Response to Intervention (RTI) and Positive Behavior Support (PBS)

Download Report

Transcript Response to Intervention (RTI) and Positive Behavior Support (PBS)

การตอบสนองต่ อการเรี ยนการสอน
Response to Intervention
17 มิถุนายน 2556
ดรุ ณี ปั ้นวงศ์
ศึกษานิเทศก์ .สพป.สฎ.๓
“เมื่อการเรียนการสอนมีคุณภาพผู้เรี ยนทุกคน
ได้ รับการพัฒนาเต็มศักยภาพของตนเอง”
QuestionS…
การเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพเป็ นอย่ างไร
ใครเป็ นคนตัดสินเกณฑ์ ของคุณภาพ
ใครเป็ นผู้ปฏิบัติ และ ปฏิบัตเิ มื่อไร
จะทราบได้ อย่ างไรว่ าผู้เรี ยนทุกคนได้ รับการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพนัน้
ใครไม่ ได้ รับ หรื อ ใครรั บไม่ ได้
ผู้เรี ยนแต่ ละคนมีศักยภาพเท่ าไร
ผู้เรี ยนแต่ ละคนมีความต้ องการเหมือนกันหรื อไม่
เต็มศักยภาพของผู้เรี ยนแต่ ละคนคือแค่ ไหน จะทราบได้ อย่ างไรว่ าเต็มแล้ ว
ใครเป็ นผู้ตดั สินใจในกระบวนการทัง้ หมดนี ้
การเรี ยนการสอนช่ วยให้ ผ้ เู รี ยนมีคุณภาพชีวติ ที่ดขี นึ ้ หรื อไม่
เด็กทุกคนพัฒนาได้
 เรี ยนไม่ ได้ vs. ไม่ อยากเรี ยน
 RTI ไม่ ใช่ เทคนิคหรื อวิธีการสอนสาหรั บนักเรี ยน
คนใดคนหนึ่งหรื อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ เป็ นระบบ
หรื อแนวทางที่นาไปสู่การจัดการเรี ยนการสอนที่
สอดคล้ องกับความต้ องการของเด็กทุกคน

เทคนิควิธีการสอนและการนาเสนอที่ครูปรับสาหรับเด็ก
แอลดี สามารถเป็ นประโยชน์ กบั เด็กคนอื่น ๆ ในชัน้ เรียน
ด้วย
• เทคนิควิธีการสอนเด็กแอลดีอยู่ในรูปแบบของการ
ประยุกต์ใช้หลายๆวิธีเข้าด้วยกัน หรือ บูรณาการ
•
ที่มาและปั ญหา
 เด็กที่มีปัญหาทางการเรี ยนเพิ่มมากขึน
้ ในขณะที่การเรียน
การสอนไม่ สามารถช่ วยเหลือเด็กได้ เท่ าที่ควร
 ปั ญหาทางการเรี ยน และการเรี ยนรู้ นาไปสู่ปัญหาอื่นๆ
 เกณฑ์ การวินิจฉัยไม่ ชัดเจนทาให้ เด็กที่ควรได้ รับบริ การทาง
การศึกษาพิเศษไม่ ได้ รับ หรือเด็กที่ไม่ จาต้ องรับบริการกลับ
ได้ รับ
 การตีความที่หลากหลาย
ที่มาและปั ญหา
 ระบบเก่ าที่รอจนเห็นชัดว่ าเด็กมีปัญหาทางการเรี ยนจึงจะ
ช่ วยเหลือทาให้ ช่วยไม่ ทนั
 เด็กที่มีปัญหาทางการเรี ยนมักจะได้ รับการช่ วยเหลือต่ อเมื่อ
การเรี ยนตกต่ามาก มีความแตกต่ างจากเพื่อนในระดับชัน้
เรี ยนเดียวกันมาก หรื อเป็ นปั ญหาอย่ างเห็นได้ ชัด
 ปั ญหาที่เกิดขึน
้ มีแนวโน้ มจะแก้ ไขได้ ยาก หรือเรียกได้ ว่า
รอจนสายเกินแก้
ที่มาและปั ญหา
ครู ประจาชัน
้ /ครูประจาวิชา
 ขาดทักษะในการจัดการเรี ยนรู้ ให้ นักเรี ยนที่มีความ
ต้ องการพิเศษ
 ขาดทักษะการทางานเป็ นทีมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ อง
 ขาดความตระหนักเกี่ยวกับความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
 มักจะเลือกส่ งต่ อไปรั บบริ การทางการศึกษาพิเศษ
มากกว่ าจะพยายามปรั บการจัดการเรี ยนการสอนของ
ตนเอง
ผลจากงานวิจัย
Brownell et al. (2010); McIntosh el al. (2006)
 ปั ญหาทางการเรี ยนในระดับชัน
้ ประถมปลายและมัธยม
สามารถคาดการณ์ ล่วงหน้ าได้ จากปั ญหาที่เกิดในระดับ
อนุบาลและประถมต้ น
 การที่พบปั ญหาทางการเรี ยนรู้ ตงั ้ แต่ แรกเริ่ มจะช่ วยลด
ปั ญหาการเรียนและปั ญหาพฤติกรรมของเด็กในอนาคต
 การช่ วยเหลืออย่ างมีประสิทธิภาพ และทันท่ วงทีช่วยลด
ผลกระทบที่เกิดจากความบกพร่ องทางการเรี ยนรู้
 ครู ใช้ เวลากว่ า 50% ของการเรี ยนการสอนเพื่อจัดการพฤติกรรมที่ไม่ พึง
ประสงค์ ในชัน้ เรี ยน (Konza,Grainger,
& Bradshaw, 2004)
Trends (แนวโน้ มใหม่ )
 มีเด็กที่มีความบกพร่ องเรี ยนรวมในชัน
้ เรียนทั่วไปมากขึน้
เรื่อยๆ
 2012 ประเทศไทยมีนโยบายพัฒนาโรงเรี ยนต้ นแบบการเรี ยน
รวม
 ค้ นหาเด็กในชัน
้ เรียนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงต่ อปั ญหาทางการ
เรียน หรื อการเรี ยนรู้ โดยไม่ ม่ ุงเน้ นความบกพร่ องหรื อพิการ
 เน้ นวิธีการป้องกันมากกว่ าแก้ ไข
Trends (แนวโน้ มใหม่ )
การจัดบริ การทางการศึกษาพิเศษในปั จจุบัน





มุ่งสู่การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
ไม่ ได้ ม่ ุงเน้ นประเภทความพิการอีกต่ อไป
เน้ นการจัดการเรียนการสอนแบบเน้ นทักษะ
การทางานเป็ นทีมระหว่ างครูท่ วั ไปและครูการศึกษาพิเศษ
ข้ อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนหรือการช่ วยเหลือสาคัญ
กว่ าข้ อมูลเกี่ยวกับความบกพร่ องหรือพิการ (Brownell et al.,
2010)
Trends (แนวโน้ มใหม่ )
การวิจัยทางการศึกษาพิเศษในปั จจุบัน
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
 การจัดการเรี ยนการสอนและการช่ วยเหลือที่มี
ประสิทธิภาพ (effective instruction and intervention)

การเรียนร่ วม (Mainstreaming or Integration)
 การจัดให้ เด็กที่มีความต้ องการพิเศษเข้ าไปในระบบการศึ กษา
ปกติ เปิ ดโอกาสให้ เด็กได้ เรี ยนและทากิจกรรมร่ วมกับเด็ กทั่วไป
โดยมีครู ประจาชัน้ และครู การศึกษาพิเศษร่ วมมือและรั บผิดชอบ
ร่ วมกัน
 จุดมุ่งหมาย

ตอบสนองความจาเป็ นขัน้ พืน้ ฐานและพัฒนาศักยภาพของผู้เรี ยนเป็ น
เฉพาะบุคคล
 การศึกษาพิเศษประเทศไทยในปั จจุบันเป็ นการเรี ยนร่ วมผู้เรี ยนที่
มีความต้ องการพิเศษในโรงเรียนทั่วไปในหลากหลายรูปแบบ
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
(Inclusive Education)
 เรากาลังมุ่งไปสู่การจัดการศึกษาแบบเรี ยนรวม
 การศึกษาสาหรั บทุกคนโดยรั บเข้ ามาเรี ยนรวมกันตัง้ แต่ เริ่ มเข้ ารั บ
การศึ กษา และจัดให้ มีบริ ก ารพิเศษตามความต้ องการของแต่ ละ
บุคคล
 เมื่ อสถานศึ ก ษารั บเด็ก เข้ ามาเรี ย นรวมกั บเด็ก ทั่ว ไป สถานศึ ก ษา
และครู จะต้ องเป็ นผู้รับผิดชอบจัดสภาพแวดล้ อม การจัดการเรี ยน
การสอน หลักสูตร การประเมินผล เพื่อให้ ครู สามารถจัดการเรี ยน
การสอนได้ ตามความต้ องการของผู้เรี ยนเป็ นเฉพาะบุคคล ซึ่งจะทา
ให้ เด็กสามารถพัฒนาตนเองได้ เต็มศักยภาพ
Inclusive School:
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
เด็กพิเศษ
เด็กที่มีภาวะเสี่ยง
เด็กทัวไปและที
่
่มี
ความสามารถพิเศษ
การศึกษาพิเศษ
การจัดการเรียนการสอนปกติ
(มีประสิทธิภาพ) เพิ่มการ
ช่วยเหลือที่จาเป็ น
การจัดการเรียนการสอนปกติ
(ที่ มีประสิทธิภาพ) ส่งเสริม
ความสามารถพิเศษ
หลักการ
 ผูบ
้ ริหาร

นิเทศการสอน ให้ความช่วยเหลือแนะนาและสนับสนุนการเรียนรวม สร้างบรรยากาศ
ในโรงเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่มีขีดจากัดน้ อยที่สดุ
 ครู
รับผิดชอบผูเ้ รียนทุกคน (accountable for all students)
 รู้จก
ั นักเรียนทุกคน สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลนักเรียน
 สอนนักเรียนทุกคนได้ สามารถปรับหลักสูตรและกิจกรรมให้สอดคล้องกับนักเรียนที่มี
ความแตกต่าง

 นักเรียน
เป็ นตัวของตัวเอง รู้จกั ตนเอง รู้ความสามารถของตน มีสิทธิเลือกสิ่งที่เหมาะกับตนเอง
แต่ยงั เคารพกฏระเบียบของโรงเรียนและชัน้ เรียน
 ช่วยเหลือกัน มีส่วนร่วมในชัน
้ เรียน

หลักการ
 สภาพแวดล้อม
 สภาพแวดล้อมที่มีขีดจากัดน้ อยที่สด
ุ
 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
 ปรับหลักสูตรให้เหมาะสมกับผูเ้ รียน
 วิธีการที่ หลากหลายและมีงานวิจย
ั รองรับผล
 สื่อการสอน
 มีความหลากหลาย เหมาะสมกับพัฒนาการ เพศ วัย วัฒนธรรม
สามารถช่วยให้ผเู้ รียนบูรณาการความรู้ ความคิด
ปฏิบตั ิ จริง
พูดแทรก ตะโกน รบกวนชัน้ เรียนไม่
ทางานที่ส่ ัง เล่ น โบก หรือกัดของเล่ น
หรืออุปกรณ์ การเรียน พฤติกรรม
รุ นแรง เช่ น ทาลายข้ าวของ ทาร้ าย
ตนเองและผู้อ่ นื มีความสามารถด้ าน
วาดรูป
นั่งหลับ นั่งเหม่ อ หันไปหันมา
คุยกับเพื่อนข้ างๆ นั่งมองเพื่อน
หรื อครู เล่ นของเล่ นหรื อ
อุปกรณ์ ท่ ีไม่ เกี่ยวกับกิจกรรม
การเรี ยนการสอน เช่ นปั ้นดิน
นา้ มัน ลุกเดินไปมา มีอาการ
ลมชักในชัน้ เรี ยนบ่ อยครั ง้
เกลียดวิชาคณิตศาสตร์ และครู สอน
คณิตศาสตร์ ไม่ ทางานที่ส่ ัง ฉีกสมุด
งานและหนังสือเรียน ลุกออกจากที่ไป
หาของตามพืน้ หันไปมาหรือมอง
เพื่อน แหย่ เพื่อน พูดไม่ สุภาพ มี
ความสามารถด้ านร้ องเพลง
อ่ านหนังสือไม่ ออก ร้ องไห้
ไม่ อยากมาโรงเรียน นั่ง
เหม่ อ นั่งมองเพื่อน ลอก
งานเพื่อน เล่ นของเล่ นหรื อ
อุปกรณ์ ท่ ไี ม่ เกี่ยวกับ
กิจกรรมการเรียนการสอน
แจ่มใส
มีความสามารถพิเศษ
ด้ านคณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์ รักการอ่ าน
ทางานเสร็จก่ อนเพื่อน
ทุกครัง้ เป็ นหัวหน้ าห้ อง
ชอบแสดงออก
การตอบสนองต่ อการเรียนการสอน
Response to Intervention:
RTI คื อ รู ปแบบการให้ การศึ ก ษาที่ สอดคล้ องกั บ ปั ญหา
และความต้ องการของผู้ เรี ยนเป็ นบริ การทางการศึ ก ษา
ประกอบด้ วย
- การสอนที่ มี คุ ณ ภาพ เป็ นวิ ธี ก ารทางวิ ท ยาศาสตร์
- บั น ทึ ก ความก้ าวหน้ าของผู้ เรี ยนเป็ นรายบุ ค คล
- พั ฒ นาผู้ เรี ยนทุ ก คนและใช้ ข้ อมู ล ประกอบการตั ด สิ น ใจ
ให้ บริ การทางการศึ ก ษา
- นาการวั ด ผลและการสอนมาใช้ ร่ วมกั น อย่ างกลมกลื น
ส่ งเสริ มผลสั ม ฤทธิ์ ลดพฤติ ก รรมที่ เป็ นปั ญหา
การตอบสนองต่ อการเรียนการสอน
Response to Intervention (RTI)
 Response = ตอบสนอง
 Intervention = การช่ วยเหลือ
 Instruction = การเรี ยนการสอน
 Intervention = Instruction ใช้ ทงั ้ 2 คา หมายถึง
การตอบสนองต่ อการสอน หรือ การตอบสนองต่ อการช่ วยเหลือ
 Response to Intervention (RTI) เป็ นระบบ กระบวนการใช้
กับนักเรียนทัง้ โรงเรียนไม่ รอให้ เด็กมีปัญหาแล้ วจึงช่ วย
การเรียนการสอนทั่วไป
ความบกพร่ องการเรียนรู้
ไม่ ตอบสนองต่ อการเรียนการสอน
การตอบสนองต่ อการเรี ยนการสอน
Response to Intervention (RTI)
 แนวทางเลือก (alternative approach) ของ
สถานศึกษาเพื่อประเมินผู้เรี ยน ระบุปัญหาที่ชัดเจน
และจัดการศึกษาอย่ างเหมาะสม
 ระดับการให้ ความช่ วยเหลือทางการเรี ยนและ
พฤติกรรมที่เหมาะสมกับความต้ องการพิเศษ
 มุ่งแก้ ปัญหาการเรี ยนการสอนที่ไม่ มีประสิทธิภาพ
การตอบสนองต่ อการเรียนการสอน
Response to Intervention (RTI)
กระบวนการที่เกี่ยวข้ องกับแนวคิด RTI จะต้ องประกอบด้ วย
1. การประเมินความสามารถทางการเรี ยนเพื่อหาภาวะเสี่ยง
2. การจัดการเรี ยนการสอนและการช่ วยเหลือที่เหมาะสม
•
มีประสิทธิภาพและเป็ นประโยชน์
3. การติดตามผลการตอบสนองต่ อการเรี ยนการสอนอย่ าง
ต่ อเนื่อง
วัตถุประสงค์ หลักของ RTI
วัตถุประสงค์ หลักของ RTI คือ
 คาดการณ์ ภาวะเสี่ยงและระบุปัญหาทางการเรี ยนรู้ ตงั ้ แต่
เนิ่นๆ
 ใช้ วธิ ีการจัดการเรี ยนการสอนที่มีงานวิจัยรั บรองว่ าส่ งผล
สัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
 บ่ งชีภ้ าวะความบกพร่ องทางการเรี ยนรู้ เฉพาะด้ าน หรื อ
ความต้ องการพิเศษทางการศึกษา
ขั้นตอนของ
RTI
การช่วยเหลือ
เป็ นเฉพาะบุคคล
(5%)
`
Tier 3 การศึกษาพิเศษ++++
IEP สอนทักษะการเรียนต่างๆ ++++
แผนการจัดการพฤติกรรมและสอนทักษะทาง
สังคม ++++ต่อยอดจากเดิมไปเรื่อย ๆ
คัดกรอง ติดตาม ++ประเมิน
สัปดาห์ละ 2-5 ครัง้ ระยะเวลา 9-12
สัปดาห์ ซ่อมเสริม 3-4 ครัง้ /สัปดาห์ ครัง้
ละ 30-60 นาที ทางานร่วมกับผูป้ กครอง
Tier 2
สอนเป็ นกลุมย
่ อย
่
(15%)
คัดกรอง ติดตาม
การสอนที่มีประสิทธิภาพ ประเมิน
ติดต่อกัน 5-6 สัปดาห์ ประเมินย่อยทุก
สัปดาห์ เพิ่มทักษะทางสังคม ปลูกฝัง
ระเบียบวินัย มีการเสริมแรงเชิงบวก
Tier 1
การจัดการเรียนการสอนที่
เหมาะสมกับผู้เรียนส่วนใหญ/่
สอนเด็กทัง้ ร.ร. (80%)
ขัน้ ที่ 1 –Tier 1
 ให้ การศึกษาแก่ ผ้ ูเรี ยนทุกคนในโรงเรี ยน เป็ นการสอนทัง้ ห้ อง
 ติดตามความก้ าวหน้ าของผู้เรี ยนอย่ างสม่าเสมอ
 ครู กาหนดเนือ้ หาให้ นักเรี ยนทุกคนอ่ าน ใช้ วิธีสอนที่เหมาะสมใน
การสอน
 โรงเรี ยนกาหนดวิธีทดสอบผู้เรี ยน วิธีประเมินความก้ าวหน้ า วิธี
แปลผลความก้ าวหน้ า ใช้ กระบวนการแก้ ปัญหา การตัดสินใจให้
ผู้ปกครองมีส่วนร่ วม ครูทุกคนเป็ นผู้ดาเนินการในขัน้ นี ้
 การประเมินดาเนินการติดต่ อกัน 5-6 สัปดาห์
 ในภาคการศึกษาแรก โรงเรี ยนจัดให้ ผ้ ูเรี ยนทุกคนใน
ระดับชัน้ เดียวกันทาการทดสอบทางวิชาการ
โดยเฉพาะด้ านการอ่ าน และ การคานวณ แล้ วคัด
กรองผู้เรี ยน หรื อ ให้ ผ้ ูปกครองหรื อครู ประจาชัน้
เสนอชื่อ ผู้เรี ยนที่มีภาวะเสี่ยง (at-risk) หรื อพิจารณา
ผลการทดสอบมาตรฐาน (ถ้ าหากว่ ามี)
 จัดการเรี ยนการสอน โดยใช้ วธิ ีสอนที่มีงานวิจัยรับรองผล
และเหมาะสมกับพืน้ ฐานวัฒนธรรมของผู้เรี ยนและความ
แตกต่ างของผู้เรียน
 ผู้เรี ยนที่มีภาวะเสี่ยงเกิดจากการเรี ยนรู้ ไม่ ใช่ ครู หรื อ
วิธีการสอนไม่ เหมาะสม
ขัน้ ที่ 2 –Tier 2
 จัดการสอนเป็ นกลุ่มย่ อยจานวน 2-5 คนตามทักษะ





ความสามารถ
โรงเรียนสนับสนุนบุคลากร สื่อ สิ่งอานวยความสะดวก
การตรวจสอบความก้ าวหน้ า ควรประเมิน 1-3 ครัง้ ต่ อ
สัปดาห์
ระยะเวลาการช่ วยเหลือ ควรใช้ เวลา 9-12 สัปดาห์
การสอนซ่ อมเสริม 3-4 ครัง้ /สัปดาห์ ครัง้ ละ 30-60 นาที
มีการประเมินอย่ างสม่าเสมอ
 ติดตามผลว่ าผู้เรี ยนตอบสนองต่ อการเรี ยนการสอน
อย่ างไร ในขัน้ ตอนนีค้ รูจะติดตามผลการเรียนของผู้เรียนที่
มีภาวะเสี่ยงที่จะมีความบกพร่ องทางการเรียนรู้ อย่ าง
ใกล้ ชิด เช่ น ทาแบบทดสอบทุกๆสัปดาห์ และตรวจสอบ
ว่ าผู้เรียนกลุ่มดังกล่ าวมีปัญหาอะไร
 จัดการเรี ยนการสอนให้ ผ้ ูเรี ยนที่มีภาวะเสี่ยง โดยใช้ วิธีการสอนที่
มีความเข้ มข้ นมากขึน้ มีงานวิจัยรับรองผล และเน้ นพัฒนาทักษะ
ที่ผ้ ูเรียนมีปัญหา หรือสอนวิธีการจัดการเรียนรู้

เช่ น หากผู้เรี ยนมีความบกพร่ องทางการอ่ าน ครู อาจจะใช้ วธิ ีการสอน
อ่ านแบบกลุ่มเล็ก 2-3 คน สัปดาห์ ละ 3 ครั ง้ ๆละ 30 นาที โดยใช้
หลักสูตรหรื อโปรแกรมที่เหมาะสมและมีงานวิจัยรั บรอง
 การจัดการเรี ยนการสอนปรั บเปลี่ยนตามการตอบสนองของ
ผู้เรียน
 มีทม
ี บุคลากรเข้ ามาเกี่ยวข้ องมากขึน้ ทางานร่ วมกับผู้ปกครอง
มากขึน้
 ไม่ ต้องจัดทา IEP หรื อ IIP ขัน
้ ตอนนีไ้ ม่ ใช่ การรับบริการทาง
การศึกษาพิเศษ
ขัน้ ที่ 3 – Tier 3
 ขัน
้ ตอนนีค้ ือกระบวนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
โดยมีครู การศึกษาพิเศษเป็ นผู้รับผิดชอบจัดการเรี ยน
การสอนหรื อให้ ความช่ วยเหลือผู้เรี ยนที่มีความ
บกพร่ องทางการเรี ยนรู้ มีครู ประจาชัน้ และ
ผู้ปกครองเป็ นทีมสนับสนุนรั บทราบและมีส่วนร่ วม
ในกระบวนการทุกอย่ าง
 ติดตามผลว่ าผู้เรี ยนตอบสนองต่ อการเรี ยนการสอนอย่ างไร ใน
ขัน้ ตอนนีค้ รูจะติดตามผลการเรียนของผู้เรียนที่มีความต้ องการ
พิเศษหรือที่มีความบกพร่ องทางการเรียนรู้อย่ างใกล้ ชิดและ
บ่ อยครัง้
 ประเมินความต้ องการพิเศษของผู้เรี ยนรอบด้ าน รวมทัง้ ความ
ต้ องการเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อและบริการอื่นใด
ทางการศึกษา
ขัน้ ตอน
 จัดทา IEP
 จัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ วิธีการสอนที่มีความเข้ มข้ นมาก เน้ น




พัฒนาทักษะที่ผ้ ูเรี ยนมีปัญหา สอนวิธีการจัดการเรี ยนรู้ หรื อ สอน
ทักษะการดารงชีวิต
สอนทักษะเป็ นเฉพาะบุคคล มีแผนการจัดการพฤติกรรมและสอน
ทักษะทางสังคมควบคู่กับการพัฒนาทักษะวิชาการ
มีการทางานร่ วมกับทีมบุคลากรต่ าง ๆ รวมทัง้ ผู้ปกครอง
การจัดการเรียนการสอนปรั บเปลี่ยนตามการตอบสนองของผู้เรี ยน
มีการใช้ เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อและบริการอื่นใดทาง
การศึกษา
RTI กับปั ญหาทางพฤติกรรม






นำมำใช้ กบั ปัญหำทำงพฤติกรรมได้ ทำให้ เด็กมั่นใจ ได้ รับกำรยอมรับ
เมื่ออ่ ำน เขียน เรียนได้ ดีขนึ้
ครู พดู เชิงบวกมำกขึน้ ลดกำรตำหนิ เน้ นจุดเด่ น ลดจุดด้ อย
ระยะที่ 1 ปฏิบัตติ ่ อเด็กทุกคนตำมปกติ สั งเกตพฤติกรรม หำกมีปัญหำ
รีบหำทำงแก้ ไข
ระยะที่ 2 เป็ นกำรจัดกลุ่มเด็กตำมลักษณะของปัญหำ มีกำรแนะแนว
ให้ คำปรึกษำ โดยครู และเพือ่ น
ระยะที่ 3 ช่ วยเหลือรำยบุคคล จัดทำแผนเฉพำะบุคคล
กำรจัดกำรพฤติกรรมเด็กเป็ นสิ่ งสำคัญไม่ ควรปล่ อยทิง้ ไว้ ควร
ช่ วยเหลือแก้ ไข ก่ อนทีเ่ ด็กจะออกสู่ สังคมในอนำคต
กรณีตัวอย่ างการจัดการประเมินตามแนว RTI
 ภูมิกาลังศึกษาอยู่ประถมศึกษาปี ที่ 3 ในโรงเรี ยนประถมศึกษา
แห่ งหนึ่ง
 ครู ให้ ภม
ู ิและเพื่อนๆในห้ องเรี ยนทาการทดสอบอ่ านทุกสัปดาห์
โดยครู จะจับเวลาหนึ่งนาทีแล้ วนับจานวนคาที่อ่านได้ ถกู ต้ อง
 พบว่ าภูมิสามารถอ่ านถูกเพียง 10- 18 คาต่ อนาทีในขณะที่เพื่อน
ในชัน้ เรี ยนอ่ านได้ ถกู ต้ องเฉลี่ยแล้ ว 60 คา
 ครู ประจาชัน
้ จึงขอความร่ วมมือหัวหน้ าระดับชัน้ และครู
การศึกษาพิเศษเพื่อร่ วมกันวิเคราะห์ ปัญหาของภูมิ โดยพิจารณา
จากคาที่มักจะอ่ านผิดบ่ อยๆและพฤติกรรมระหว่ างที่ภมู ิทาการ
ทดสอบ
กรณีตัวอย่ างการจัดการประเมินตามแนว RTI
 เมื่อทราบปั ญหาทีมได้ ตัดสินใจว่ าควรให้ ภม
ู เิ รี ยนเสริ มด้ านการ
อ่ านโดยจะจัดกลุ่มนักเรี ยน 2-3 คนที่มีปัญหาใกล้ เคียงกันมา
เรี ยนอ่ านกับครู ภาษาไทย โดยใช้ แบบฝึ กการอ่ านและวิธีการ
สอนอ่ านที่ใช้ ในชัน้ เรี ยนแต่ จะเน้ นการให้ ผลย้ อนกลับทันทีท่ ี
อ่ านผิด และให้ อ่านซา้ หรื อยกคาที่อ่านผิดมาให้ ภมู ิฝึกสะกด
และออกเสียง
 การช่ วยเหลือด้ านการอ่ านนีใ้ ช้ เวลา 1 ภาคเรี ยน เรี ยนสัปดาห์
ละ 3 ครั ง้ ครั ง้ ละ 30 นาที
การประเมิน
•กำรสอบใดๆ ไม่ ได้ มีควำมหมำยใน
ตัวเองจนกว่ ำจะมีกำรแปลผลไปใช้
เพือ่ พัฒนำผู้เรียน
การตรวจประเมิน
เพื่อจัดการเรี ยนการสอนให้ เหมาะสม
ที่มาและปั ญหา
จะเกิดอะไรขึน้ ถ้ าหากครู สอนอย่ างเดียว
โดยไม่ มีการตรวจประเมิน
Concepts
 การตรวจประเมินในชัน
้ เรี ยน (Classroom assessment)
 กระบวนการรวบรวมข้ อมูล
(colleting data) เกี่ยวกับการเรี ยนรู้ ของ
ผู้เรี ยน โดยใช้
การสอบหรื อทดสอบ Test
การวัดผลเชิงปริ มาณ Measurement
 การประเมิน (Evaluation)
 กระบวนการที่นาข้ อมูลมาใช้ ตด
ั สินใจ
 คัดกรอง
 ติดตามผล
 จัดการศึกษา
เด็กพิเศษ?
ขีเ้ กียจ
Curriculum
ไม่ เก่ ง
หัวช้ า
ความเป็ นจริง
จับใจความจาก
การอ่ านแบบ
ฝึ กอ่ าน
ระดับป.3 ไม่ ได้
Instruction
Test
ทา
อย่ างไร?
หาสาเหตุ
สะกดคาไม่ ได้
ไม่ ร้ ู ศัพท์
ไม่ เข้ าใจ
คาถาม
ไม่ ได้ ฟังคาถาม
ประเมิน
ทางแก้ ไข
ปรั บหลักสูตรและ
วิธีสอน
สอนสะกดคา
สอนคาศัพท์ /
วิธีการจา
สอนการใช้
mindmap
ปรั บการถาม
คาถามใช้ ชัดเจน
ปรั บพฤติกรรม
กระบวนการตรวจประเมินทางการศึกษาพิเศษ
บ่ งชีป้ ั ญหาของผู้เรียนใน 3 ด้ านใหญ่ ๆ
• ด้ านวิชาการ หมายถึง ความบกพร่ องที่เกี่ยวกับการเรี ยนสาระการ
เรียนรู้ตามหลักสูตรซึ่งผู้เรียน โดยเฉพาะอย่ างยิ่งผู้เรียนที่มีความ
บกพร่ องทางการเรียนรู้อาจจะมีปัญหาในวิชาต่ างๆ
• ด้ านพฤติกรรม หมายถึง ปั ญหาทางพฤติกรรม เช่ นการที่ผ้ ูเรี ยน
เข้ ากับเพื่อน ๆ ไม่ ได้ เข้ าร่ วมกิจกรรมของกลุ่มเพื่อนที่มีปัญหา
แยกตัวออกจากสังคม มีพฤติกรรมรบกวนชัน้ เรียน และไม่ อยู่ใน
กฎระเบียบ
• ด้ านร่ างกาย หมายถึง ความบกพร่ องของอวัยวะต่ าง ๆ ทาง
ร่ างกาย เช่ น แขนขาขาด สุขภาพบกพร่ องและเป็ นโรคเรือ้ รัง
ได้ แก่ เบาหวาน หืด และนอกจากนีย้ ังหมายรวมถึง ความบกพร่ อง
ทางการเห็น และการได้ ยนิ
กระบวนการตรวจประเมินทางการศึกษาพิเศษ
 เครื่ องมือสาคัญในการการตัดสินใจจัดการศึกษาให้ เหมาะสมกับ
ความต้ องการพิเศษเฉพาะบุคคล
 ครู จาเป็ นจะต้ องทางานร่ วมกับพ่ อแม่ ผ้ ูปกครอง บุคลากรที่เกี่ยวข้ อง
รวมถึงตัวผู้เรี ยนเองเพื่อทาการทดสอบในรู ปแบบต่ างๆ
 เป็ นทางการ
 ไม่ เป็ นทางการ
 เพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูล ประมวลข้ อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล และนาผล
ของการวิเคราะห์ ข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจวางแผนการจัด
การศึกษาและให้ บริการทางการศึกษาที่เหมาะสมให้ แก่ เด็กที่มีความ
ต้ องการพิเศษเป็ นเฉพาะบุคคล
วัตถุประสงค์ ของ
การตรวจประเมินทางการศึกษาพิเศษ
 เพื่อคัดกรองและบ่ งชีภ้ าวะเสี่ยง
 เพื่อติดตามความก้ าวหน้ า
 เพื่อวางแผนการจัดการศึกษา
เพื่อคัดกรองและบ่ งชีภ้ าวะเสี่ยง
(Screening and Identification)
 เพื่อคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงหรื อมีความบกพร่ อง
ทางการเรียน หรือพฤติกรรม หรือความบกพร่ องเฉพาะ
ด้ านเช่ น การอ่ าน การเขียน หรือ การคานวณ
 จัดทาเมื่อเริ่ มต้ นภาคการศึกษาหรื อเมื่อรั บเด็กเข้ าศึกษา
โดยอาจจะทาเพียง 1-2 ครัง้
เพื่อติดตามและประเมินความก้ าวหน้ า
(Progress Monitoring)
 จัดทาบ่ อยครั ง้ ตลอดภาคการศึกษา เพื่อเก็บข้ อมูล
ความก้ าวหน้ าของเด็ก และการตอบสนองต่ อการเรียน
การสอน
 สามารถจัดเป็ นส่ วนหนึ่งของกิจกรรมการเรี ยนการสอน
แต่ ละครั ง้ หรือในรู ปแบบของ แบบฝึ กหัด
 ครู จะทราบข้ อมูลข้ อผิดระหว่ างการเรี ยนการสอนหรื อ
การทดสอบ ซึ่งอาจจะเกิดจากข้ อจากัดของผู้เรียนหรื อ
อาจจะเกิดจากเนือ้ หา และการเรียนการสอนที่ไม่
เหมาะสมกับผู้เรียนก็เป็ นได้
เพื่อจัดการศึกษาที่เหมาะสม
(Educational Placement)
 จัดทาเมื่อเริ่ มต้ นภาคการศึกษาใหม่ หรื อ เปิ ดภาคการศึกษา
 เพื่อเก็บข้ อมูลความสามารถในปั จจุบน
ั ของเด็ก โดยทาการ
ทดสอบมากกว่ า 2-3 ครัง้
 เพื่อนาข้ อมูลไปใช้ ตด
ั สินใจว่ าเด็กสามารถเรี ยน
ร่ วมได้ มากน้ อยแค่ ไหน และควรปรับหลักสูตรอย่ างไร