ่ งความรับผิดทางแพ่ง หรือระเบียบนี้โดยอนุโลมแล้ว
หลังจากนั้นให้ดาเนินการจาหน่ายตามที่ระเบียบกาหนด
50
รายงานขอซื้อ – จ้ าง (ข้ อ 27)
หลักการ
ก่ อนการซือ้ – จ้ างทุกวิธีต้องทารายงาน
ข้ อยกเว้ น
ข้ อ 39 วรรคสอง ไม่ ต้องมีรายงาน
ตามระเบียบฯ ข้ อ 27
-เหตุผลความจาเป็ น
-รายละเอียดของพัสดุ
-ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครัง้ หลังสุด
ไม่ เกิน 2 ปี
-วงเงินที่จะซือ้ / จ้ าง
-กาหนดเวลาที่ต้องใช้
-วิธีจะซือ้ / จ้ าง
-ข้ อเสนออื่น ๆ
- การแต่ งตัง้ คณะกรรมการ
- การออกประกาศสอบราคา หรือ ประกวดราคา
การซื้อ/จ้าง
โดยวิธีตกลงราคา
วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท
(วิธีการอยูใ่ นระเบียบฯ ข้อ ๓๙)
53
การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา(ข้อ ๓๙วรรคแรก)
(กรณีปกติ) มีวิธีปฏิบตั ติ ามขั้นตอนดังนี้
๑.สารวจ/รวบรวมความต้องการพัสดุ
กาหนด Spec
๒.จนท.พัสดุ จัดทาบันทึก
รายงานขอซื้อ/จ้าง(ข้อ ๒๗)
๓.เสนอขอความเห็นชอบต่อ
๕.ให้จนท.พัสดุไปติดต่อตกลงราคา
กับผูข้ าย/รับจ้าง
-แจ้งผลต่อหน.จนท.พัสดุ
๖.ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ ออก
ใบสั ่งซื้อ/ใบสั ่งจ้าง
หัวหน้าส่วนราชการ
๗.ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบของ/งาน
๔.หัวหน้าส่วนราชการให้
ความเห็นชอบรายงาน
ที่เสนอ(ข้อ๒๙)
.คกก.ตรวจรับบพัพัสสดุดุ/เบิ
/เบิกกเงิเงินน
๘๘.คกก.ตรวจรั
าระค่าสิาสินนค้ค้า/งาน
า/งานต่ต่ออไปไป
ชชาระค่
54
ข้อสังเกต การซื้อ/จ้างโดยวิธีตกลงราคา
หัวหน้าส่วนราชการไม่ตอ้ งมอบอานาจลงนามผูกพันสัญญาหรือ
ข้อตกลงให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุอีกแต่อย่างใด
เหตุผล เนื่องจากระเบียบฯข้อ ๓๙ วรรคแรกได้กาหนดให้ถอื เป็ นหน้าที่
ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ดุ เป็ นผูล้ งนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็ น
หนังสือ(ใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง) ได้โดยตรงเป็ นการเฉพาะอยู่แล้ว ทัง้ นี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อลดขัน้ ตอนการดาเนินงานในเกิดความรวดเร็วยิ่งขึ้น
ในกรณีวงเงินไม่สูง
แนววินิจฉัยของกวพ.ครัง้ ที่ ๔๕/๒๕๕๓ เมื่อ ๑๑ พ.ย.๒๕๕๓
55
การซื้อ/จ้าง วิธีตกลงราคา ที่มีความจาเป็ นเร่งด่วน
ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้าได้ (ข้อ๓๙วรรค ๒)
ใช้กบั กรณีจาเป็ น/เร่งด่วน/ที่ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า
โดยให้ทารายงานขอซื้อ/จ้างภายหลังได้
วิธีปฏิบตั ิ ขั้นตอนที่ (๑)
-ให้จนท.พัสดุ/จนท.ผูร้ บั ผิดชอบ ในการปฏิบตั งิ านนั้น
จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้
ขั้นตอนที่(๒)
-ให้จดั ทารายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้า
ส่วนราชการในภายหลัง โดยมีสาระสาคัญเท่าที่จาเป็ น
ขั้นตอนที่(๓)
-ให้ใช้รายงานที่หวั หน้าส่วนราชการเห็นชอบนั้นเป็ นหลักฐาน
การตรวจรับโดยอนุโลม
56
การซื้อ/จ้าง
โดยวิธีสอบราคา
ระเบียบฯข้อ ๒๐, ๔๐-๔๓
(วงเงินเกิน๑ แสน – ไม่เกิน๒ ล้านบาท)
วิธีแข่งขันราคาทุกวิธี
-ต้องมีการตรวจสอบผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน
57
... ?... วัน คานึงถึงตรวจฮัว้
ปิดรับซอง
วันรับซอง
ประกาศ - รับซอง
อย่ างน้ อย 10 วัน
พิจารณาผู้มีผลประโยชน์
ร่ วมกัน
เปิ ดซอง
การจัดทาประกาศสอบ/ประกวดราคา/และประกวดราคาด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-Government Procurement ( e-GP )
มติครม. เมือ่ วันที่ ๒๙ พ.ย.๒๕๔๘ ตามหนังสือสลค.ที่นร๐๕๐๕/
๑๘๑๖๖ลว.๘ ธ.ค.๒๕๔๘ และหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๔/
ว ๑๒๐ ลว.๓๑ มี.ค. ๒๕๕๓ กาหนดหลักเกณฑ์ไว้ดงั นี้
๑. ให้ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/องค์การมหาชน/และหน่วยงานของรัฐ ทุก
แห่ ง ลงประกาศจัดซื้อจัดจ้าง/การประกวดราคาทุกรายการ ทุกวงเงิน และลง
ผลการคัดเลือกในเว็บไซต์ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง
www.gprocurement.go.th ด้วย
๒. -ให้การจัดทาประกาศสอบราคา/ประกวดราคา/และประกวด
ราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-Government
Procurement ( e-GP ) ตัง้ แต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เป็ นต้นไป
โดยให้ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่านเข้าสู่ระบบ และศึ กษา
การใช้งานในระบบผ่านทางwww.gprocurement.go.th ของกรมบัญชีกลาง
59
เจ้ าหน้ าทีพ่ สั ดุ
จัดทาประกาศ (ข้ อ 40)
เผยแพร่ เอกสาร
ข้ อ 27
ข้ อ 29
หัวหน้ าส่ วนราชการ
- ก่ อนวันเปิ ดซองสอบราคาไม่ น้อยกว่ า
10 วัน / นานาชาติไม่ น้อยกว่ า 45 วัน
- ส่ งประกาศให้ ผ้ ูมอี าชีพขายหรือรับจ้ าง
โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
ให้ มากทีส่ ุ ด
-ปิ ดประกาศเผยแพร่ ณ ทีท่ าการ
โดยเปิ ดเผย
- ประกาศเผยแพร่ ในเว็บไซต์ หน่ วยงาน+
กรมบัญชีกลาง (ตามมติ ครม. )
การยื่นซอง
การรับซอง
- ผูเ้ สนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง
ประธานกรรมการ
- ยืน่ ซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย ์
(กรณีที่กาหนดไว้)
- เจ้าหน้าที่รบั โดยไม่เปิดซอง
- ระบ ุวันและเวลารับซอง
- ส่งมอบซองให้แก่หวั หน้าเจ้าหน้าที่พสั ด ุทันที
- หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสั ด ุส่งให้ คกก. เปิดซอง
การเก็บรักษาซอง
สอบราคาในวันเปิดซอง
- หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ)1305/ว 7286
ลว. 20 ส.ค. 42 ให้สง่ มอบโดยพลัน หลังครบ
กาหนดรับซอง
ในการจัดทาเอกสารสอบราคา
อย่างน้อยให้แสดงรายการดังต่อไปนี้ (ข้อ ๔๐)
62
 ส่ งประกาศให้ ผ้ ูมีอาชีพขายหรือรับจ้ างโดยตรง หรือทาง
ไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ มากที่สุด
 ปิ ดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทาการโดยเปิ ดเผย
 จัดทาบัญชีรายชื่อผู้ประกอบการที่ส่งเอกสารสอบราคา
ไปให้ โดยตรงและผู้มาขอรับเอกสารทัง้ หมด
วิธีปฏิบตั ใิ นการรับซองสอบราคา
ของเจ้าหน้าที่ผรู ้ บั เอกสารสอบราคา(ข้อ ๔๑(๒))
กาหนด
ให้ผเู ้ สนอ
ราคายืน่ ซอง
ได้ตงั้ แต่ปิด
ประกาศถึง
วันปิ ดซอง
และออกใบ
รับให้ดว้ ย
กรณี
กาหนดให้ยนื่
ทางไปรษณีย ์
ลงทะเบียน
-ให้ถือวันที่
ทางราชการ
ลงรับจาก
ไปรษณียเ์ ป็ น
เวลา
รับซอง
เจ้าหน้าที่
ลงทะเบียน
รับซองโดย
ไม่เปิ ดซอง
แล้ว
-ส่งซองให้
หัวหน้า
เจ้าหน้าที่
พัสดุเก็บ
รักษาไว้
หัวหน้า
เจ้าหน้าที่พสั ดุ
ไม่เปิ ดซอง
-บันทึกรับซอง
-เมื่อถึงเวลา
เปิ ดซองส่งมอบ
ซองและ
รายงานผลการ
รับซองส่งให้
คกก.เปิ ดซอง
ต่อไป64
เมื่อรับเอกสารสอบราคาแล้ว (ข้อ ๔๒)
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคามีหน้าที่
นาเอกสารส่วนที่ ๑ มาดาเนินการดังนี้
๑.ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
ก่อนถึงวันเปิ ดซอง
ใบเสนอราคาตามข้อ
๑๕ ตรี ว.๒
(ดูวิธีตรวจสอบตาม
หนังสือที่ นร (กวพ)
๑๓๐๕/ว๗๒๘๖ ลว.
๒๐ส.ค.๔๒)
๒.ประกาศรายชื่อผู ้
ผ่านการตรวจสอบ
ตามข้อ ๑ ไว้
ณ สถานที่ทาการ
ของส่วนราชการ
- ถ้าผูผ้ ่านการ
คัดเลือกอยู่ ณ ที่น้นั
ให้แจ้งให้ทราบด้วย
๓.ถ้าพบว่ามีผมู ้ ี
ผลประโยชน์ร่วมกัน
-ให้ตดั ชื่อออกทุก
ราย/แจ้งผูน้ ้นั ทราบ
-มีสิทธิ์อุทธรณ์ตอ่
ปลัดกระทรวง ใน
๓ วันนับแต่รบั แจ้ง
-คาวินิจฉัยของ
65
ปลัดกระทรวงเป็ น
ที่สุด
ข้อควรรู ้
การกาหนดวัน เวลา เปิ ดซอง ใบ
เสนอราคา ให้กาหนดวันใด วัน
หนึ่งหลังจากวันปิ ดการรับซอง
แล้ว ทั้งนี้ ให้คานึงถึงระยะเวลาที่
คณะกรรมการเปิ ดซองฯ
ต้องใช้ในการตรวจสอบ
ผูม้ ีผลประโยชน์รว่ มกัน ด้วย
เช่น ปิ ดการรับซอง
วันที่ 1
ควรกาหนดวันเปิ ด
ซองใบเสนอราคา
เฉพาะผูม้ ีชื่อผ่านการ
ตรวจสอบผูม้ ี
ผลประโยชน์รว่ มกัน
วันที่ 4 เป็ นต้น
หนังสือเวียน สานักนายกฯ ด่วนมาก ที่นร(กวพ)
๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ลว.๒๐ส.ค.๒๕๔๒ เรื่องการตรวจสอบ
ผูเ้ สนอราคาหรือผูเ้ สนองานที่มีผลประโยชน์รว่ มกัน
66
การดาเนินการโดยวิธีสอบราคา
คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา (ข้ อ 42)
ขั้นที่ 1 ตรวจสอบผู้เสนอราคาทีม่ ีผลประโยชน์ ร่วมกัน +
ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ
ขั้นที่ 2
เปิ ดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่ มีผลประโยชน์ ร่วมกัน +
อ่ านแจ้ งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกากับ
ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา
แคตตาล็อกหรือแบบรู ปรายการละเอียด แล้ วคัดเลือก
ผู้เสนอราคาทีถ่ ูกต้ องตามเงือ่ นไขในเอกสารสอบราคา
การดาเนินการโดยวิธีสอบราคา
ขั้นที่ 3 คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้ างทีผ่ ่ านขั้นตอนที่ 2 ทีม่ ีคุณภาพและ
คุณสมบัตเิ ป็ นประโยชน์ ต่อทางราชการ
** หนังสื อ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติ
ดังกล่ าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ ในส่ วนที่ ไม่ สามารถกาหนดไว้ เป็ นเงือ่ นไข
ในประกาศ **
ขั้นที่ 4 เสนอให้ ซื้อหรือจ้ างจากรายที่คดั เลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาตา่ สุ ด
ข้ อสั งเกต
รายทีเ่ ลือกไม่ ยอมเข้ าทาสั ญญา ให้ พจิ ารณารายต่าถัดไป
ราคาเท่ ากันหลายราย ให้ ผู้ทเี่ สนอราคาดังกล่าวยืน่ ซองใหม่
ถูกต้ องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ ดาเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม
ขั้นที่ 5 รายงานผลและความเห็น ต่ อหัวหน้ าส่ วนราชการเพือ่ สั่งการ
การตรวจสอบผู้เสนอราคาทีม่ ีผลประโยชน์ ร่วมกัน
(ระเบียบข้ อ 5 ประกอยข้ อ 15 ตรี วรรคสอง)
ผู้เสนอราคาทีม่ ีผลประโยชน์ ร่วมกัน หมายถึง
1. บุคคล /นิติบุคคล เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ย (ทางตรง/อ้อม)
รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่
- มีความสัมพันธ์ในเชิงบริ หาร
- มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน
- มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กนั
2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน
ความสั มพันธ์ ในเชิงทุน



หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วนสามัญ
หุ้นส่ วนไม่ จากัดความรับผิดใน หจก.
ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ใน บจก., บ.มหาชน
(>25% / กวพ.กาหนด)
o หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วน
สามัญ/หจก.
o ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ใน
บจก./บมจ.
ความสั มพันธ์ ในเชิงบริหาร
• ผู้จัดการ
• หุ้นส่ วนผู้จัดการ
• กรรมการผู้จัดการ
• ผู้บริหาร
• ผู้มีอานาจในการ
ดาเนินงาน
มีอานาจหรือ
สามารถใช้ อานาจ
ในการบริหาร
จัดการกิจการ
บุคคลหรือนิติ
บุคคลอีกรายหนึ่ง
หรือหลายราย
ความสั มพันธ์ ในลักษณะไขว้ กนั
• ผู้จัดการ
• หุ้นส่ วนผู้จัดการ
• กรรมการผู้จัดการ
• ผู้บริหาร
• ผู้มอี านาจในการดาเนินงาน
• หุ้นส่ วนในห้ างหุ้นส่ วน
สามัญ/หจก.
• ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน
บจก./บมจ.
เชิงบริหาร
เชิงทุน
เชิงไขว้
บริษัท A
บริษัท B
หจก. C
นาย ก. กรรมการ
ผู้จัดการ
นาย ข. กรรมการผู้จัดการ
นาย ก. หุ้นส่ วนผู้จัดการ
นาย ก. ถือหุ้น 26%
นาย ก. ถือหุ้น 20%
นาย ก. เป็ นหุ้นส่ วนประเภท
ไม่ จากัดความรั บผิดชอบ
นาย ก. ถือหุ้น 26%
นาย ก. เป็ นหุ้นส่ วน
ผู้จัดการ
คุณสมบัตผิ ้ ูเสนอราคา
คุณสมบัตทิ ่ ัวไป
o เป็ นผู้มอี าชีพขายพัสดุ / รับจ้ างงาน ตามทีป่ ระกาศ
o ไม่ เป็ นผู้ถูกแจ้ งเวียนชื่อผู้ทงิ้ งานของทางราชการ
o ไม่ เป็ นผู้ทมี่ ผี ลประโยชน์ ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอืน่ ณ วันประกาศ
หรือไม่ เป็ นผู้มกี ารกระทาอันเป็ นการขัดขวางการแข่ งขันราคาอย่ างเป็ นธรรม
o ไม่ เป็ นผู้ได้ รับเอกสิ ทธิ์หรือความคุ้มกันซึ่งอาจปฏิเสธไม่ ยอมขึน้ ศาลไทย
เว้ นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้ มคี าสั่ งให้ สละสิ ทธิ์และความคุ้มกัน
** ผู้เสนอราคาต้ องผ่ านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัตเิ บือ้ งต้ นในการซื้อ /จ้ างของ
กรม (P.Q.)
ผู้เสนอราคาต้ องเป็ นนิตบิ ุคคลหรือไม่ ?
เป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิตบิ ุคคลก็ได้
 ครม. กาหนดหลักเกณฑ์ เพิ่มเติมกรณีงาน
จ้ างก่ อสร้ างวงเงินตัง้ แต่ 1,000,000 บาทขึน้
ไปคุณสมบัตผิ ้ ูเสนอราคาต้ องเป็ นนิตบิ ุคคล

ผู้เสนอราคาจาเป็ นต้ องมีผลงานหรือไม่ ?
 งานจ้ างก่ อสร้ าง
เป็ นนิตบิ ุคคลและมีผลงานก่ อสร้ างประเภท
เดียวกันกับงานที่จ้างในวงเงินไม่ เกินร้ อยละ 50 ของ
วงเงินงบประมาณหรือประมาณการ
(** เลือกตามความจาเป็ น)
(ที่ นร (กวพ) 1305 / ว 7914 ลว 22 กันยายน 2543)
 งานซื้อ
หากจาเป็ น เป็ นดุลพินิจ โดยอนุโลม
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญหรือ หจก.
- สาเนาหนังสือรับรองการ
จดทะเบียนนิตบิ ุคคล
- บัญชีรายชื่อหุ้นส่ วนผู้จัดการ
- บัญชีผ้ ูมีอานาจควบคุม(ถ้ ามี)
เอกสารอื่น
บริษัทจากัดหรือ บจม.
- สาเนาหนังสือรับรองการจด
ทะเบียนนิตบิ ุคคล
- หนังสือบริคณห์ สนธิ
- บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ
- บัญชีผ้ ูถือหุ้นรายใหญ่
- บัญชีผ้ ูมีอานาจควบคุม (ถ้ ามี)
- หลักฐานแสดงฐานะการเงิน
- สาเนาใบทะเบียนพาณิชย์
- สาเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิ่ม
ผู้มีอานาจรั บรองสาเนาถูกต้ อง
กิจการร่ วมค้ า
- สาเนาสัญญา
ของการร่ วมค้ า
- นิตบิ ุคคล ใช้
เอกสารแสดงการ
เป็ นนิตบิ ุคคล
สาเนาสัญญาของการร่ วมค้ า
บุคคลธรรมดา
o สัญชาติไทย ใช้ สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผู้ร่วมค้ า
o ไม่ ใช่ สัญชาติไทย ใช้ สาเนาหนังสือเดินทาง
นิตบิ ุคคล
o ใช้ เอกสารแสดงการเป็ นนิตบิ ุคคล
เอกสารอื่น
o หลักฐานแสดงฐานะการเงิน
o สาเนาใบทะเบียนพาณิชย์
o สาเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิ่ม
รับรองสาเนาถูกต้ องโดยผู้มีอานาจ
 จดทะเบียน
o คุณสมบัตคิ รบถ้ วนตามเงื่อนไข
o คุณสมบัตดิ ้ านผลงานก่ อสร้ าง ..... ใช้ ผลงานของผู้เข้ าร่ วมค้ าได้
 ไม่ จดทะเบียน
o คุณสมบัตทิ ุกรายต้ องครบถ้ วนตามเงื่อนไข
o ข้ อยกเว้ น
• ตกลงเป็ นลายลักษณ์ อักษร
• ให้ ใครเป็ นผู้รับชอบหลักในการเข้ าเสนอราคาและแสดงหลักฐาน
พร้ อมซองข้ อเสนอราคา / ของข้ อเสนอทางเทคนิค
• ใช้ ผลงานของผู้เข้ าร่ วมค้ าหลักได้
(ที่ นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มีค.2543)
 ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้ าง
หมายถึง
o ผลงานทีใ่ ช้ เทคนิคในการดาเนินการเหมือนกัน
กับงานที่ประกวดราคาจ้ าง
o เป็ นผลงานในสั ญญาเดียว
o เป็ นสั ญญาผู้รับจ้ างได้ ทางานแล้ วเสร็จตาม
สั ญญาที่ได้ มีการส่ งมอบงานและตรวจรับ
เรียบร้ อยแล้ ว
 ต้ องเป็ นผลงานที่กระทาสั ญญากับส่ วนราชการ
รั ฐวิสาหกิจหรื อเอกชน ซึ่ งเป็ นผู้ว่าจ้ างโดยตรง
ไม่ ใช่ ผลงานอันเกิดจากการรั บจ้ างช่ วง
 เรียกรายต่าสุ ดทีเ่ ห็นควรซื้อหรือจ้ าง
• กรณียอมลดราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ ถ้ าเหมาะสมให้ เสนอ
ซื้อหรือจ้ างจากรายนั้น
• ยอมลดราคา แต่ ยั ง เกิ น งบประมาณ ไม่ เกิ น ร้ อยละ 10
ถ้ าเหมาะสมให้ เสนอซื้อหรือจ้ างจากรายนั้น
• ยอมลด เกินกว่ าร้ อยละ 10 เรียกทุกรายทีถ่ ูกต้ องมายืน่ ซองใหม่
• ไม่ ยอมลด ถ้ าไม่ เกินร้ อยละ 10
ถ้ าเหมาะสมให้ ซื้อ /จ้ าง
ถ้ าไม่ เหมาะสมให้ ยกเลิ ก หรื อ หากเกิ น กว่ าร้ อยละ 10
เรียกทุกรายทีถ่ ูกต้ องมายืน่ ซองใหม่
 ดาเนินการต่ อรองไม่ ได้ ผล เสนอหัวหน้ า
ส่ วนราชการเพือ่ ใช้ ดุลพินิจว่ าสมควร ลดรายการ
ลดจานวน ลดเนือ้ งาน หรือขอเงินเพิม่ หรือยกเลิก
 ถ้ าพิจารณาปรับลดรายการ ลดจานวน หรือ
ลดเนือ้ งานจากผู้เสนอราคาทุกราย หากรายตา่ สุ ด
ทีไ่ ด้ ยงั เป็ นรายตา่ สุ ดอยู่ให้ ซื้อหรือจากรายนั้น
• หากปรับลดแล้ วลาดับเปลีย่ น ให้ ยกเลิก
การบริหารสัญญา
84
ผลของสัญญา
หลักการ
สัญญามีผลนับตัง้ แต่วนั ที่ค่สู ญ
ั ญาได้ลงนามในสัญญา
ยกเว้น
 คู่สญ
ั ญามีขอ้ ตกลงกาหนดเงื่อนไขกันไว้ในสัญญา
เป็ นอย่างอื่น
ระเบียบข้อ๑๓๕
สัญญา/ข้อตกลงที่มีมูลค่า ๑ ล้านบาทขึ้นไป
ให้สง่ สาเนาให้สตง.และกรมสรรพากรภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วนั ทาสัญญา หรือ ข้อตกลงด้วย
85
ใคร ? เป็ นผูม้ ีหน้าที่บริหารสัญญา
คาวินิจฉัยกวพ.ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๘๕๑๔ลว.๑๒ ต.ค.๔๘
เจ้าหน้าที่พสั ดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา
ครบกาหนด จะต้องแจ้งให้ผขู ้ ายหรือรับจ้างส่งมอบงาน
ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดงั กล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี
หากมิได้ดาเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดาเนินการตามหน้าที่
86
กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา(ข้อ๑๓๖)
หลัก *สัญญาทีล่ งนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลีย่ นแปลง
ข้อยกเว้น -กรณีจาเป็ นต้องแก้ไข
เป็ นอานาจหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา
การแก้ไขจะต้องเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ราชการ
หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
หากต้องเพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
ระยะเวลาทีจ่ ะแก้ไข :“จะแก้ไขเมือ
่ ไดก็ได้
แต่ตอ้ งก่อนการตรวจรับงวดสุดท้าย
(กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๔๓๗๙ ลว.๑กย.๔๘)
”
87
การแก้ไข/เปลีย่ นแปลงสัญญา (ต่อ)
การแก้ไขสัญญา ถ้าจาเป็ นต้อง:-เพิม่ /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/
ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน
กรณีงานเกีย่ วกับความมันคงแข็
่
งแรง/งาน
เทคนิคเฉพาะอย่าง
-ต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯ ที่
รับผิดชอบ ก่อนการแก้ไข
88
คู่สญ
ั ญาขอแก้ไขงวดงาน และงวดเงินใหม่
ให้เหมาะสม กระทาได้(RF๐๕๐๗๙/๑๗/๐๒/๒๕๕๓)
หากมีความจาเป็ นต้องแก้ไขสัญญา เป็ นดุลพินิจของ
ส่วนราชการ ที่จะต้องพิจารณา ตามนัยระเบียบฯพัสดุ ข้อ ๑๓๖
กล่าวคือ
 ต้องเป็ นการแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
–หรือไม่ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์
โดยการแก้ไขต้องไม่กระทบต่อวัตถุประสงค์ของสัญญาเดิม
แต่ท้งั นี้ งวดงาน และงวดเงินที่แก้ไขใหม่ตอ้ งสัมพันธ์กนั ด้วย
และกรณีใดจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ทางราชการหรือไม่ นัน้
ให้ คานึงถึงความเป็ นธรรมด้ วย
89
การกาหนดค่าปรับไว้ในสัญญา
กรณีสญ
ั ญาจ้างที่ตอ้ งการผลสาเร็จของงานพร้อมกัน
(ข้อ ๑๓๔)
อัตราค่าปรับฐานผิดสัญญาจ้าง
ให้กาหนดค่าปรับเป็ นรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัว
ในอัตราร้อยละ ๐.๐๑-๐.๑๐ ของราคาค่าจ้างนั้น
แต่ไม่ต ่ากว่าวันละ ๑๐๐ บาท
►สาหรับงานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร
ให้กาหนดค่าปรับอัตราร้อยละ ๐.๒๕ ของราคาค่าจ้างนั้น
แต่อาจกาหนดขั้นสูงสุดของการปรับได้
90
การแก้ไขสัญญา เพื่อเปลี่ยนหลักประกันสัญญา กระทาได้
คูส่ ญ
ั ญาขอเปลี่ยนหลักประกันสัญญา เป็ นอย่างใดตามข้อ
๑๔๑(๑)-(๔)ย่อมแก้ไขสัญญาได้ ทางราชการมิได้เสีย
ประโยชน์
เนื่องจากระเบียบข้อ ๑๔๑ กาหนดว่า หลักประกันซอง
หรือหลักประกันสัญญา ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่ง อย่างใด
ดังต่อไปนี้
เงินสด /เช็คที่ธนาคารเซ็นสั ่งจ่ายซึ่งเป็ นเช็คลงวันที่ใช้เช็คนั้น
ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทาการ/ หนังสือ
ค้าประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ กวพ.
กาหนด/ หนังสือคา้ ประกันของบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ตาม
รายชื่อที่ธปท.แจ้งเวียน/ พันธบัตรรัฐบาลไทย
91
ใคร ?
เป็ นผูเ้ สนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ
แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด
ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง
• หนังสือแจ้งเวียนของสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๙๔๘ ลว.๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓
ข้อ ๓ กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของ : คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
• แล้วแต่กรณีเป็ นผูเ้ สนอความเห็นในแต่ละครั้งด้วย
92
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา (ข้อ๑๓๙)
ให้พิจารณาได้เฉพาะเหตุดงั ต่อไปนี้
(๑) เหตุเกิดจากความผิด/ความบกพร่องของส่วนราชการ
(๒) เหตุสุดวิสยั
(๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิด
เงื่อนไข
• คู่สญ
ั ญาของทางราชการจะต้องมีหนังสือแจ้งเหตุ
ที่เกิดขึ้นตาม ข้อ ๑๓๙ (๒)หรือ(๓) ให้ทราบ
ภายใน ๑๕ วัน นับแต่เหตุน้นั สิ้นสุดลง
นับแต่
อานาจอนุ
มตั เิ หตุส้ ินสุด
•ให้
ารณาให้
ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึน้ จริง
• หัพวิ จหน้
าส่วนราชการ
93
๑.
วิธีคิดค่าปรับ
การจัดหาสิ่งของที่ประกอบกันเป็ นชุด ถ้าขาดส่วนใด
ส่วนหนึ่งแล้วไม่อาจใช้งานได้ หากส่งมอบเกินกาหนดสัญญา
ให้ถือว่าไม่สง่ มอบสิ่งของนั้นเลย -ให้ปรับเต็มราคาของทั้งชุด
๒.
การจัดหาสิ่งของ-ที่คิดราคารวมค่าติดตั้ง/ทดลองด้วย
ถ้าส่งของเกินกาหนดสัญญาเป็ นจานวนวันเท่าใด
ให้ปรับเป็ นรายวัน ในอัตราที่กาหนดของราคาทัง้ หมด
เมื่อครบกาหนดส่งมอบพัสดุตามสัญญา/ข้อตกลง
ให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับจากคู่สญ
ั ญา และ
เมื่อคู่สญ
ั ญาได้ส่งมอบพัสดุให้ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิ์การเรียก
ค่าปรับในขณะที่รบั มอบพัสดุนนั้ ด้วย
94
ความรู ้
เกี่ยวกับหลักประกัน
-ซองเสนอราคา
-หลักประกันสัญญา
95
ความหมายของ
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา
• หลักประกันซอง
• ได้แก่ หลักประกันที่ผเู ้ ข้าเสนอราคายอมผูกพันตนที่จะปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขในประกาศประกวดราคา และจะไม่ถอนการเสนอราคา
จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันซอง จึงต้องมีระยะเวลาตั้งแต่วนั ยืน่ ซองเสนอราคา
จนถึงวันสิ้นสุดการยืนราคา หรือ จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น
• หลักประกันสัญญา
• ได้แก่ หลักประกันที่ผผู ้ ่านการคัดเลือกให้เข้าทาสัญญากับทาง
ราชการ นามาเพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขของสัญญา
ส่วนราชการจะคืนให้เมื่อพ้นข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
96
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา
กาหนดให้ผเู ้ สนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สญ
ั ญาต้อง
นาหลักประกันมาวาง(ระเบียบฯข้อ ๑๔๑มี๕อย่าง)
ให้ใช้หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
๓.
๒.
๑.
เช็ค
เงินสด
ที่ธนาคาร
เซ็นสั ่งจ่าย
๔.
หนังสือ หนังสือค้า
ประกันของ
ค้าประกัน บริษทั เงินทุน
ธนาคาร หลักทรัพย์ตาม
ภายใน รายชื่อที่ธปท.
ประเทศ แจ้งเวียนชื่อ
๕.
พันธ
บัตร
รัฐบาล
97
กวพ.อนุมตั ผิ ่อนผันให้นาหลักประกันซอง ที่เป็ นเงินสด
หรือเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย มาใช้เป็ นหลักประกันสัญญา ได้
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)
๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๔๙ กาหนดวิธีการไว้ดงั นี้:ในชั้นเสนอราคา กรณีผเู ้ สนอราคานาเงินสด หรือเช็คที่ธนาคาร
เซ็นสั่งจ่าย ตามระเบียบฯข้อ ๑๔๑(๑)และ(๒) มาเป็ นหลักประกันซอง
ในชั้นทาสัญญา ต่อมาผูเ้ สนอราคาได้รบั การคัดเลือกเข้าทาสัญญา
และประสงค์จะขอนาหลักประกันซองดังกล่าวมาเป็ นหลักประกันสัญญา
ก็ได้
ในวันทาสัญญา ให้ส่วนราชการทาหลักฐานการคืนหลักประกันซอง
พร้อมทั้งจัดทาหลักฐานการรับหลักประกันสัญญาให้แก่ค่สู ญ
ั ญา ให้เสร็จ
สิ้นในวันเดียวกันโดยต้องมีเงินเพิ่ม-ลด ให้เท่ากับหลักประกันสัญญาด้วย
98
แนวปฏิบตั ทิ ี่ถูกต้องในการออกหนังสือค้าประกันธนาคาร
(เพื่อใช้เป็ นหลักประกันสัญญา)
หนังสือเวียนสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว
๓๖๕๙ ลว. ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑ กาหนดวิธีปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้
(๑.)
ส่วน
ราชการ
ต้อง
จัดพิมพ์
ร่างสัญญา
ให้
สมบูรณ์
(๓.)
(๒.)
นัดหมาย
กาหนดวัน ผูข้ าย/
ทาสัญญา ผูร้ บั จ้าง
ล่วงหน้า
ซื้อขาย
ว่าจะทา
หรือ
สัญญาจ้าง สัญญาใน
วันใด
(๔.) กาหนดเลขที่สญ
ั ญา
เพื่อให้ผขู ้ าย/ผูร้ บั จ้างนา
ร่างสัญญาไปออกหนังสือ
ค้าประกันของธนาคาร
-เพื่อให้ธนาคารผูอ้ อกหนังสือ
ค้าประกัน กรอกข้อความ
ในหนังสือค้าประกันได้อย่าง
สมบูรณ์ ครบถ้วน
99
อัตราการคิดหลักประกันซองและหลักประกันสัญญา
(ระเบียบข้อ ๑๔๒) คิดร้อยละ ๕ ในวงเงินเต็มของ
หลักประกันซอง
• คิดร้อยละ๕ ของวงเงิน
งบประมาณ
หลักประกันสัญญา
• คิดร้อยละ ๕ ของวงเงิน
ที่ทาสัญญา
เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ กาหนดสูงกว่าได้ไม่เกิน ๑๐%
ข้อ ๑๔๓ ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ-หน่วยงานของรัฐ
เป็ นผูเ้ สนอราคา หรือเป็ นคู่สญ
ั ญา –ได้รบั ยกเว้น
ไม่ตอ้ งวางหลักประกันซอง/หรือหลักประกันสัญญา
การตรวจรับพัสดุ
และการควบคุมงานก่อสร้าง
ตามระเบียบฯ ข้อ ๗๑ ข้อ ๗๒ข้อ ๗๓
101
กาหนดระยะเวลาการตรวจรับพัสดุและ
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง
ส.เวียน สานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.๑๓๐๕/ว.๕๘๕๕ ลว. ๑๑ กค.๔๔
เรือ่ ง ระยะเวลาตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง และการตรวจรับพัสดุ
หลักการ
ให้ตรวจรับวันที่มีหนังสือนาพัสดุมาส่งตามเงื่อนไขสัญญา
และต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็ นหนังสือด้วย เพื่อ:-
-ให้ใ ช้เ ป็ นหลัก ฐานยืน ยัน วัน ที่ ส่ง มอบตามสัญ ญา
และเป็ นประโยชน์ในการคิดคานวณค่าปรับ
102
ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้ างก่ อสร้ าง
นร (กวพ) 1002/ว 9 -ให้ หน.ส่ วนราชการหรือผู้มอี านาจแต่ งตั้ง กาหนดระยะเวลา
-ปฏิบัตงิ านทุกครั้ง/ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้ าง รายงานผล
ลว. 4 เม.ย. 33
-ภายในกาหนด + ถ้ าล่าช้ า ให้ ขอขยายเวลา
นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค. 44 + สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25
ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ
ระยะเวลาเริ่มตรวจ
ระยะเวลาตรวจการจ้ าง
ระยะเวลาการตรวจ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ
ตรวจให้ เสร็จสิ้นโดยเร็วทีส่ ุ ด
วันทีส่ ่ งมอบ แต่ อย่ างช้ าไม่ เกิน5 วันทาการ
(ไม่รวมเวลาที่ใช้ทดลอง)
ตารางถัดไป
103
กาหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้ าง
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาเหมารวม (Lump Sum)
ราคาค่ างาน
ผู้ควบคุมงาน
งวดงาน
งวดสุ ดท้ าย
ทุกราคาค่ างาน
3 วัน
3 วัน
วันทาการ
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
งวดงาน
งวดสุ ดท้ าย
3 วัน
5 วัน
งานจ้ างก่อสร้ างแบบราคาต่ อหน่ วย (Unit Cost)
ราคาค่ างาน
รายงวด
ไม่ เกิน 30 ล้านบาท 4 วัน
ไม่ เกิน 60 ล้านบาท 8 วัน
ไม่ เกิน 100 ล้านบาท 12 วัน
เกิน 100 ล้านบาทขึน้ ไป 16 วัน
วันทาการ
ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการตรวจการจ้ าง
ครั้งสุ ดท้ าย
รายงวด
ครั้งสุ ดท้ าย
5 วัน
8 วัน
3 วัน
5 วัน
12 วัน
3 วัน
5 วัน
16 วัน
3 วัน
20 วัน
3 วัน
5 วัน
** ทาไม่ เสร็จภายในกาหนด ให้ รายงาน หน.ส่ วนราชการ + สาเนาแจ้ งค่ สู ัญญาทราบ **104
การนับระยะเวลาตรวจรับงานก่อสร้าง
ให้นบั ตัง้ แต่เมื่อใด ?
ผูค้ วบคุมงาน
งวดงานละ ๓ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากรับ
หนังสือส่งมอบจาก
ผูร้ บั จ้าง
คกก.ตรวจการจ้าง
งวดงานละ ๓ วันทาการ งวด
สุดท้าย ๕ วันทาการ
ให้นบั ถัดจากวันที่
ผูค้ วบคุมงานตรวจเสร็จและ
รายงานให้ประธานกรรมการตรวจ
การจ้างทราบแล้ว
105
วิธีการตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
กาหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไว้ดงั นี้
 ๑.ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง
๒.กรณีจาเป็ น ไม่อาจตรวจนับเป็ นจานวนหน่วยได้ท้งั หมด
• ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ
> ๓. เมื่อตรวจแล้ วเห็นว่ าถูกต้ อง
ให้ ทาหลักฐานการตรวจรับพัสดุไว้อย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผูข้ าย 1
ฉบับ/ ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ 1ฉบับ เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
ให้ถอื ว่าผูข้ าย,ผูร้ บั จ้าง ส่งมอบครบถูกต้องตัง้ แต่วันที่นาพัสดุมาส่ง
> มอบของให้เจ้าหน้าที่พสั ดุ
>> รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีส่งมอบไม่ ถูกต้ องตามสัญญา
> ไม่ถูกต้องในรายละเอียด
* ให้รายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั ่งการทันที
กรณีถูกต้ องแต่ ไม่ ครบจานวน/ หรื อครบแต่ ไม่ ถูกต้ องทั้งหมด
*แจ้งผูข้ าย/ ผูร้ บั จ้าง ทราบภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั ตรวจพบ
หากจะให้รบั เฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน หส.ราชการพิจารณา แก้ไขสัญญาก่อน แล้ว
จึงตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง
> >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง)
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ (ต่ อ)
กรณีพสั ดุเป็ นชุด / หน่ วย
ให้ดวู ่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งจะใช้การไม่ได้
สมบูรณ์
อย่าง
* ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ

รีบรายงาน หส.ราชการภายใน 3 วันทาการนับแต่ตรวจพบ
กรรมการตรวจรั บบางคนไม่ ยอมรั บพัสดุ
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
> ถ้ า หัวหน้ าส่ วนราชการ สั่งการให้ รับพัสดุไว้
* ให้ ออกใบตรวจรั บให้ ผ้ ูขาย/ผู้รับจ้ างและจนท.พัสดุ เป็ นหลักฐาน
วิธีการตรวจรั บงานจ้ างก่อสร้ าง
 ระเบียบฯ
พัสดุ ข้ อ ๗๒
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ตรวจตามรายงานของผ้ คู วบคมุ งาน
 ดูการปฏิบต
ั งิ านของผูร้ บั จ้าง

ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์

รับทราบการสั่งการของผูค้ วบคุมงาน กรณีสั ่งผูร้ บั จ้างหยุด/
พักงาน
แต่ตอ้ งรายงาน หส.ราชการทราบ/สั ่งการ
หน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจการจ้ าง (ต่ อ)
กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่ าไม่ น่าจะเป็ นตามหลักวิชาการ



ให้ออกตรวจสถานที่ที่จา้ ง
ให้มีอานาจ
สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้
เพื่อให้เป็ นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง
ตรวจผลงานที่ส่งมอบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วน
ั ประธานกรรรมการ
มอบงาน
ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
รับทราบการส่ง
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
กรณีตรวจถูกต้ อง

ทาใบรับรองผลงาน
 ทั้งหมด / เฉพาะงวด
 มอบให้ผรู ้ บ
ั จ้าง , จนท.พัสดุ
 รายงาน หส.ราชการ ผูว้ ่าจ้างทราบ
กรณีตรวจพบว่ าไม่ ถูกต้ อง




ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด
ให้รายงาน หส.ราชการทราบ ผ่าน จนท.พัสดุเพื่อสั ่งการ
ถ้า หส.ราชการสั ่งให้รบั ไว้ ให้ทาใบรับรองผลงานได้
หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน
ให้ทาความเห็นแย้งไว้
(ตัวอย่าง )หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
มีขอบเขตอย่างไร ?
มติกวพ.ครัง้ ที่ ๒๗/๒๕๕๓(๑๗/๐๖/๕๓)
๑.ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดในระเบียบฯ ข้อ ๗๒
-กล่าวคือ หากคณะกรรมการดาเนินการตรวจสอบรายงานการ
ปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผูค้ วบคุมงานรายงาน โดย
ตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาแล้วมีขอ้ สงสัย
หรือ
มีกรณีท่ีเห็ นว่า ตามหลักวิชาช่างไม่น่าจะเป็ นไปได้

-ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ท่ีกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
ให้ทางานจ้างนัน้ ๆ
112
โดยให้มีอานาจสั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้
ตามที่เห็ นสมควร และตามหลักวิชาช่าง
เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญา
เท่านั้น
และหากคณะกรรมการตรวจการจ้างเห็ นสมควรแก้ไขเปลี่ยนแปลง เนื้อ
งานที่นอกเหนือจากที่กาหนดในแบบรูปรายการละเอียดและข้อกาหนดใน
สัญญา
จะต้องนาเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อแก้ไขสัญญา ก่อนดาเนินการ
ต่อไป และหากหน่วยงานเห็ นว่าจาเป็ นต้องแก้ไขสัญญา ย่อมต้องปฏิบตั ิ
ตามระเบียบฯพัสดุ ข้อ ๑๓๖
113
ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่ควบคุมงานอย่างไร?
ระเบียบฯ ข้อ ๗๓
1
ตรวจให้เป็ นไปตามแบบรูป /รายการละเอียด และ
ข้อตกลงในสัญญาทุกวัน
2
มีอานาจ
 สั ่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ตามสมควรและตาม
หลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกาหนดใน
สัญญา
114
3
ถ้าผูร้ บ
ั จ้างขัดขืนไม่ปฏิบตั ติ าม
 ให้สั ่งหยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ /
ทั้งหมดไว้ก่อน
จนกว่าผูร้ บั จ้างจะยอม
ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องตามคาสั ่ง
และรีบรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทันที
4
กรณีเห็ นว่าแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกาหนดสัญญา มี ข้อความขัดกัน
หรือคาดหมายได้ว่า
้ จะเป็ นไปตามแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกาหนดสัญญา
แม้ว่างานนัน
แต่เมื่อสาเร็จแล้วก็จะไม่ม่ นั คง แข็งแรง /ไม่เป็ นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ
ไม่ปลอดภัย ให้สามารถ
 สั่งพักงานไว้ก่อน แล้วรายงาน คกก. ตรวจการจ้างโดยเร็ว
115
5
จดบันทึกสภาพการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้างเป็ นรายวัน
ไว้อย่างน้อย
๒ ฉบับ ดังนี้
 สภาพการปฏิบต
ั งิ าน / เหตุการณ์แวดล้อม/ ผลการ
ปฏิบตั งิ าน /การ
หยุดงาน/ สาเหตุที่มีการหยุดงาน
 เพื่อรายงานให้ คกก. ตรวจการจ้างทราบ ทุกสัปดาห์
 ให้เก็บรักษารายงานไว้ เพื่อมอบให้แก่ จนท.พัสดุ
เมื่อเสร็จ
งานแต่ละงวด
โดยถือเป็ นเอกสารสาคัญ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ ของผูม้ ีหน้าที่
ทัง้ นี้
ให้ระบุรายละเอียด
การบันทึกการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง
ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน และวัสดุท่ใี ช้ดว้ ย
116
ระยะที่ ๕
การควบคุมและจาหน่ายพัสดุ
117
การลงทะเบียนควบคุมพัสดุของทางราชการ
วัสดุ
อาคาร สิ่ งปลูกสร้ าง
ที่ดนิ สิ่งก่ อสร้ าง
ครุภณ
ั ฑ์
หรือวัสดุทคี่ งทนถาวร
บัญชีวสั ดุ
ทะเบียนคุมทรัพย์ สิน ทะเบียนทีร่ าชพัสดุ
(ระเบียบฯ ข้ อ152 + ที่ นร(กวพ)
(ระเบียบฯ ข้ อ152 + ที่ นร(กวพ)
1202/ว 116 ลว. 1 เม.ย. 35)
0408.4/ว 129 ลว. 20 ต.ค. 49)
(ตาม พรบ. ทีร่ าชพัสดุ)
ตามที่กรมบัญชีกลาง ตามที่กรมธนารักษ์
ตามที่ กวพ. กาหนด
กาหนด
กาหนด
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
คา
อ
ธิ
บ
า
ย
การลงบัญชี/ทะเบียน ควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใดๆ
ให้เจ้าหน้าที่พสั ดุลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุม ตามตัวอย่างกวพ.
อะไรเป็ นวัสดุ /ครุภณ
ั ฑ์ ให้ดหู ลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตาม
หนังสือเวียนสานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว.๑๘ ม.ค.๒๕๕๓
วิธีลงทะเบียน(ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙)
๑) วัสดุ- ลงบัญชีวสั ดุตามแบบที่ กวพ. กาหนดไว้เดิม
๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภณ
ั ฑ์
-ให้ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินตามแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนดไว้
แต่วสั ดุที่มีอายุใช้งานนานที่ไม่ถึง ๕ พันบาท ไม่ตอ้ งคิดค่าเสื่อมราคา
ตามส.ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙

125
วิธีการตัดครุ ภณ
ั ฑ์ เดิมออกจากทะเบียน เนื่องจากชารุ ด
และลงทะเบียนคุมทรั พย์ สินใหม่ ท่ ไี ด้ รับทดแทนของเดิม
มติกวพ.ครั้งที่ ๔๔/พ.ย.๒๕๕๒
๑. ให้ระบุเหตุผลของการตัดครุภณ
ั ฑ์เดิม และรายการ
ครุภณ
ั ฑ์ใหม่ (Serial Number)ที่ได้รบั ทดแทน
ไว้ในช่องหมายเหตุของทะเบียนคุมทรัพย์สินเดิม
๒.บันทึกข้อมูลรายละเอียดของครุภณ
ั ฑ์ใหม่ ที่ได้รบั ทดแทน
ในทะเบียนคุมทรัพย์สินใหม่ พร้อมระบุเหตุผลในการรับ
ครุภณ
ั ฑ์ใหม่ และระบุรายละเอียดของครุภณ
ั ฑ์เดิม (Serial
Number) ไว้ในช่องหมายเหตุของของทะเบียนคุมทรัพย์สินใหม่
126
ผูม้ ีหน้าที่เบิก-จ่ายพัสดุ ไปใช้งาน (ข้อ ๑๕๓-๑๕๔)
ผูเ้ บิกพัสดุ ได้แก่
๑.ระดับกอง/หรือหน่วยงานแยกจากกรม/หน่วยงานในส่วน
ภูมิภาค
จะเบิกพัสดุกบั กรม -ให้หัวหน้าหน่วยงานเป็ นผูเ้ บิก
๒.หน่วยพัสดุของหน่วยงานในภูมิภาค/หรือหน่วยงานแยก
ต่างหากจากกรม – ให้หัวหน้างานที่ตอ้ งใช้พสั ดุ เป็ นผูเ้ บิก
ผูส้ ่งั จ่ายพัสดุ ได้แก่
หัวหน้าหน่วยพัสดุ/ระดับแผนกหรือตา่ กว่าแผนกแต่มีหน้าที่
ควบคุมพัสดุ หรือข้าราชการที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นหัวหน้าหน่วยพัสดุ
เป็ นผูส้ ่งั จ่ายพัสดุ
-ผูส้ ่งั จ่ายต้องตรวจสอบใบเบิก เอกสารประกอบแล้วลงบัญชี หรือ
ทะเบียนทุกครัง้ ที่มีการจ่าย เก็บใบเบิกจ่ายไว้เป็ นหลักฐานด้วย
127
“ การตรวจสอบพัสดุประจาปี ” (ข้อ ๑๕๕)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ
หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบพัสดุทาหน้าที่ดงั นี้
โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น
ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พสั ดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งจะทาการตรวจสอบพัสดุ
“งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปี ก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปี ปั จจุบนั ”
- โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิ ดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า: มีพสั ดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็ นต้องใช้งานต่อไป
ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง
แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุ ด / สตง. ๑ ชุ ด
128
“ การตรวจสอบพัสดุประจาปี ” (ข้อ ๑๕๕)
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ
หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบพัสดุทาหน้าที่ดงั นี้
โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น
ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พสั ดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
ผูไ้ ด้รบั แต่งตั้งจะทาการตรวจสอบพัสดุ
“งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปี ก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปี ปั จจุบนั ”
- โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิ ดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า: มีพสั ดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็ นต้องใช้งานต่อไป
ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง
แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูแ้ ต่งตัง้ ๑ชุ ด / สตง. ๑ ชุ ด
129
การจาหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
 พัสดุใดหมดความจาเป็ นในการใช้งาน /ใช้งาน
 จะสิ้นเปลือง ค่าใช้จา่ ยมาก
 ให้หส.ราชการ พิจารณาสั ่งจาหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้
 ขาย/ขายทอดตลาด (ถ้าขายให้ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ/
หน่วยงานอื่นของรัฐ ให้ขายโดยวิธีตกลงราคา)
(เว้นแต่ การขายครัง้ หนึ่งได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา)
 แลกเปลี่ยน
(ให้ทาตามข้อ ๑๒๓-๑๒๗)
 โอน ให้โอนแก่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น องค์การ
สถานสาธารณกุศลตามมาตรา๔๗(๗)มีหลักฐานการโอนเป็ น
หนังสือไว้ดว้ ย
 แปรสภาพ หรือทาลาย (ให้ส่วนราชการเป็ นผูก้ าหนด)
( ข้อ๑๖๐ เมื่อดาเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จา่ ยออกจากทะเบียน)
130
ปั ญหาและแนวทางปฏิบตั ใิ นการจาหน่ายพัสดุ
เรือ่ งที่ ๑
• มติกวพ.๔๗/๔๘ ส่วนราชการ ก. จะขอขายรถยนต์ประจาตาแหน่ง
ให้แก่ขา้ ราชการโดยไม่ขายทอดตลาด หรือเปิ ดประมูลให้แก่
ข้าราชการภายในหน่วยงานก่อน ย่อมกระทาไม่ได้ ขัดระเบียบพัสดุ
เรือ่ งที่ ๒
มติกวพ.๕๒ วิธีการขายทอดตลาด-ให้คณะกรรมการฯประเมินราคา
ทรัพย์สินที่จะขาย จากราคาในท้องตลาดปั จจุบนั
เรือ่ งที่ ๓ การขายทอดตลาดครั้งหนึ่ง หากมีวงเงินที่ได้มารวมไม่ถึง
๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้ขายโดยตกลงราคากันได้ ไม่ตอ้ งรอให้มีวงเงิน
ที่ได้มารวมกัน ๑ แสนบาท ก่อนจึงจะขายทอดตลาดได้
131
หนังสือเวียนวิธีปฏิบตั ิเรื่องการจาหน่ายพัสดุโดย
วิธีการขายทอดตลาด
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๒๕๗ ลงวันที่
๒๙ กรกฏาคม ๒๕๕๒)
๑.ให้ส่วนราชการดาเนินการจาหน่ายพัสดุโดยวิธีการ
ขายทอดตลาด
โดยถือปฏิบตั ติ ามแนวทางการขายทอดตลาด ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๕๐๙-๕๑๗
132
๒. การประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด
ให้ส่วนราชการทาการประเมินราคาทรัพย์สิน โดยอาศัยหลักเกณฑ์
อย่างหนึ่งอย่างใดในการประกอบการพิจารณา ดังนี้
๒.๑ ราคาที่ซ้ ือขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่น
ของสภาพปั จจุบนั พัสดุน้นั ณ เวลาที่จะทาการขาย และ
ควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม
๒.๒ ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน
รวมทั้งสภาพและสถานที่ต้งั ของพัสดุ
กรณีไม่มีจาหน่ายทั่วไป
ทั้งนี้ ให้อยูใ่ นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการในการ
พิจารณาตามหลักเกณฑ์ขา้ งต้น และให้คานึงถึงประโยชน์ของทาง
ราชการด้วย
133
การแบ่ งซือ้ แบ่ งจ้ าง หมายถึง การลดวงเงินที่ จะ
ซือ้ หรือจ้ างในครัง้ เดียวกัน ออกเป็ นหลายครัง้
โดยไม่ มีเหตุผลความจาเป็ น และมีเจตนาทีจ่ ะหลีกเลี่ยง
1) แบ่ งวงเงิน ให้ ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ
2) ให้ ผ้ ูมีอานาจสั่งซือ้ สั่งจ้ าง เปลี่ยนไป
วงเงินที่ได้ รับมาพร้ อมกันหรือไม่
พัสดุท่ จี ะจัดหาเป็ นประเภทเดียวกันหรือไม่
พิจารณาจากความต้ องการของผู้ใช้
พัสดุว่าต้ องการใช้ พร้ อมกันหรือไม่
การจัดซือ้ พัสดุประเภทชนิ ดเดียวกัน แม้ ต่างขนาดและ
ราคา เมื่อมีการประมาณการความต้ องการในการใช้ งานของทั ง้
ปี แล้ ว จะต้ องจัดซือ้ รวมในครัง้ เดียวกัน เว้ นแต่ มีเหตุผลที่ชัดเจน
ที่ จ าเป็ นต้ องแยกซื อ้ ที่ ไ ม่ ใช่ เป็ นการแบ่ งซื อ้ แบ่ งจ้ าง เพื่ อ
ประโยชน์ ในการบริ หารการพัสดุ จะต้ องกาหนดเงื่อนไขในการ
ดาเนิ นการจัดซือ้ โดยใช้ สัญญาจะซือ้ จะขายแบบราคาคงที่ ไม่
จากัดปริ มาณ เพื่อออกใบสั่ งซือ้ เป็ นคราว ๆ ให้ สอดคล้ องกับ
การใช้ งานจริง
ความรูท้ ั ่วไปเกี่ยวกับ
กฎหมาย/ระเบียบ/
มติคณะรัฐมนตรี และ
หนังสือแจ้งเวียน
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
137
สานักงาน ป.ป.ช.
มี ประกาศคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทา และแสดงบัญชีรายการ รับจ่าย ของ
โครงการที่บุคคลหรือนิตบิ ุคคลเป็ นคู่สญ
ั ญา
กับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔
มีผลบังคับใช้ต้งั แต่วนั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ เป็ นต้นไป
ประกาศออกโดยพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๔
หมวด ๙/๑ มาตรา ๑๐๓/๗
138
ประกาศดังกล่าว ใช้บงั คับกับ
๑.สัญญาที่เกี่ยวกับการจัดหาพัสดุของหน่วยงานของรัฐ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ หรือ
ระเบียบ ข้อกาหนด กฎ หรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของ
ของรัฐ
๒.สัญญาสัมปทาน
๓.สัญญาให้ทุนสนับสนุ นของหน่วยงานของรัฐเพื่อการวิจยั
หรือเพื่อดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง
หน่วยงาน
-ซึ่งมีมูลค่าตัง้ แต่ ๕๐๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป
เว้นแต่ ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ – วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ใช้บงั คับกับ
สัญญาที่มีมูลค่าตั้งแต่ ๒ ล้านบาท ขึ้นไป
139
ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัสดุ
ในหมวด ๕ มาตรการเพื่อให้หน่วยงานของรัฐปฏิบตั ิ ดังนี้
ข้อ ๑๕. ให้หน่วยงานของรัฐ กาหนดเงื่อนไข และ คุณสมบัตขิ องบุคคล หรือ
นิตบิ ุคคล ที่จะเข้าเป็ นคูส่ ญ
ั ญา และ
กาหนดให้คูส่ ญ
ั ญาต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
๓. คู่สญ
ั ญาต้องรับ๑. ต้องไม่อยูใ่ นฐานะ ๒. หากได้ดาเนินการจัดซื้อจัด
จ่
า
ยเงิ
น
ผ่
า
นบั
ญ
ชี
เ
งิ
น
เป็ นผูไ้ ม่แสดงบัญชี จ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ฝากกระแสรายวัน
e-Government
รายรับรายจ่าย หรือ Procurement:e-GP ตามข้อ ๑๖
เว้นแต่ การรับจ่าย
แสดงบัญชีรายรับ ต้องลงทะเบียน ในระบบ
แต่ละครัง้ ซึ่งมีมูลค่า
รายจ่ายไม่ถูกต้อง
อิเล็กทรอนิกส์ ของ
ไม่เกินสามหมื่นบาท
กรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศูนย์
ครบถ้วนใน
คูส่ ญ
ั ญาอาจรับจ่าย
้
ข้
อ
มู
ล
จั
ด
ซื
อ
จั
ด
จ้
า
งภาครั
ฐ
สาระสาคัญ
เป็ นเงินสด ก็ได้
140
การรายงานบ/ช รับ-จ่าย
ข้อ ๑๖ ให้หน่วยงานของรัฐ
ซึ่งได้ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
e-Government Procurement:
e-GP ของกรมบัญชี กลาง
ข้อ ๑๗ ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐ ก่อ
นิตสิ มั พันธ์กบั บุคคล หรือนิตบ
ิ ุคคล
ซึ่งได้มีการระบุช่ือไว้ในบัญชี
รายชื่อว่า
เป็ นคูส่ ญ
ั ญาที่
ไม่ได้ย่ืนบัญชีรายรับรายจ่าย หรือ
แสดงบัญชีรายรับรายจ่ายไม่
ถูกต้องครบถ้วนในสาระสาคัญ
“ให้รายงานข้อมูลของคูส่ ญ
ั ญาที่
ต้องแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายต่อ เว้นแต่ บุคคลหรือนิตบิ ุคคลนั้น จะได้
แสดงบัญชีรายรับรายจ่ายตามประกาศ
คณะกรรมการ ป.ป.ช. และ
นี้ หรือได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
กรมสรรพากร
และมีการสั ่งเพิกถอนรายชื่อจากบัญชี
ดังกล่าวแล้ว
14
1
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.
๒๕๔๐มาตรา ๙(๑)และ(๘) กาหนดว่า
ข้อมูลข่าวสารที่รฐั ต้องจัดไว้ให้
ประชาชนเข้าตรวจดู ได้แก่
(๑) ผลการพิจารณา
หรือคาวินิจฉัยที่มีผล
โดยตรงต่อเอกชน
(๘) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่
คณะกรรมการกาหนด
142
ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓
เรื่อง กาหนดให้หน่วยงาน
ของรัฐ จัดทาข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับผลการพิจารณา
จัดซื้อจัดจ้างไว้ให้ประชาชน
ตรวจดูได้ตามมาตรา ๙(๘)
แห่ง พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
บทลงโทษ
-ผูฝ้ ่ าฝื นคาสั่งคกก.ไม่ให้
ถ้อยคา/ชี้แจง/ส่งหลักฐาน/ตาม
ตามมาตรา ๓๒
จาคุกไม่เกิน ๓ เดือนปรับไม่เกิน
๕ พันบาท หรือทัง้ จา/ปรับ
-ฝ่ าฝื นม.๒๐จาคุกไม่เกิน๑ ปี
ปรับไม่เกิน ๒ หมื่นหรือทัง้ จา
และปรับ
วิธีปฏิบตั ิ ได้แก่ 1. สรุปผลการจัดหา วัน/เดือน/ปี /งาน /วงเงินจัดหา
วิธีจดั หา ชื่อผูเ้ สนอราคา ผูช้ นะราคา เหตุผลที่คดั เลือกรายนั้น
2.ทาตามแบบ สขร.1
143
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา
ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๐ กาหนด
บทลงโทษเจ้าหน้าที่
ทีม่ ีอานาจ อนุมตั ิ
พิจารณา ดาเนินการ
เกี่ยวกับการเสนอ
ราคา
รู ้ หรือควรจะรูว้ ่า
มีพฤติการณ์/หรือปรากฏ
ว่ามีการกระทาผิดตาม
พ.ร.บ.นี้
ไม่เสนอยกเลิก
• โทษจาคุกตัง้ แต่ ๑ ปี ถึง ๑๐ ปี และ
ปรับตัง้ แต่ ๒๐,๐๐๐บาท – ๒๐๐,๐๐๐บาท
144
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ)
• มาตรา ๑๑ กาหนดลงโทษเจ้าหน้าที่หรือผูไ้ ด้รบั มอบหมาย
จากหน่วยงาน:►ทุจริต ออกแบบ กาหนดราคา กาหนดเงื่อนไขอันเป็ นมาตรฐาน
ในการเสนอราคา
► มุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม
►ช่วยเหลือผูเ้ สนอราคารายใดให้เข้าทาสัญญา
►กีดกันมิให้เข้าเสนอราคาอย่างเป็ นธรรม
• โทษจาคุก 5 ปี -20ปี /ตลอดชีวิต+ปรับ 100,000-400,000บาท
145
พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา
ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ)
• มาตรา ๑๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาผิดตาม พ.ร.บ.นี้
• กระทาการโดยมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขัน
เพื่อเอื้ออานวยผูเ้ สนอราคาให้เป็ นผูม้ ีสิทธิทาสัญญา
• โทษจาคุก ๕ ปี – ๒๐ ปี หรือตลอดชีวิตและ
ปรับ 100,000 - 400,000 บาท
146
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
องค์ประกอบของการกระทาละเมิด
• ผูใ้ ดทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
• กระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
• ให้เขาเสียหาย แก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน
หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด
• ผูท้ าละเมิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
147
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่
1
2
เจ้าหน้าที่ผทู ้ า
ละเมิดจะรับผิดชดใช้
ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อ
4
โดยมิตอ้ งให้ใช้เต็ม
จานวน
ของความเสียหายก็ได้
กระทาไปด้วยความ
จงใจ หรือประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง
3
ต้องคานึงถึงระดับ
ความร้ายแรงแห่งการ
กระทา และความ
เป็ นธรรมในแต่ละ
กรณีเป็ นเกณฑ์
148
ระเบียบคณะกก.ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินยั
ทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.๒๕๔๔
ไม่ปิด/ส่งประกาศ/ไม่ซ้ ือ/
กาหนดความผิดเกี่ยวกับการ
จ้างรายตา่ โดยไม่มีเหตุผล,
พัสดุ (ข้อ ๓๗-๔๙) อันเป็ นเหตุ
ทาสัญญามิชอบ,
ให้ทางราชการเสียหาย ได้แก่
ผูค้ วบคุมงาน/คกก.ตรวจ
แบ่งซื้อ-แบ่งจ้าง,/จัดซื้อที่ดิน
การจ้างปฏิบตั มิ ิชอบ,การ
และสิ่งก่อสร้าง/ การปฏิบตั ิ/
ตรวจรั
บ
พั
ส
ดุ
,
ลงบั
ญ
ชี
/
ทะเบียน
ละเว้นการปฏิบตั โิ ดยมิชอบ/
,เบิกจ่าย ตรวจสอบพัสดุ
การกาหนดราคากลาง/การ
มิชอบ
กาหนด Specification ของสิ่งของ บทลงโทษ ปรับทางปกครองมี
ที่ซ้ ือหรือจ้าง ในการประกวด/ ๔ ชัน้ หักเงินเดือนชัน้ ๑/๑ เดือน
สอบราคา ที่มิชอบ
(๒/๒-๔)(๓/๕-๘)(๔/๙-๑๒)
149
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๕๐
• มาตรา 38 กาหนดอานาจในการสั ่ง /อนุญาต/ อนุมตั /ิ การปฏิบตั ิ
ราชการหรือดาเนินการอื่นที่ผดู ้ ารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบตั หิ รือ
ดาเนินการตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั ่งใดหรือมีมติ
คณะรัฐมนตรีในเรื่องใดถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั ่ง
นั้น หรือ มติคณะรัฐมนตรีในเรือ่ งนั้น
• มิได้กาหนดเรือ่ งการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอื่น
• หรือมิได้หา้ มเรือ่ งการมอบอานาจไว้
• ผูด้ ารงตาแหน่งนั้น อาจมอบให้ผดู ้ ารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการ
เดียวกัน หรือส่วนราชการอื่น หรือผูว้ ่าฯ ได้ตามหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขที่กาหนดในพ.ร.ฎ.
การมอบอานาจให้ทาเป็ นหนังสือ
150
พ.ร.บ. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
• มาตรา ๓ วิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองตาม กม.ต่างๆ
ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในพ.ร.บ.นี้ เว้นแต่มีกาหนดไว้เฉพาะ
คาสั ่งทางปกครอง
หมายความว่า
การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็ นการสร้าง
นิตสิ มั พันธ์ข้ ึนระหว่างบุคคล เช่ น การสั่งการ การอนุญาต อนุมัติ
วินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน เป็ นต้ น ซึ่งมีผลดังนี ้
-เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อ
สถานภาพ หรือสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นการ
ชั ่วคราวหรือถาวร /หรือ การอื่นที่กาหนดในกฎกระทรวง
151
กฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๓)
(ออกตามพ.ร.บ. วิธีปฏิบต
ั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙)
คาสั ่งต่อไปนี้เป็ นคาสั ่งทางปกครอง/ผูอ้ อกคาสั ่งจะต้อง
แสดงเหตุผลไว้ในคาสั ่งนั้นๆด้วยทุกครั้ง
การสั ่งรับ /
ไม่รบั คาเสนอขาย
รับจ้าง /
แลกเปลี่ยน /เช่า
ขาย /ให้เช่า หรือ
ให้สิทธิประโยชน์
การอนุมตั สิ ั ่งซื้อ
จ้าง/ แลกเปลี่ยน
เช่า/ ขาย /ให้
เช่า หรือให้สิทธิ
ประโยชน์
การสั ่งให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
การสั ่งยกเลิก
กระบวนการ
พิจารณาคาเสนอ
หรือการดาเนินการ
อื่นในลักษณะ
เดียวกัน
การให้ /ไม่ให้ทุนการศึกษา
152
พรบ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ.๒๕๑๘
ทรัพย์สิน
ที่ราชพัสดุ ได้แก่
- ที่ดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน
อสังหาริมทรัพย์ของ
แผ่นดินทุกชนิด
ยกเว้น
- ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
- ที่ดินที่เป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิน
-ส่วนควบของที่ดิน เช่น อาคาร สิ่งปลูก
สร้าง ไม้ยนื ต้น
- สิ่งปลูกสร้างของรัฐที่อยูบ่ นที่ดินอื่น
ทรัพยสิทธิอนั เกี่ยวกับที่ดิน
- ที่ดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมมััน
- อสังหาริมทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจ
และขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หรือมีกฎหมายเฉพาะยกเว้น
เช่น แดนกรรมสิทธิ์ (สิทธิเหนือ – ใต้)
พื้ นดิน)
หรือสิทธิในภารจายอม เป็ นต้น
การควบคุมที่ราชพัสดุ
การดาเนินการต่อไปนี้ ให้บงั คับตามกฎกระทรวง เช่น
“การโอนกรรมสิทธิ์ การขาย/แลกเปลี่ยน /การให้
/การโอนคืนให้แก่ผยู ้ กให้ “
ให้แจ้งกรมธนารักษ์(ธนารักษ์จงั หวัดแล้วแต่กรณีดาเนินการ หรือ
ให้ทาหนังสือมอบอานาจให้ดาเนินการแทน) ส่วน
ยกเว้น อสังหาริมทรัพย์ขององค์การปกครองท้องถิ่น
เป็ นที่ราชพัสดุ ควบคุมตามหลักเกณฑ์
กาหนด
ซึ่งไม่ถือว่า
ที่กระทรวงมหาดไทย
154
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 มาตรา ๒๓ วรรคแรก
• ห้ามมิให้ส่วนราชการจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตาม พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่าย
เพิ่มเติม
• จนกว่าจะได้รบั อนุมตั ิเงินประจางวดแล้ว ฯลฯ
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณของสานักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ ข้อ ๑๘,
๒๓ , ๒๔ , ๒๕, ๒๖ เรื่อง การโอน เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
155
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน
และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ.๒๕๕๑
ข้อ ๒๔ การเบิกเงินสาหรับซื้อ/จ้าง/เช่า
ตามระเบียบฯพัสดุ ที่มีใบสั ่งซื้อ/ใบสั ่งจ้าง /สัญญา
หรือ ข้อตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ ๕,๐๐๐บาทขึ้นไป
-ให้ทาใบ POเพื่อกรมบัญชีกลางจะโอนจ่ายเงินเข้า
บัญชีเจ้าหนี้หรือผูม้ ีสิทธิโดยตรง
และให้ดาเนินการขอเบิกเงินจากคลังไปชาระหนี้
โดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน ๕ วันทาการนับจาก
วันตรวจรับทรัพย์สิน/งาน ถูกต้อง
หรือนับจากได้รบั แจ้งจากหน่วยงานย่อย
156
ระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ.๒๕๔๗
ข้อ ๖ ให้ส่วน
ข้อ.๗ ให้แบ่งสรรให้
ข้อ ๑๖.ระยะต้น
ราชการเจ้าของ
หน่วยงานในสังกัด
ปี งบประมาณ
งบประมาณ
ตามความเหมาะสม/
หากยังไม่ได้รบั
มีเงินไว้ทดรอง
ข้อ๙ให้ถือปฏิบตั ิ
อนุ มตั เิ งินประจา
ราชการตามที่
ตามระเบียบว่าด้วย
งวดให้จ่ายเงินทด
กระทรวง
การเบิกจ่ายเงินจาก
รองฯไปก่
อ
นได้
การคลังกาหนด
คลังโดยอนุโลม
ระเบียบฯ ข้อ )๑๔ เงินทดรองฯให้จ่ายได้เฉพาะ:(๑)ค่าจ้างลูกจ้างรายวัน/หรือเมื่อเสร็จงานที่จา้ ง(๒)งบดาเนินงาน
ยกเว้นค่าน้ า/ไฟ/(๓)งบกลาง เฉพาะค่าศึกษาบุตร,ค่ารักษาพยาบาล
(๔)งบอื่นที่จา่ ยในลักษณะเช่นเดียวกับ(๑) หรือ (๒)
157
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
(ข้อ๑๐)กล่าวถึงบทกาหนดโทษ
-ผูม้ ีอานาจหรือหน้าที่ดาเนินการตามระเบียบนี้
-หรือผูห้ นึ่งผูใ้ ด กระทาการใด โดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
ไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้
-หรือกระทาการโดยมีเจตนาทุจริต
-หรือกระทาโดยปราศจากอานาจ หน้าที่
-รวมทั้งมีพฤติกรรมที่เอื้ออานวยแก่ผเู ้ ข้าเสนอราคาหรือเสนองาน
-ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็ นธรรม
ถือว่าผูน้ ้นั กระทาผิดวินยั ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ
หรือ ตามกฎหมายเฉพาะของส่วนราชการนั้น
158
บทกาหนดโทษตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ (ต่อ)
• โทษทางวินัย
• ทุจริต –ทางราชการเสียหายอย่ างร้ ายแรง---อย่ างต่าปลดออก
• ถ้ าการกระทา-ทางราชการเสียหายไม่ ร้ายแรง---อย่ างต่าตัดเงินเดือน
• ถ้ าการกระทา-ทางราชการไม่ เสียหาย---ภาคทัณฑ์ /ว่ ากล่ าวตักเตือน
โดยทาเป็ นลายลักษณ์ อักษร
• การลงโทษทางวินัย ตามนัยข้ างต้ น
• ไม่ หลุดพ้ นจากความรับผิดทางแพ่ ง และทางอาญา (ถ้ ามี)
159
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง
ไปราชการ พ.ศ ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมที่
เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ค่าพาหนะของข้าราชการ ผู ้
เดินทางไปราชการ ไม่ตอ้ งจัดจ้างตาม
ระเบียบฯพัสดุ
 ถือว่าเป็ นสิทธิของข้าราชการผู ้
เดินทาง
ที่สามารถเบิก
จากราชการได้ไม่เกินอัตราที่
พรฎ.กาหนดไว้เท่านั้น
 แต่กรณี การเดินทางไปราชการ
หากส่วนราชการจาเป็ นต้องจัดหา
ยานพาหนะให้
 ถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายของ
ทางราชการ ถ้าต้องมีการจ้างเหมา
รถยนต์พาเจ้าหน้าที่ไปราชการ
ในระหว่างการเดินทาง ต้องจัดจ้าง
ตามระเบียบฯ พัสดุ
160
ค่าพาหนะ ของผูเ้ ดินทางที่เบิกจ่ายได้
ตามพรฎ.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางฯพ.ศ.๒๕๒๖ได้แก่
ค่าโดยสารประจาทาง,
ค่าเช่าพาหนะ(TAXI)
 ค่าเชื้อเพลิง(กรณีมีรถเอง),ค่าระวางรถบรรทุก
หาม และอื่นๆทานองเดียวกัน
ค่าจ้างคนหาบ
 แต่ผเู ้ ดินทางจะเช่าเหมารถ (ค่าจ้างเหมายานพาหนะ)
เพื่อรับ-ส่ง
ตลอดเวลาไม่ได้
เนื่องจากในพรฎ.ค่าใช้จา่ ยเดินทางฯ มิได้ให้สิทธิเบิกค่าใช้จา่ ยในลักษณะ
ดังกล่าวได้
การซื้อประกันภัยทุกประเภท ตามพรบ.ประกันภัย
เนื่องจาก“มิไช่พสั ดุ”จึงไม่ตอ้ งจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ
• (คาวินิจฉัยกวพ. ปี ๒๕๕๐,๒๕๕๒)
การประกันภัยรถยนต์/ประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย
มิใช่พสั ดุ จึงไม่อยูใ่ นบังคับที่ตอ้ ง จัดหา
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แต่เป็ นการดาเนินการตามพรบ.ประกันภัยประเภทนั้น ๆ
จึงอยู่ในดุลพินิจของส่วนราชการที่จะดาเนินการจัดหาได้
ตามความเหมาะสม
มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว ๑ ลว.๓
ม.ค.๒๕๓๗
เรือ่ ง มาตรการ
ป้องกันหรือลด
โอกาสในการ
สมยอมกันใน
การเสนอราคา
มติครม.นร
๐๒๐๒/ว ๘๐ ลว.
๓ ม.ค.๒๕๓๗
เรือ่ ง การ
ปรับปรุงแก้ไข
วิธีการประกวด
ราคาจ้างก่อสร้าง
ของทางราชการ
มติครม.สร
๐๒๐๓/ว๕๒
ลว.๒๘มี.ค.
๒๕๒๐ เรือ่ ง
การระบุคณ
ุ
ลักษณะเฉพาะ
ของสิ่งของ
หรือยีห่ อ้
สิ่งของ
163
มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
มติครม.นร
๐๒๐๕/ว ๔๔
ลว.๒๒มี.ค.
๒๕๓๖ เรื่อง
การจ้างเอกชน
ออกแบบและ
ควบคุมงาน
มติครม.ด่วน
มาก ทีน่ .ว.
๑๐๕/๒๕๐๔ ลว.
๑๘ ต.ค.๒๕๐๔
เรื่อง หลักเกณฑ์
การร้องขอถอน
ชื่อออกจากบัญชี
รายชื่อ
ผูล้ ะทิ้งงาน
มติครม. ที่นร
๐๕๐๖/๒๓๖๒
ลว.๑๔ ก.พ.
๒๕๕๐ เรือ่ ง
หลักเกณฑ์การ
กาหนดราคา
กลางงาน
ก่อสร้าง
164
มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การสนับสนุ นสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย
๑. มติ ครม. 29 พ.ค. 50 หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร
0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค.50
๒.มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร
0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52 **
เรือ่ ง การใช้พสั ดุที่ผลิตในประเทศ หรือ
เป็ นกิจการของคนไทย
165
มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มติครม.
เกี่ยวกับ
มาตรการ
เร่งรัดการใช้
จ่ายเงิน
ภาครัฐ
(แต่ละปี )
มติครม.เกี่ยวกับ
มาตรการช่วยเหลือ
ผูป้ ระกอบอาชีพ
ก่อสร้าง
(แต่ละปี )
166
จบการนาเสนอ
น.ส.ภัทรชดา ศรี อ้วน
สวัสดีค่ะ