บทที่ 5 ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System) ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System) การย่ อยอาหาร (Digestion) สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความต้ องการหาอาหารเพื่อให้ ตนเองสามารถดารงชีพอยู่บนโลกได้ ดังนัน้ เราสามารถจะจาแนกสิ่งมีชีวิตตามการจัดหาอาหารออกเป็ น 2 พวกใหญ่ ๆ.

Download Report

Transcript บทที่ 5 ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System) ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System) การย่ อยอาหาร (Digestion) สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความต้ องการหาอาหารเพื่อให้ ตนเองสามารถดารงชีพอยู่บนโลกได้ ดังนัน้ เราสามารถจะจาแนกสิ่งมีชีวิตตามการจัดหาอาหารออกเป็ น 2 พวกใหญ่ ๆ.

บทที่ 5
ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System)
1
ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System)
2
การย่ อยอาหาร (Digestion)
สิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีความต้ องการหาอาหารเพื่อให้ ตนเองสามารถดารงชีพอยู่บนโลกได้
ดังนัน้ เราสามารถจะจาแนกสิ่งมีชีวิตตามการจัดหาอาหารออกเป็ น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
1. Autotroph คือสิง่ มีชีวิตที่สามารถสร้ างอาหารเองได้ จากสารอนินทรี ย์ ได้ แก่ การ
สังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) เช่นพวกพืชสีเขียวต่าง ๆ ได้ พลังงานในการ
สังเคราะห์ด้วยแสงโดยใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์ และการสังเคราะห์ด้วยปฏิกิริยาเคมี
(Chemosynthesis) เช่น ในแบคทีเรี ยบางชนิด อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยาเคมี
2. Heterotroph คือสิง่ มีชีวิตที่สร้ างอาหารเองไม่ได้ ได้ แก่ พวกสัตว์ได้ อาหารจากสิ่งที่สร้ าง
มาแล้ ว เราสามารถแบ่งชนิดของสัตว์ตามเกณฑ์ตา่ งๆ ได้ ดงั นี ้
แบ่ งตามชนิดของอาหารที่กนิ เข้ าไป
Herbivore สัตว์กินพืช เช่น กระต่าย กอริลลา วัว หอยทาก เป็ นต้ น
Carnivore สัตว์ที่กินเนื ้อ เช่น เสือ แมว ฉลาม
Omnivore สัตว์ที่กินทังพื
้ ชและสัตว์ เช่น แมลงสาบ อีกา และคน
3
ประเภทของการย่ อยอาหาร
1. การย่ อยภายในเซลล์ (Intracellular digestion) คือ การที่เซลล์
นาอาหารเข้ าไปภายในจนทาให้ เกิดถุงอาหาร (Food vacuole)แล้ วใช้ นาย่อยย่อยอาหารในเซลล์นนั ้
2.การย่ อยภายนอกเซลล์ (Extracellular digestion) คือ การที่
เซลล์ขบั น ้าย่อยออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์จนกลายเป็ นโมเลกุลเล็ก ๆ แล้ วดูดซึมไปใช้ ประโยชน์ต่อไป4
ประเภทของทางเดินอาหาร
1.ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract)
ประกอบด้ วยช่องเปิ ด 2 ช่อง ทาหน้ าที่เป็ นปากและทวาร
หนักตามลาดับ
2.ทางเดินอาหารแบบไม่ สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract)
ประกอบด้ วยช่องเปิ ดเพียง 1 ช่อง คือ อาหารเข้ าทางปากและ
กากอาหารออกทางเดียวกัน
5
ภาพแสดงประเภทของทางเดินอาหาร
6
หน้ าที่ของทางเดินอาหาร แบ่ งออกเป็ น 4 ประการ คือ
1. การกิน (Ingestion) เป็ นการนาอาหารเข้ าร่างกาย
2. การย่ อยอาหาร (Digestion) เป็ นการทาให้ ได้ สารอาหารเพื่อนาไปใช้ ได้
3. การดูดซึม (Absorption) เป็ นการนาสารอาหารโมเลกุลเล็กเหล่านัน้ เข้ าสู่
เซลล์ เพื่อเข้ าสูร่ ะบบไหลเวียนต่อไป
4 .การขับออก (Elimination หรือ Egestion) โดยจะขับสารที่ยอ่ ยไม่ได้
ออกเป็ นกากอาหาร
7
ภาพแสดงหน้ าที่ของทางเดินอาหาร
8
หน้ าที่เหล่ านีจ้ ะสาเร็จได้ ต้องมี 3 กระบวนการนี้
1.การเคลื่อนไหว (Motility)
เป็ นการคลุกเคล้ าอาหารและผลักอาหารให้ เคลื่อนไปตามทางเดินอาหาร
2.การหลั่ง (Secretion)
เป็ นการหลัง่ น ้าย่อยจากต่อมมีทอ่ ตามทางเดินอาหาร
3.การขนส่ ง (Membrane transport)
เป็ นกลไกการดูดซึมสารอาหาร รวมถึงการขนส่งไปยังเส้ นเลือดหรื อท่อ
น ้าเหลือง
9
ขัน้ ตอนของการย่ อยอาหาร
1.การย่ อยเชิงกล (Mechanical digestion)
เป็ นการย่อยอาหารโดยการบดหรื อเคี้ยวเพื่อให้อาหารมีขนาดเล็กลง
เช่นใน vertebrate ใช้ฟันบดเคี้ยว ในไส้เดือนดินใช้กนึ๋ (Gizzard)
บด เป็ นต้น
2. การย่ อยเชิงเคมี (Chemical digestion)
เป็ นการย่อยอาหาร โดยใช้น้ าย่อย หรื อเอนไซม์ (Enzyme) เข้าช่วย
เพื่อให้อาหารมีโมเลกุลเล็กที่สุด แล้วจึงทาการดูดซึมเข้าสู่ เซลล์ได้
10
การย่ อยอาหารของจุลินทรี ย์
ดารงชีวติ เป็ นผูย้ อ่ ยสลายสารอินทรี ยใ์ นระบบนิเวศสิ่ งมีชีวติ เหล่านี้ส่วนใหญ่ จะมีการย่อยอาหาร
โดยปล่อยเอนไซม์ออกมานอกเซลล์ เพื่อย่อยสารอินทรี ย ์ จนเป็ นสารอาหารโมเลกุลเล็ก
(Extracellular digestion) แล้วจึงดูดซึ มเข้าสู่ เซลล์
11
การย่ อยอาหารของอะมีบา
-มีการนาอาหารเข้ าสู่เซลล์ ร่างกายโดยตรง
-ย่ อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion)
-เคลื่อนย้ ายสารอาหารที่ย่อยได้ จาก food vacuole สู่ไซโตพลาสม
-ขับกากอาหารออกทาง anal pore
12
การย่ อยอาหารของพารามีเซียม
-มีการนาอาหารเข้ าสู่เซลล์ ร่างกายโดยตรง
-ย่ อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular
digestion)
-เคลื่อนย้ ายสารอาหารที่ย่อยได้ จาก food
vacuole สู่ไซโตพลาสม
-ขับกากอาหารออกทาง anal pore
13
การย่ อยอาหารของสัตว์ ท่ ไี ม่ มีทางเดินอาหาร
ฟองนา้ (Spongy)
ฟองน้ ากินอาหารโดยการจับอนุภาคอาหารขนาดเล็กที่ปะปนอยูใ่ นน้ าทะเล
ซึ่งถูกพัดพาผ่านรู เล็ก ๆ ของช่องน้ าเข้า ถูกกรองเข้าไปในตัวฟองน้ า โดย
เซลล์ที่มีแฟลกเจลลัมซึ่งเรี ยกว่า โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกน้ าผ่าน
เข้ามาและใช้เมือกจับอนุภาคอาหารนั้น แล้วใช้กระบวนการฟาโกไซโทซิส
จับอาหารเข้าเซลล์พร้อมกับสร้างฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) อาหารจะ
ถูกย่อยและส่ งไปตามส่ วนต่าง ๆ โดยเซลล์ อะมีโบไซต์ (Amoeocyte)
14
ภาพแสดงการกินอาหารของฟองน้า
15
Intracellular and extracellular digestion
- พบในหนอนตัวแบน(พลานาเรี ย) และ cnidarians(เช่น แมงกะพรุน, ไฮดรา)
-มี gastrovascular cavity ที่เป็ นช่ องสาหรั บนา้ ,
อาหาร และอากาศเข้ าสู่ร่างกาย
-ทางเข้ าและออกของอาหารเป็ นทางเดียวกัน
(incomplete digestive tract)
-หลังจากอาหารเข้ าสู่ gastrovascular cavity
จะมีการปล่ อยเอนไซม์ จากเซลล์ ออกมาย่ อย
เรี ยกการย่ อยนีว้ ่ า extracellular digestion
-อาหารที่ย่อยแล้ วยังมีขนาดใหญ่ อยู่ จะถูก
นาเข้ าสู่เซลล์ โดยวิธี phagocytosis
และย่ อยต่ อไป
16
ขัน้ ตอนการย่ อยแบบ extracellular digestion ในไฮดรา
17
18
พลานาเรีย (Planaria)
เป็ นสัตว์พวกหนอนตัวแบนชนิดหนึ่งที่ดารงชีพอิสระ จับเหยื่อโดยการปล่อย
เมือกออกมาและใช้ลาตัวคลุมลงบนตัวเหยือ่ เหยือ่ จะถูกเมือกพันตัวทาให้
เคลื่อนไหวไม่ได้ และจะใช้งวงหรือฟาริงซ์ ยนื่ ออกมาดูดของเหลวในตัวเหยือ่
เป็ นอาหาร หรื อกลืนเหยือ่ เข้าไปช่ องแกสโทรวาสคิวลาร์ ที่แตกแขนงทอดยาว
ไปตามลาตัว เซลล์ต่อมที่อยูต่ ามผนังทางเดินอาหารจะปล่อยเอนไซม์ออกมา
ย่อยอาหาร และชิ้นส่ วนที่ยอ่ ยแล้วจะมีเซลล์ที่ผนังทางเดินอาหารโอบล้อม
อาหารเข้าไปย่อยภายในเซลล์ต่อ ส่ วนกากอาหารที่ยอ่ ยไม่ได้กจ็ ะกลับออกมา
ทางปาก (ภาพที่ 1.9)
19
ภาพแสดงลักษณะทางเดินอาหารของพลานาเรีย
20
พยาธิใบไม้ (Fluke)
เป็ นสัตว์กลุม่ เดียวกับหนอนตัวแบน มีทางเดินอหารคล้ ายพลานาเรี ยมีปากไม่มี
ทวารหนักลักษณะทางเดินอาหารไม่มีกิ่งก้ านสาขามากบริ เวณส่วนหัวมี
อวัยวะดูดเกาะ (Oral sucker) ใช้ ดดู เลือดจากเหยื่อเข้ าปาก ต่อจากปากเป็ น
คอหอยและลาไส้ แยกออกเป็ นแขนง กาย่อยอาหารเป็ นการย่อยแบบภายในเซลล์
21
พยาธิตัวตืด (Tape worm)
เป็ นสัตว์กลุ่มเดียวกับหนอนตัวแบน บริ เวณส่ วนหัวมีอวัยวะ
ดูดเกาะหลายอันอยูร่ อบ ๆ ส่ วนหัว เรี ยกว่า สโคเล็กซ์
(Scolex) ไม่ มที างเดินอาหารจึงต้องดูดซึมสารอาหารที่ยอ่ ย
แล้วจากทางเดินอาหารของผูถ้ ูกอาศัย (Host) เข้าสู่ ร่างกาย
โดยไม่ตอ้ งย่อย(ภาพที่ 1.11)
22
ภาพแสดงโครงสร้ างของพยาธิตัวตืด
23
การย่ อยอาหารของสั ตว์ ทมี่ ีทางเดินอาหารสมบูรณ์
หนอนตัวกลม (Nematode)
เป็ นสั ตว์ พวกแรกทีม่ ีทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้วย ปาก (Mouth)
คอหอย(Pharynx) ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นท่อยาวที่มีกล้ามเนื้อบุผนังหนามาก ช่อง
ภายในค่อนข้างแคบ การบีบตัว การคลายตัวของกล้ามเนื้อบุผนังฟาริ งซ์ จะทา
ให้เกิดแรงดูด ทาให้อาหาร เคลื่อนเข้าสู่ ลาไส้ (Intestine) ซึ่งเป็ นท่อยาวมีลิ้น
ปิ ดเปิ ดระหว่างลาไส้กบั คอหอย การย่อยอาหารและดูดซับอาหารเกิดขึ้นภาย
ในลาไส้ การย่อยอาหารเป็ นการย่อยแบบภายนอกเซลล์ จากนั้นขับกากออก
ทางทวารหนัก (Anus) (ภาพที่ 1.12) สาหรับหนอนตัวกลมที่เป็ นปรสิ ต มักจะ
กินเนื้อเยือ่ ต่าง ๆ หรื อกินอาหารที่ยอ่ ยแล้วของผูถ้ ูกอาศัย
24
ภาพที่แสดงลักษณะทางเดินอาหารของหนอนตัวกลม
ปาก
คอหอย
ลาไส้เล็ก
ไส้ตรง
ทวารหนัก
25
ภาพที่แสดงลักษณะทางเดินอาหารของหนอนมีปล้ อง
-มีทางเปิ ดของปาก(mouth)และ
ทวารหนัก(anus)
แยกกันเรี ยก complete
digestive tract หรื อ
alimentary canal
-crop และกระเพาะอาหารทา
หน้ าที่เก็บอาหาร
(บางครั ง้ อาจมีการย่ อย)
-gizzard ทาหน้ าที่บดอาหาร
Extracellular digestion in complex animals
พบในสัตว์ ส่วนใหญ่ ตัง้ แต่ หนอนตัวกลมจนถึงสัตว์ มีกระดูกสันหลัง
26
27
แมลง (Insect)
ทางเดินอาหารคล้ายกับพวกแอนเนลิด แต่อวัยวะต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปบ้าเพื่อ
เพิ่มประสิ ทธิภาพในการกินอาหาร หรื อเพื่อให้เหมาะกับชนิดของอาหาร เช่น
ปากของแมลง มีหลายชนิด มักใช้ นา้ ลายในการดูดอาหาร โดยยุง
ใช้น้ าลายพ่นใส่ เลือดเพื่อไม่ให้เลือดแข็งตัว ยุงจึงดูดไปใช้ได้ ผีเสื้ อดูน้ าหวาน
โดยใช้งวงซึ่งม้วนเป็ นวงดูดเข้าไป ส่ วนแมลงวันปล่อยน้ าลายออกมาละลา
อาหารแล้วจึงดูดอาหารเข้าปาก จึงเห็นได้วา่ การทาให้อาหารเปลี่ยนสภาพมี
ขนาดเล็กลงนั้นเริ่ มต้นที่ปาก
28
ภาพที่ 1.14 แสดงลักษณะปากของแมลงชนิดต่ าง ๆ
29
หากนาตัก๊ แตนมาผ่าดูทางเดินอาหาร จะพบว่าประกอบด้วยปาก (Mouth) ถัดไปเป็ นคอ
หอย(Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) เป็ นทางเดินอาหารที่ค่อย ๆ พองออกจนเป็ นถุง
ใหญ่เรี ยกว่า ถุงพักอาหาร (Crop) สองข้างของหลอดอาหารมีต่อมนา้ ลาย(Salivary gland)
สี ขาว รู ปร่ างคล้ายกิ่งไม้ ส่ วนปลายของถุงพักอาหารนี้มีกระเปาะแข็ง ๆ เรี ยกว่าโปรเวนตริ
คูลสั หรื อกึน๋ (Proventiculus หรือ Gizzard) ภายในมีหนามแหลม ๆ ยืน่ ออกไปรวมกัน
ตรงกลางมีไว้เพื่อใช้กรองอาหาร ส่ วนที่ต่อกับกึ๋นมีถุงเล็ก ๆ รู ปร่ างคล้ายนิ้วมือ 8 ถุง
เรี ยกว่า แกสตริกซีกา (Gastric ceca) เชื่อกันว่าทาหน้าที่สร้างน้ าย่อย ช่วงนี้จะต่อกับ
ทางเดินอาหารส่ วนกลาง (Mid gut) ตอนกลางของลาตัวจะมีอวัยวะกาจัดของเสี ย เรี ยกว่า
หลอดมัลพิเกียน (Malpighian tubule) เป็ นเส้นฝอยบาง ๆ สี เหลืองอยูก่ นั เป็ นกระจุก
ถัดไปเป็ นโคลอน (Colon) เป็ นส่ วนหนึ่งของลาไส้ใหญ่ ส่ งกากอาหารไปยังไส้ ตรง
(Rectum) แล้วจึงเปิ ดออกที่ทวารหนัก (Anus) (ภาพ)
30
ภาพแสดงลักษณะทางเดินอาหารของตั๊กแตน
31
32
ปลา (Fish)
• เป็ นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ปลากินอาหารหลากหลายชนิด สามารถแยก
ออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ แพลงก์ ตอน พืช สั ตว์ ปลาที่กินอาหารแต่ละชนิด
จะมีความแตกต่างของอวัยวะย่อยอาหารตั้งแต่ลกั ษณะของปาก ฟัน และ
ทางเดินอาหาร
• ปลาที่กนิ แพลงก์ตอนเป็ นอาหาร ตัวอย่างเช่นปลาทู (Reatrelliger spp.) ปลา
อกแล (Sardinella spp.) ปลาแป้ น (Leiognathus spp.) ปลาเหล่านี้มีฟันขนาด
เล็กมาก หรื อไม่มีฟันเลย นอกจากนั้นขากรรไกรก็ไม่แข็งแรง ปลาแป้ นมีปาก
ขนาดเล็ก แต่ยดื ออกไม่ได้ ส่ วนปลาปากแตร (Fistularidae) ปากคล้ายหลอด
ดูด สาหรับดูดกินแพลงก์ตอน
33
• ปลาตะเพียนปลาในมีฟันบดบริ เวณคอหอยสาหรับบดพืชน้ าหรื อสาหร่ ายที่กินเข้าไปให้
ละเอียด
• ปลาพวกมีปากแข็งแรง เช่น ปลกนกแก้ว ปลาสลิดหิ น มีฟันขุดมีลกั ษณะคล้าจะงอยปากนก
เพื่อใช้ขดุ กินสาหร่ ายที่อยูใ่ นหิ นปะการัง
• สาหรับปลาล่าเหยือ่ เช่น ปลาอินทรี ย ์ ปลาปากคม ส่ วนมากมีขากรรไกรทั้งล่างและบน
แข็งแรงดี มีฟันแหลมคม มองเห็นได้ชดั เจน ปลาพวกนี้จบั เหยือ่ ทีละตัวพวกปลากระเบน มี
ฟันแผงแข็งแรง จนสามารถใช้ขบเปลือกหอยให้แตกเพื่อกินเนื้อหอย
• สาหรับทีพ่ นื้ ปากมีลนิ้ ขนาดเล็กมาที่ไม่ใช้งาน ทาหน้าที่รับสัมผัสอาหาร เมื่ออาหารเข้าปาก
แล้วก็จะเคลื่อนผ่านคอหอยหลอดอาหาร กระเพาะอาหารลาไส้ ไพโลริ กซี กา (Pyloric ceca)
พบเฉพาะปลากินเนื้อ และออกมาทางทวารหนัก โดยการย่อยอาหาร จะอาศัยต่อมสร้าง
น้ าย่อย ที่ประกอบด้วย ตับ(Liver) ซึ่ งมีถุงนา้ ดี(Gall bladder) เก็บน้ าดี และตับอ่อน
(Pancreas) สร้างน้ าย่อย
34
ภาพแสดงลักษณะทางเดินอาหารของปลา
35
นก (Bird)
• นกกินอาหารที่มีพลังงานสูงและมีการย่อยอาหารอย่างรวดเร็ ว นกไม่ มีฟัน
และต่ อมนา้ ลายเจริญไม่ ดี แต่สามารถสร้างเมือกสาหรับคลุกเคล้าอาหาร
และหล่อลื่น ลิ้นมีต่อมรับรสน้อยแต่กร็ ับรสได้บา้ ง คอหอยสั้น หลอด
อาหารค่อนข้างยาวมีผนังกล้ามเนื้อตอนปลายมีกระเพาะพักอาหาร
(Crop) มีหน้าที่เก็บอาหาร และนาไปย่อยในกระเพาะอาหาร (Stomach
หรือ Proventriculus)
• สร้างน้ าย่อย ถัดไปเป็ นกระเพาะบดหรือกึน๋ (Gizzard) มีกล้ามเนื้อหนา
ผนังด้านในเป็ นสันใช้บดอาหาร นอกจากนี้นกยังมีการกลืนก้อนกรวด
ขนาดเล็กเข้าไปช่วยในการบดอาหาร ถัดไปเป็ นลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ และ
โคลเอกา
(ภาพที่ 1.17)
36
ภาพที่ 1.17 แสดงลักษณะทางเดินอาหารของนก
37
38
การย่ อยอาหารในกระเพาะอาหารของสัตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
1)เริ่มแรกวัวจะเคีย้ วและ
กลืนหญ้ า ในรู ปของbolus
เข้ าสู่rumen
4)วัวจะกลืนcudจาก(3)กลับเข้ าสู่กระเพาะ
ส่ วน omasum ที่มีการดูดนา้ กลับ
2)bolusบางส่ วนอาจเคลื่อนเข้ าสู่
reticulum ทัง้ rumenและreticulum
มีsymbiotic prokaryotesและ
protistsทาหน้ าที่ย่อยเซลลูโลส
และหลั่งกรดอะมิโนออกมา
3)อาหาร(cud)บางส่ วนจาก(2)จะ
ถูกนากลับออกมาเคีย้ วใหม่
5)cudที่มีปริมาณจุลินทรีย์มากๆ จะเคลื่อนสู่กระเพาะส่ วน abomasum กระเพาะส่ วนนีม้ ีการ
หลั่งเอนไซม์ ออกมาย่ อยอาหาร ดังนัน้ อาจถือได้ ว่าส่ วนนีเ้ ป็ นกระเพาะอาหารที่แท้ จริง
39
และ 3 ส่ วนแรกถือเป็ นส่ วนขยายของหลอดอาหาร
กระเพาะอาหารของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
1. รูเมน (Rumen) หรือกระเพาะผ้ าขีร้ ิ้ว
40
2. เรติควิ ลัม (Reticulum) หรือกระเพาะรังผึง้
41
3.โอมาซัม (Omasum)หรือกระเพาะสามสิ บกลีบ
42
4. แอบโอมาซัม (Abomasum) กระเพราะแท้ จริง
43
ภาพแสดงลักษณะกระเพาะอาหารของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง
44
กระบวนการกินอาหาร (food processing) ประกอบด้ วย
1. Ingestion (การกิน)
การนาอาหารเข้ าสู่ร่างกาย
2. Digestion (การย่ อย)
การทาให้ อาหารที่กินเข้ า
ไปมีขนาดเล็กลง
2.1 Mechanical digestion
-การเคีย้ ว
2.2 Chemical digestion
-การย่ อยโดยเอนไซม์
3. Absorption (การดูดซึม)
4. Elimination (การขับออก)
45
ระบบทางเดินอาหารของคน
ประกอบด้ วย
1. ช่ องปาก (oral cavity)
2. คอหอย (pharynx)
3. หลอดอาหาร
(esophagus)
4. กระเพาะอาหาร
(stomach)
5. ลาไส้ เล็ก
(small intestine)
6. ลาไส้ ใหญ่
(large intestine or colon)
7. ลาไส้ ตรง (rectum)
8. ทวารหนัก (anus)
46
ช่ องปาก (oral cavity)
-ในช่ องปากมีต่อมนา้ ลาย 3 คู่
-นา้ ลายประกอบด้ วยสารไกลโคโปรตีน
ที่มีลักษณะลื่น เรี ยก mucin มีบทบาท
ในการทาให้ อาหารลื่น กลืนง่ าย
ป้องกันเยื่อบุช่องปากและฟั นไม่ ให้ ุุ
-ในนา้ ลายมีนา้ ย่ อย amylase
สาหรั บย่ อยแป้งและไกลโคเจน
-ลิน้ ในช่ องปากทาหน้ าที่คลุกเคล้ า
อาหารให้ เป็ นก้ อนเรี ยก bolus
47
The major salivary glands
48
ฟัน
• ฟันแต่ ละซี่มี 2 ส่ วน คือ ตัวฟัน (crown) และรากฟัน (root)
• ส่ วนนอกสุ ดของตัวฟัน คือ สารเคลือบฟัน ( enamel)
• ถัดมาเป็ นชิ้นเนือ้ ฟัน ( dentine) และโพรงฟัน ( pulp cavity )
ส่ วนประกอบต่ างๆ ของฟัน
49
ต่ อมนา้ ลาย
•
•
•
•
•
มี 3 คุ่ อยูข่ า้ งกกหู ใต้ลิ้น และใต้ขากรรไกร
ผลิตน้ าลายวันละประมาณ 1-1.5 ลิตร
น้ าลายมีน้ าเป็ นองค์ประกอบร้อยละ 99.5 มี pH 6.2-7.4
มีส่วนประกอบที่เป็ นเมือก ทาหน้าที่หล่อลื่นอาหาร
มีเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ ง
50
คอหอยและหลอดอาหาร(pharynx and esophagus)
1.เมื่อไม่ มีอาหาร
esophageal
sphincterหดตัว
epiglottisยกขึน้
glottisเปิ ด
-ทางเดินหายใจเปิ ด
-ทางเดินอาหารปิ ด
2.เมื่ออาหารมาถึงคอ
หอยจะกระตุ้นการกลืน
กล่ องเสียง(larynx)และ
glottisยกตัวขึน้ epiglottis
เคลื่อนตัวลงมาปิ ด
-ทางเดินหายใจปิ ด
-ทางเดินอาหารเปิ ด
3.esophageal sphincter
คลายตัวอาหารเคลื่อนสู่
หลอดอาหาร
4.กล้ ามเนือ้ หด-คลายตัวเป็ น
จังหวะ(peristalsis)ดันอาหาร
จากหลอดอาหาร
สู่กระเพาะอาหาร
51
การย่ อยอาหารในช่ องปากของคน
52
การย่ อยอาหารในกระเพาะอาหาร
• อยูภ่ ายในช่องท้องด้านซ้าย ใต้กระบังลม
• มีผนังกล้ามเนื้อหนา แข็งแรงมาก ยืดหยุน่ ได้ดี
• ขยายความจุได้ถึง 500-2,000 ลบ.ซม.
• มีกล้ามเนื้อหูรูด 2 แห่ง คือ ติดกับหลอดอาหาร
และบริ เวณต่อกับลาไส้เล็ก
• ผนังด้านในของกระเพาะอาหารบุดว้ ยเซลล์บุผิว 3 ชนิด
53
กระเพาะอาหาร (stomach)
54
กระเพาะอาหาร(stomach)
ต่ อมแกสตริก (gastric gland) ประกอบด้ วยเซลล์ 3 ชนิด
1.mucous cell หลั่งเมือกป้องกันไม่ ให้
เซลล์ กระเพาะถูกย่ อย
2.parietal cell หลั่งกรดเกลือ (HCl)
3.chief cell หลั่ง pepsinogen
กรดเกลือเปลี่ยน pepsinogen
เป็ น pepsin
acid chyme ส่ วนุสมของอาหารที่
กลืนลงไปกับนา้ ย่ อย
55
โครงสร้ างกระเพาะอาหาร
56
สรุปการย่ อยอาหารในกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร ผนังกระเพาะฮอร์ โมนแกสตริน
หลัง่
อาหาร
กระตุน้ การหลัง่
กรดไฮโดรคลอริ ก
เพปซิ โนเจน
&
เพนซิน
ย่อย
พันธะเพปไทด์
ได้
พอลิเพปไทด์ขนาดเล็ก + ไดเพปไทด์ + กรดอะมิโน
57
การย่ อยอาหารในกระเพาะอาหารของคน
58
การย่ อยอาหารในลาไส้ เล็ก
• อาหารที่ยอ่ ยแล้วบางส่ วนและยังไม่ได้ยอ่ ยจะเคลื่อนผ่าน
กล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารเข้าสู่ลาไส้เล็ก
• ลาไส้เล็กมีลกั ษณะเป็ นท่อ 6-7 เมตร แบ่งเป็ น 3 ส่ วน
1. ดูโอดินมั ยาวประมาณ 25 cm.
2. เจจูนมั ยาวประมาณ 2.50 m.
3. ไอเลียม ยาวประมาณ 4 m.
• การย่อยอาหารในลาไส้เล็กเกี่ยวข้องกับการทางานของตับอ่อน
และผนังลาไส้เล็ก
59
ลาไส้ เล็ก(small intestine)
-เป็ นส่ วนที่มีการย่ อยและดูดซึมอาหาร
มากที่สุด
-เป็ นส่ วนที่ยาวที่สุดของทางเดินอาหาร
ในคน ยาว 6 ม.
-ส่ วนต้ นของลาไส้ เล็กเรี ยก duodenum ยาว 25ซม. ทาหน้ าที่รับอาหาร(acid chyme)จาก
กระเพาะอาหาร และย่ อยต่ อโดยอาศัยนา้ ย่ อยจากตับอ่ อน นา้ ดีจากตับและถุงนา้ ดี และ
นา้ ย่ อยจากลาไส้ เล็กเอง
60
การย่ อยโปรตีนในลาไส้ เล็กของคน
ในลาไส้ เล็กมี peptidase enzyme 2 ชนิด
1.Endopeptidase สลายพันธะเปปไทด์ ในสายโปรตีน
เช่ น trypsin, chymotrypsin
2.Exopeptidase สลายพันธะเปปไทด์ จากปลายด้ าน
นอกของสายโปรตีน เช่ น carboxypeptidase,
aminopeptidase (สร้ างจากเซลล์ ลาไส้ เล็ก)
-dipeptidase ย่ อย dipeptide
-เปปไทด์ เล็กๆจะถูกย่ อยต่ อโดยdipeptidaseได้ เป็ นกรดอะมิโน
61
การทางานร่ วมกันของเอนไซม์จากตับอ่อนและลาไส้เล็กสร้างน้ าย่อยโปรตีน
62
การย่ อยไขมันในลาไส้ เล็กของคน
• ตับทำหน้ำที่สร้ำงน้ ำดี (bile) เก็บไว้ที่ถุง
น้ ำดี ( gall bladder )
• น้ ำดีมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ เกลือน้ ำดี
(bile salt) ช่วยให้ไขมันแตกตัวเป็ นหยด
ไขมันเล็กๆ และแทรกรวมกับน้ ำได้ในรู ป
อิมลั ชัน (emulsion)
• ตับอ่อนและเซลล์ที่ผนังลำไส้เล็กจะสร้ำง
เอนไซม์ลิเพส ซึ่ งจะย่อยไขมันที่อยูใ่ นรู ป
อิมลั ชันให้เป็ นกรดไขมันและกลีเซอรอล
• เกลือน้ ำดีถกู ดูดซึ มที่ลำไส้ใหญ่ เพื่อให้ตบั
นำกลับมำใช้ใหม่
63
การย่ อยคาร์ โบไฮเดรต
• ตับอ่อนสร้างเอนไซม์อะไมเลสแล้วส่ งมาที่ลาไส้เล็ก
เพื่อย่อยแป้ งไกลโคเจนและเดกซ์ทริ นให้เป็ นมอลโทส
• เซลล์ผนังด้านในลาไส้เล็กส่ วนดูโอดินมั
จะผลิตเอนไซม์มอลโทสย่อยมอลโทส
• ผนังลาไส้เล็กผลิตเอนไซม์ซูเครสย่อยซูโครส
ให้เป็ นกลูโคสและฟรักโทส และเอนไซม์แลกเทส
ย่อยแลกเทสให้เป็ นกลูโคส และกาแลกโทส
64
การย่ อยอาหารในลาไส้ เล็กของคน
sucrase, maltase, lactase
65
การดูดซึมอาหารในลาไส้ เล็กของคน
• ความหนาแน่นของวิลลัส 20-40 หน่วยต่อ 1 ตร.มม.ภายในวิลลัสมีหลอดเลือดฝอยและท่อน้ าเหลือง
-การดูดซึมสารอาหารส่ วนใหญ่ เกิดที่ลาไส้ เล็ก(jejunumและileum)
-เกิดเล็กน้ อยที่ลาไส้ ใหญ่
66
การดูดซึมอาหาร • เป็ นกระบวนการนาสารอาหารเข้าสู่เซลล์
กระเพาะอาหาร
ลาไส้ เล็ก
• ดูดซึมสารที่ละลายในลิพิดได้ดี เช่น แอลกอฮอล์
และยาบางชนิด
• ดูดซึ มสารอาหาร น้ า วิตามิน และแร่ ธาตุๆ
• ผนังด้านในของลาไส้เล็กบุดว้ ยเซลล์บุผวิ ชั้นเดียว
เรี ยกว่า วิลลัส (vilus) ทาหน้าที่ดูดซึ มสารอาหาร
67
การดูดซึมสารอาหารโปรตีน และนา้ ตาล
กรดอะมิโน มอโนแซ็คคาไรด์
ไมโครวิลลัส
หลอดเลือดฝอย
อวัยวะ
ร่ างกาย
ตับ
หัวใจ
68
การดูดซึมสารอาหารพวกไขมัน
กรดไขมัน+กลีเซอรอล
อวัยวะ/
ร่ างกาย
หัวใจ
ไมโครวิลลัส
ไตรกลีเซอไรด์
ทีว่ ลิ ลัส
หลอดนา้ เหลืองฝอย
69
ลาไส้ ใหญ่ (lage intestine)
• ยาวประมาณ 1.50 เมตร
• ประกอบด้วยส่ วนโคลอน
ไส้ตรง (rectum)
และทวารหนัก (anus)
ส่ วนประกอบของลาไส้ ใหญ่
70
การดูดซึมสารอาหารที่ลาไส้ ใหญ่
• ดูดซึมน้ ำ วิตำมิน และแร่ ธำตุ
• มีแบคทีเรี ยพวก Escherichia coli
ช่วยสังเครำะห์วติ ำมิน K B12
กรดโฟลิก , ไบโอทิน
71
กระบวนการย่ อยอาหารของคน
ปาก
4 ชม.
ลาไส้ใหญ่
8-9 ชม.
โคลอน
ชม.ที่ 12
ทวารหนัก
ไส้ ตรง
72
ลาไส้ ใหญ่ (large intestine) ลาไส้ ตรง(rectum) และทวารหนัก(anus)
-ลาไส้ ใหญ่ ทาหน้ าที่ดดู นา้ และเกลือแร่
-กากอาหารในลาไส้ ใหญ่ เคลื่อนแบบ peristalsisและอยู่ในลาไส้ ใหญ่
นาน 12-24 ชม.
-ลาไส้ ตรงเป็ นที่เก็บกากอาหาร ซึ่งอุดมด้ วยจุลลินทรีย์และเซลลูโลส
-ระหว่ างลาไส้ ตรงและทวารหนักมีหรู ูด (sphincter) 2 อัน
อันแรกอยู่ใต้ อานาจจิตใจ ส่ วนอีกอันอยู่นอกอานาจจิตใจ
73