ลดขั้นตอน ลดการสูญเสียเวลา การรักษาผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก ด้วย Lean พญ.กรองทอง วงศ์ศรีตรัง

Download Report

Transcript ลดขั้นตอน ลดการสูญเสียเวลา การรักษาผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก ด้วย Lean พญ.กรองทอง วงศ์ศรีตรัง

Lean
ลดขั้นตอน ลดการสูญเสี ยเวลา
การรักษาผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก ด้ วย
Transnasal esophagoscopy (TNE)
29-01-53
พญ.กรองทอง วงศ์ ศรีตรัง
ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา
ที่มา
• ผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูกรายใหม่ เฉลี่ย 50-60 ราย/เดือน
• มะเร็งหู คอ จมูกสัมพันธ์ กับการเกิดมะเร็งที่อ่ ืนร่ วมด้ วย
(second primary cancer) เช่ น ปอด หลอดอาหาร
พบสูงถึงร้ อยละ 14
• โดยเฉพาะมะเร็งช่ องปาก คอหอย และกล่ องเสียง
(oral cavity, oropharynx, hypopharynx, larynx)
ที่มา
• ผู้ป่วยทุกรายจึงต้ องได้ รับการคัดกรองหามะเร็งหลอด
อาหารร่ วมตัง้ แต่ เริ่มแรก
• แนวทางเดิมใช้ วิธีส่องกล้ อง Direct laryngoscopy and
rigid esophagoscope (conventional panendoscopy)
ซึ่งต้ องดมยาสลบ และทาในห้ องผ่ าตัด
จานวนผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูกที่ทา DL esophagoscopy ปี 2551
20
15
10
5
0
จานวนผู้ป่วย เฉลี่ย 14 ราย/เดือน หรือ 165 ราย/ปี
Flow process แบบเก่ า
(ผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก รายใหม่ )
At OPD ENT
1.ยื่นบัตรลงทะเบียน วัด v/s
ตรวจสอบสิทธิ์ 5 (3-5) นาที
2.รอเรียกชื่อ
20 (0-30) นาที
6.พบแพทย์ เพื่ออธิบายระยะ
ของโรคและแผนการรั กษา
10 (10-15) นาที
5.Consult อาจารย์ เพื่อวาง
แผนการรั กษา 7 (5-10) นาที
7.รอพบพยาบาล
5 (3-7) นาที
8.พบพยาบาล นัดนอนรพ.เพื่อทา
D/L esophagoscopy
10 (10-15) นาที
3.พบแพทย์ chief tumor
เพื่อซักประวัติ และดูผลชิน้ เนือ้
7 (5-10) นาที
4.รอคิวส่ องกล้ อง
10 (5-15) นาที
9.เจาะเลือด เอ็กซ์ เรย์ ปอดก่ อน
กลับบ้ าน 20 (10-30) นาที
วันนอนรพ. ที่ OPD
1.ยื่นบัตร ลงทะเบียน
วัด v/s ตรวจสอบสิทธ์
5 (3-15) นาที
8.ไปหอผู้ป่วย
15 (10-20) นาที
2. รอเรี ยกชื่อ
20 (10-30) นาที
7.รอเปล 50
(30-70) นาที
3.พบแพทย์ เพื่อทา
admit 15 (5-20) นาที
6. รอเตียง
120 (5-360) นาที
4.รอพบพยาบาล
7 (5-20) นาที
5.พบพยาบาล
7 (5-20) นาที
วันผ่าตัด
9. รอเปล 50
(30-70) นาที
10. ไป OR
15 (10-20) นาที
11.รอทาผ่ าตัด
40 (20-60) นาที
14. กลับ ward
15 (10-20) นาที
12. ทาผ่ าตัด
30 (30-45) นาที
13. รอเปล 50
(30-70) นาที
ก่ อนการแก้ ไข
ขัน้ ตอน
ระยะเวลา
ค่ าใช้ จ่าย
23
533
7,525
ขัน้ ตอน
นาที
บาท/ราย
Pre-lean
% ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย
ระยะเวลาที่ให้ คุณค่ าโดยเฉลี่ย = 131 x100 = 24.6 %
533
รอบเวลาทัง้ หมดโดยเฉลี่ย
การส่องกล้องด้วยวิธี
Transnasal esophagoscopy (TNE)
• ปั จจุบนั นิยมใช้ มากขึน้ ในการคัดกรองหามะเร็งหลอด
อาหารในผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก
• ซึ่งพบว่ ามีความแม่ นยา สูงถึง 100% ในการวินิจฉัยโรค
เปรียบเทียบกับ conventional panendoscopy
(laryngoscope 2002, 112:2242-3)
การส่องกล้องด้วยวิธี
Transnasal esophagoscopy (TNE)
• ข้ อดี
• วิธีการทา
– Flexible fiberoptic endoscope
– มีขนาดเล็ก เส้ นผ่ านฯ 5.1 มม.
ความยาว 60 ซม.
– ทาได้ เลยที่ OPD
– ไม่ ต้อง sedate ผู้ป่วย
– ระยะเวลาส่ อง ไม่ เกิน 20 นาที
– ภาวะแทรกซ้ อนน้ อย
–
–
–
–
–
ให้ ผ้ ูป่วยนั่งตัวตรง
กินยาชา 4% xylocaine 5mL.
พ่ นยาชาเข้ าจมูก (4% ephridine)
พ่ นยาชาในคอ (4% xylocaine)
รอ 3-5 นาที แล้ วค่ อยสอดสายเข้ าทาง
จมูก ส่ องลงไปถึง GEJ ได้
– สามารถ insufflation, irrigation และ
biopsy ได้
Flow process แบบใหม่
OPD ENT
1.ยื่นบัตร ลงทะเบียน
วัด v/s ตรวจสอบสิทธิ์
5 (3-5) นาที
6.Consult อาจารย์
วางแผนการรักษา
10 (10-15) นาที
7.พบแพทย์ เพื่ออธิบายระยะ
ของโรคและการรักษา 10
(10-15) นาที
(ผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก รายใหม่ )
2.รอเรียกชื่อ
20 (0-30) นาที
5.ส่ องกล้ อง TNE
15 (10-20) นาที
3.พบแพทย์ chief tumor
ซักประวัติ และดูผลชิน้ เนือ้
7 (5-10) นาที
4.รอคิวส่ องกล้ อง
20(20-30) นาที
9.พบพยาบาล นัดวันนอนรพ.กรณี
8.รอพบพยาบาล
5 (3-7)นาที
ผ่ าตัด หรือส่ งปรึกษารังสี/เคมีบาบัด/ทา
ฟั น 10 (10-15) นาที
10.เจาะเลือด เอ็กซ์ เรย์
ปอดก่ อนกลับบ้ าน
20 (10-30) นาที
หลังการแก้ ไข
ขัน้ ตอน
ระยะเวลา
ค่ าใช้ จ่าย
10
122
1,300
ขัน้ ตอน
นาที
บาท/ราย
Post-lean
% ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย
ระยะเวลาที่ให้ คุณค่ าโดยเฉลี่ย = 77 x100 = 61.1 %
รอบเวลาทัง้ หมดโดยเฉลี่ย
122
จานวนผู้ป่วยมะเร็งที่ทา DL esophagoscopy ปี 2551-2552
20
15
10
5
0
เริ่มทา TNE ประมาณ พ.ค.-ธ.ค. 52
จานวนผู้ป่วยโดยเฉลี่ย ลดลงเหลือ 4 คน/เดือน
วิเคราะห์เปรียบเทียบ Pre and Post-Lean
Direct larygoscope Rigid
esophagoscope
หัวข้อความสูญเปล่า
Transnasal
Esophagoscope
Pre-lean
Post-lean
เปรียบเทียบ
Process
23
10
13
Total turn around time
(min.)
Waiting time (min.)
533
122
411
372
45
327
Cost /case
7,525
1,300
6,225
% ประสิทธิภาพ
24.6%
61.1%
36.5%
วิเคราะห์เปรียบเทียบ Pre and Post-Lean
TNE
D/L Esophagoscope
หัวข้อ
Pre-lean
Post-lean
Quality
Rigid endoscope
(direct laryngoscope,
rigid esophagoscopy
Flexible endoscope
บริเวณ postcricoid และ
pyriform ประเมินได้ยากกว่า
Delivery
แพทย์ ENT ทาได้เอง
แพทย์ ENT ทาได้เอง
Safety
เสียงต่อการดมยาสลบ และหลอด
อาหารทะลุจากการส่องแบบ rigid
endoscope
ภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่า
Moral &Ethic
การรักษาล่าช้า โรคแย่ลงเร็ว
รักษาโรคได้รวดเร็วขึน
้
Others
-หลายขั้นตอน
-ต้องรอคิวผ่าตัดนาน
-ทาให้ผู้ป่วย loss F/U มาก
-ต้องนอนรพ.อย่างน้อย 2คืน
-ทาได้เลยที่ OPD
(one-stop service)
-ผู้ป่วย loss F/U น้อยกว่า
-ไม่ตอ
้ งการนอนรพ.
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
 ใช้ การส่ องกล้ องด้ วยวิธี TNE เพื่อคัดกรองหามะเร็งหลอด
อาหารร่ วม ในผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูกรายใหม่ ทุกราย
 ลดการสูญเสียเวลา และขัน้ ตอนก่ อนการรั กษาของผู้ป่วย
 ลดค่ าใช้ จ่ายของผู้ป่วยและญาติ
 ลดอัตราการใช้ เตียงนอนของรพ.
 ใช้ ห้องผ่ าตัดของรพ.อย่ างมีประสิทธิภาพมากขึน้
ปัญหาที่พบระหว่างการทา Lean
• แพทย์ แต่ ละคน ตัดสินใจไม่ เหมือนกันว่ าต้ องทาหรือไม่ ทา TNE
• Learning curve
แนวทางแก้ไข
• จัดทาเป็ น management guideline ผู้ป่วยมะเร็งหู คอ
จมูกรายใหม่ เพื่อให้ แพทย์ ทุกคนมีแนวทางการปฏิบัตไิ ปใน
แนวทางเดียวกัน
แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก รายใหม่
ผู้ป่วยมะเร็งหู คอ จมูก ทีม่ ผี ลชิ้นเนื้อยืนยันว่าเป็ นมะเร็งแล้ ว
ส่ งพบแพทย์ chief tumor
ซักประวัติ ตรวจร่ างกายทางหู คอ จมูก และลงผลชิ้นเนื้อในใบ TC
ส่ องกล้อง อัดวิดโี อ และส่ องตรวจ TNE *, **
ปรึกษาอาจารย์เพื่อวางแผนการรักษา
• กาหนดวันเข้ า tumor conference
• นัดวันฟังผลการประชุ ม, work up lab และ imaging หรื อ นัดนอนรพ.
ได้ เลยกรณีต้องผ่าตัด
• บันทึกรายละเอียดของโรคและแผนการรักษาลงในแบบฟอร์ มผู้ป่วยมะเร็ง
* ส่อง TNE เฉพาะผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก ช่องคอ คอหอยส่วนล่าง
กล่องเสียง และ neck node unknown primary
** ข้อระวังในการทา TNE
– ผู้ป่วย impending airway
– ก้อนมะเร็งขนาดใหญ่ เสี่ยงต่อการเกิด airway obstruction
– ผู้ป่วยมะเร็งบริเวณ postcricoid หรือ pyriform ที่ต้องการดู
ตาแหน่งของก้อน ซึ่งมีผลต่อการวางแผนการรักษา
– ผู้ป่วยปฏิเสธการทา TNE
Thank you