คลิกที่นี่ - กรมปศุสัตว์

Download Report

Transcript คลิกที่นี่ - กรมปศุสัตว์

“โครงการจัดทาแผนแม่ บทด้ านการปศุสัตว์ ไทย
ในทศวรรษหน้ า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”
ภายใต้ความร่ วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดย รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์ และคณะ
ตลอดจนหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
การจัดทาแผนแม่ บทการปศุสัตว์ ไทยในทศวรรษหน้ า
NIDA
สั มมนาผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
(ภาคเอกชน, สมาคม)
NIDA
NIDA
สั มมนาเชิงปฏิบัติการ
(คณะจัดทาแผนแม่ บท)
ณ โรงแรมทีเค พาเลซ
ส่ งแบบสอบถามความ
คิดเห็นเกีย่ วกับแผนแม่ บทให้
คณะจัดทา ฯ
ขอความเห็นจากผู้บริหาร
ระดับสู ง กรมปศุสัตว์
ขอความเห็นชอบร่ างแผนแม่ บท
การปศุสัตว์ ไทยจากผู้บริหาร
ระดับสู งและบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ อง
ของกรมปศุสัตว์
NIDA
ขอความเห็นจากคณะจัดทา
แผนแม่ บท ฯ กรมปศุสัตว์
กระบวนการจัดทา “แผนแม่ บทด้ านการปศุสัตว์ ไทยใน
ทศวรรษหน้ า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”
๒.วิเคราะห์ปัจจัย
แวดล้อม
๑.กาหนดกรอบ
แนวคิด
๘.ขอความ
เห็นชอบ
๗.ยกร่ างแผน
แม่บทฯ
๓.ทบทวน
การปศุสัตว์โลก
แผนแม่ บท
ด้ านการปศุสัตว์ ไทย
ในทศวรรษหน้ า
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕
๖.บูรณาการ
แผนแม่บทฯ
๔.วิเคราะห์
ศักยภาพ
การปศุสัตว์ไทย
๕.สัมมนา
สอบถามความเห็น
ผูม้ ีส่วนได้เสี ย
“แผนแม่ บทด้ านการปศุสัตว์ ไทยในทศวรรษหน้ า
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”
กรอบแนวคิดในการจัดทา
. . 2570
11 ( . .
–
)(
(Supply Side)
)
(
)
/
/
(Demand Side)
วิเคราะห์ สภาพแวดล้ อม
และปัจจัยแวดล้ อม
โดยสั งเขป
GREECE
IRELAND
ITALY
SPAIN
U.S.
CHINA
JAPAN
INDIA
GWP 2011
=
$78.95 trillion
PORTUGAL
RUSSIA
BRAZIL
INDONESIA
SOUTH AFRICA
ภาวะเศรษฐกิจโลก
AUSTRALIA
สัดส่ วนขนาดเศรษฐกิจเทียบโลก (2011)
EU = 19.50%
PIIGS = 5.03%
US = 19.05%
BRICS = 26.56%
ASEAN = 4.21% CHINA = 14.30%
THAILAND = 0.76%
7
GDP Growth rate
US EU
US EU
ภาวะเศรษฐกิจประเทศไทย
GDP Growth rate
7.8
4.2
0.1
vs
0.4
-2.3
Inflation rate
Export Growth rate
28.4
3.8
16.4
3.3
3.4
2.5
-4.0
2009
-13.9
2010
2011
-0.4
2012_Q1 2012_Q2
-0.8
การขยายตัวของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558
-เปิ ดเสรีการค้ าสิ นค้ า
-เปิ ดเสรีตลาดการบริการ
-เปิ ดเสรีทางด้ านการลงทุน
-เปิ ดเสรีด้านแรงงาน
Asean
ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน 4.21%ต่ อGDPโลก ($3,326,090,000,000 )
ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+3 -> 26.03%ต่ อGDPโลก ($20,554,090,000,000)
ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+6 -> 33.01%ต่ อGDPโลก ($26,058,090,000,000)
พัฒนาการของการปศุสัตว์ โลก
การเลีย้ งตามทุ่งหญ้ าหรือตามบ้ าน
การเลีย้ งระบบฟาร์ ม
อัตราการผลิต
และการบริโภคเนือ้ สั ตว์
ระหว่ าง ปี 1980 -2030
ภาพที3.1
่
ปริมาณการผลิตเนือสัต
้ วระห
้ วระห
์ วางปี
่ 1980- ภาพที่ 3.2 ปริมาณการบริโภคเนือสัต
์ วางปี
่ 19802030
2030
ทีมา:
่ www.fao.org
ทีมา:
่ www.fao.org
ทิศทางการปศุสัตว์ โลก โดยสั งเขป
ภาวะปศุสัตว์ โลกในปัจจุบัน
การพัฒนา
ระบบการ
จัดการฟาร์ ม
ความเป็ น
มิตรกับ
สิ่ งแวดล้อม
ความปลอดภัย
ทางด้ านอาหาร
(Food
Safety)
ภาวะปศุสัตว์ โลกในอนาคต
ความต้ องการ
บริโภคเนือ้ สั ตว์
และธัญพืชเพิม่
สู งขึน้
ราคาอาหารสัตว์
ปรับตัวสู งขึน้
ปัญหาสภาพอากาศ
แปรปรวน
ศั กยภาพดานการปศุ
สัตวไทย
้
์
โดยสั งเขป
1. ภาวะของการปศุสัตวไทย
์
สั ดส่ วนภาคเกษตรกรรมในแต่ ละสาขา ปี พ.ศ. 2555
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศั กยภาพดานการปศุ
สัตวไทย
โดยสั งเขป
้
์
1. ภาวะของการปศุสัตวไทย
์
จานวนเกษตรกรและจานวนสั ตว์ จาแนกตามรายประเภทสั ตว์
รายประเภทสัตว์
จานวนเกษตรกร (ครัวเรือน)
จานวนสัตว์ (ตัว)
โคเนือ้
โคนม
กระบือ
สุ กร
ไก่เนือ้
ไก่ไข่
ไก่พนื้ เมือง
เป็ ดไล่ทุ่งรวม
แกะ
แพะ
1,035,072
20,645
271,112
227,406
41,293
47,709
2,674,497
11,012
6,191
41,582
6,583,106
560,659
1,234,179
9,81,744
173,869,082
49,403,372
76,155,430
8,963,097
51,735
427,567
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศั กยภาพดานการปศุ
สัตวไทย
โดยสั งเขป
้
์
1. ภาวะของการปศุสัตวไทย
์
มูลค่ าการนาเข้ า-ส่ งออกสิ นค้ าปศุสัตว์ ของไทย ปี พ.ศ. 2551 - 2552
ที่มา: สานักส่ งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ศั กยภาพดานการปศุ
สัตวไทย
โดยสั งเขป
้
์
1. ภาวะของการปศุสัตวไทย
์
การส่ งออกสิ นค้ าปศุสัตว์ ทสี่ าคัญของไทยปี พ.ศ. 2553
Products
Chicken
Cooked meat
Fresh meat
Duck
Cooked meat
Fresh meat
Pork
Cooked meat
Fresh meat
Beef
Cooked meat
Cooked mixed meat
Total
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
Quantity (kg)
Value (Baht)
417,413,122
17,141,786
9,329,829
3,003,634
12,319,055
541,854
4,342
6,453,588
466,207,210
53,731,471,130
1,154,169,701
2,023,829,069
118,734,213
2,269,460,214
47,707,841
473,131
869,106,822
60,214,952,121
ศั กยภาพดานการปศุ
สัตวไทย
โดยสั งเขป
้
์
1. ภาวะของการปศุสัตวไทย
์
ลาดับการค้ าสิ นค้ าปศุสัตว์ ทสี่ าคัญปี พ.ศ. 2553
ไก่ เนือ้
สุ กร
ไข่ ไก่
เป็ ด
อันดับ 1 ของโลก
ลาดับประเทศไทย
อันดับ 1 ของโลก
ลาดับประเทศไทย
อันดับ 1 ของโลก
ลาดับประเทศไทย
อันดับ 1 ของโลก
ลาดับประเทศไทย
ที่มา:สานักที่ปรึ กษาทางเศรษฐกิจ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์
การผลิต
การส่ งออก
สหรัฐอเมริ กา
บราซิล
8
4
จีน
สหรัฐอเมริ กา
7
6
จีน
จีน
7
7
จีน
จีน
3
3
การนาเข้ า
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
ฮ่องกง
จีน
-
ศักยภาพด้ านการปศุสัตว์ ไทย โดยสั งเขป
แผนภาพคลสัเตอร์(Cluster Map) : คลสัเตอร์การเชอม
งอุตสาหกรรม: การปศุสตัว์ไทย
๒. คลัสเตอร์ การปศุสัตว์ื่ ไโยทย
หน่วยงานภาครฐั
กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
กระทรวงสาธารณสุข
กรมวิชาการเกษตร
สานักงานอาหารและยา
กรมสงเสริ
่ มการสงออก
่
วัตถุดิบอาหารสัตว ์
ธุรกิจขนสง่
เวชภัณฑและเค
์ มีภัณฑ ์
การปศุสตัว์
ฟารมเลี
์ ย้ ง
โรงฆา่
โรงฟักไขสัต
สถานกักเก็บซากสัตว ์
่ ว์
ปีก
โรงงานแปรรูป
โรงชาแหละ
สถานกักกักสัตว ์
ราน
่ กร
้ จาหนาย
่ อุปกรณเค
์ รืองจั
กรมวิทยาศาสตรบริ
์ การ
อุตสาหกรรม/บริการทีเกี
่ ย่วข้อง
อุตสาหกรรมสนบั สนุน
อาหารสัตว ์
กรมการคา้
ภายใน
สานักงานคุมค
้ รองผูบริ
้ โภค
กระทรวงมหาดไทย
สานักงานมาตรฐานสินคาเกษ
้ ตรและอาหารแหงช
่ าติ
กระทรวงพาณิชย ์
กระทรวงอุตสาหกรรม
กรมสงเสริ
่ มการเกษตร
สวน
่ ทีต่ องค
้ วบคุมดูแล
อยางใ
กล
่ ชิ้ ด
หนวย
่ งานทีมี่ ความ
รวมมื
่ ออยางเข
่ มแข็
้ ง
หนวย
งาน
ที
ส
่
า
คั
ญ
แตยั่ ง
่
ขาดความรวมมื
่ อ
หน่วยงานที่มีความร่วมมือบ้ าง
Supermarket/Modern Trade
ภัตตาคาร / ราน
้ อาหาร / ราน
้ ชา
ธุรกิจสงออก
่
ธุรกิจบรรจุภัณฑ ์
สหกรณออมท
์ รัพยปศุ
์ สัตว ์
โรงงานเพือการส
่ งออก
่
ธกส.
ธุรกิจนาเขา้
บริการตรวจสอบรับรองคุณภาพ
ผูมี้ สวน
่ ไดเสีย
้ ในอุตสาหกรรมปศุสัตว ์
ธุรกิจหองเย็น
้
สถาบนั การศกึษาและสถาบนั เฉพาะทาง
หน่วยงาน/องค์กรทีส่นบั สนุนการดาเนินงานของคลสัเตอร์
ผูประกอบการด
าน
้
้ ปศุสัตว ์
ม.เกษตรศาสตร (ก
์ าแพงแสน)
ศูนยวิ์ จัยและบารุงพันธุสัต
์ ว์
สถานพยาบาลสัตว ์
สถานีวิจัยทดสอบพันธุสัต
์ ว์
สถาบันสุขภาพสัตวแห
์ งช
่ าติ
สถาบันอาหาร
ศูนยวิ์ จัยและพัฒนาดาน
้ ปรับปรุงพันธุสัต
์ ว ม.ข
์ อนแกน่
ศูนยวิ์ จัยและพัฒนาการสัตวแพ
์ ทย ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาฯ
้
คณะสัตวแพทยทุ
์ กสถาบันการศึกษา
SMEBank
หอการคาจั
้ งหวัด
สมาคมผูเลี
้ ย้ งสัตวต์ างๆ
่
สหกรณ/สมาค
์ มผูเลี
้ ย้ งสัตว(จั
์ งหวัด)
สภาอุตสาหกรรมจังหวัด
ศักยภาพด้ านการปศุสัตว์ ไทย โดยสั งเขป
๓. โครงสร้ างภารกิจการปศุสัตว์ ไทย
โครงสร้างภารกิจการปศุสตั ว์ไทย
กรมปศุสตั ว์**
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว:์
ภารกิจด้านอาหารสตั ว์
- สานักพัฒนาอาหารสัตว ์ : ศูนยวิ์ จัยและพัฒนา
อาหารสัตว ์
- สานักตรวจสอบคุณภาพสินคาปศุ
้ สัตว ์
- สานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินคา้
ปศุสัตว ์
- สานักควบคุม ป้องกันและบาบัดโรคสัตว ์
หน่วยงานอืน่ ๆ
1.กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
2.ผู้ประกอบการในการผลิตอาหารสัตว์
3.ผูประก
้ อบการนาเขาอาห
้ ารสัตว ์
4.สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตวไท
์ ย
5.สมาคมเมล็ดพันธุพื
ศ
์ ชอาหารสัตวแ์ หงประเท
่
ไทย
กรมปศุสตั ว์**
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว:์
- สถาบันสุขภาพสัตวแ์ หงช
่ าติ
- สานักควบคุม ป้องกันและบาบัดโรคสัตว ์
- สานักเทคโนโลยีชีวิภัณฑสัต
์ ว์
- ศูนยวิ์ จัยและพัฒนาการสัตวแพทย ์
- ศูนยอ์ างอิ
่ย
้ งโรคปากและเทาเปื
้ อ
ภารกิจด้านพนธุ
ั ส์ ตั ว์
กรมปศุสตั ว์**
หน่วยงานอืน่ ๆ
1.ศู
น
ย
วิ
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว:์
์ จัยและพัฒนาดาน
้
- สานักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิต
ปศุสัตว ์
- สานักพัฒนาพันธุสัต
์ ว์
ปรับปรุงพันธุสัต
์ ว์
2.ผู้ประกอบการในการนาเข้ า
พันธุ์สตั ว์
ภารกิจด้านการฆ่าสตั ว์
กรมปศุสตั ว์**
หน่วยงานอืน่ ๆ
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว:์ 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
- สานักพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินคาปศุ
้ สัตว ์
- สานักควบคุม ป้องกันและบาบัด
โรคสัตว ์
2. โรงเชือดโรงชาแหละสัตว ์
ภายในประเทศ
3.องคก์ รปกครองสวน
่ ทองถิ
้ น่ ตางๆ
่
4.ผูประก
่ป
้ อบการทัวไ
ภารกิจด้านสุขภาพสตั ว์
หน่วยงานอืน่ ๆ
1.กระทรวงสาธารณสุข
2.กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรฯ
3. สัตวแพทยสภา,สถานพยาบาลสัตวเอก
์ ชน
4.ดาน
กั
ก
กั
น
สัต
ว
ทั
งภ
้
าย
ใ
น
แ
ล
ะระห
ว
างประเท
ศ
่
์
่
5.คณะสัตวแพทยจุ
ฬ
าล
งก
รณ
มห
าวิ
ท
ย
าลั
ย
์
์
6. ม.เกษตรศาสตร (ก
์ าแพงแสน)
7.สานักโรคระบาดสัตวระห
ศ
์ วางประเท
่
8.องคก์ รโรคระบาดสัตวระห
ศ(OIE)
์ วางประเท
่
9.อาสาป้องกันโรคสัตว (เก
์ ษตรกร)
ภารกิจด้านการผลิตสตั ว์
กรมปศุสตั ว์**
หน่วยงานอืน่ ๆ
1.
ก
ระท
รวงวิ
ทยาศาสตรฯ์
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว ์
การปศุสตั ว์ไทย
ภารกิจด้านการแปรรูป
ั
กรมปศุสตว์**
หน่วยงานอืน่ ๆ
1.ก
ระท
รวงเก
ษตรฯ : สานักงาน
หนว่ ยงานภายในกรมปศุสัตว ์
- สานักพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินคาปศุ
้ สัตว ์
- สานักสงเส
ริ
มแ
ล
ะพัฒนาการ
่
ปศุสัตว ์
- สานักตรวจสอบคุณภาพสินคา้
ปศุสัตว ์
มาตรฐานสินคาเก
้ ษตรและอาหาร
แหงช
่ าติ
2.กระทรวงสาธารณสุข
3.กระทรวงอุตสาหกรรม
4.โรงงานแปรรูป
5.สานักงานอาหารและยา
6.ผูประก
้ อบการดาน
้ การแปรรูป
- สานักพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินคาปศุ
้ สัตว ์
- สานักสงเส
ริ
มแ
ล
ะพัฒนาการ ปศุสัตว ์
่
- สานักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิต
ปศุสัตว ์
- สานักควบคุมป้องกันและบาบัดโรค
สัตว ์
2.กรมสงเส
่ ริมการเกษตร
3.กรมควบคุมมลพิษ
4.สมาคมผูเลี
้ ย้ งสัตวต์ างๆ
่
5.สหกรณผูเลี
์ ้ ย้ งสัตว ์
6.สถานประกอบการดาน
้ ปศุสัตว ์
7.ผูประก
อบก
ารต
างๆ
้
่
8.เกษตรกรผูเลี
้ ย้ งสัตว ์
.
ภารกิจด้านการค้า
กรมปศุสตัว์**
หน่วยงานอืน่ ๆ
หนวย
งาน
ภ
าย
ใ
น
ก
รมปศุ
สัต
ว
1.ก
ระท
รวงพ
าณิชย:ก
่
์
์ รมสงเส
่ ริม
- สานักพัฒนาระบบและรับรอง
การสงออก
่ , กรมการคาภ
้ ายใน,
มาตรฐานสินคาปศุ
กรมการคาต
ศ
้ สัตว ์
้ างประเท
่
- สานักสงเส
2.สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
่ ริมและพัฒนาการ
ปศุสัตว ์
4.สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
- สานักควบคุม ป้องกันและบาบัด 5.สภาหอการคา้
โรคสัตว ์
6. FAO,WTO
7.สมาคมผูค้ าแ
้ ละผูส้ งออก
่
8.ผูประก
้ อบการสินคาปศุ
้ สัตว ์
ศักยภาพด้ านการปศุสัตว์ ไทย โดยสั งเขป
๔. SWOT Analysis การปศุสัตว์ ไทย
จุ
ด
อ่
อ
น:
จ
านวนแรงงานลดลง
เกษตรกร
จุดแข็ง: ขนาดพื้นที่เพียงพอ ระบบนิเวศน์
หลากหลาย สภาพอากาศเหมาะสม ปริ มาณ
การผลิตมาก ๑ ใน ๕ ของอาเซี ยน ระบบ
ฟาร์มได้มาตรฐานสากล ฯลฯ
ระดับการศึกษาต่า เครื อข่ายเกษตรกรไม่
เข้มแข็ง จานวนโรงชาแหละและแปรรู ปได้
มาตรฐานน้อยราย การติดต่อประสานงาน
ข้อจากัดทางการตลาด ฯลฯ
โอกาส: จานวนประชากร อุปสรรค: ความผันผวนทางเศรษฐกิจ
โลกเพิ่มสู งขึ้น เศรษฐกิจ
ในภูมิภาคขยายตัว ชื่อเสี ยง
ด้านอาหารของไทย การ
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ฯลฯ
วัตถุดิบอาหาร อุปสงค์ผบู้ ริ โภค ปัจจัย
การเมือง มาตรการกีดกันทางการค้า
อานาจทางการตลาด มลภาวะ กระแส
ต่อต้าน ฯลฯ
แนวโน้ มของโลก
วิสัยทัศน์ ปี 2570
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน
นโยบาย รมต.กระทรวงเกษตรฯ
แผนพัฒนาการเกษตร
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรมปศุสัตว์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การบูรณาการความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงาน
ต่ างๆ ทั้ ง ภาครั ฐ เอกชน/ผู้ ประกอบการ
เกษตรกร และประชาชน
•
•
•
•
•
•
ส่ งเสริมความร่ วมมือระหว่ างประเทศ
ชีวอนามัยและมาตรฐานสากล
•
•
การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และสร้ าง
มูลค่ าเพิม่ แก่สินค้ าปศุสัตว์
•
•
•
การใช้ และพัฒนาทรั พยากรธรรมชาติที่เป็ น
ฐา นก า รผ ลิ ต อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น เ ป็ นมิ ต ร กั บ
สิ่ งแวดล้อม
ความมัน่ คงด้ านอาหาร
สร้ างความมั่น คงและยั่ง ยืน ทั้งในอาชี พและ
รายได้ ของเกษตรกรและผู้ประกอบการ
ตารางสรุ ปแนวนโยบายทีเ่ กีย่ วข้ องกับภาคการปศุสัตว์
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕
วิสัยทัศน์
“การปศุสัตว์ ไทยยัง่ ยืน ก้ าวไกลในตลาดโลก”
พันธกิจ
1. ปรับปรุงคุณภาพชีวติ และอาชีพของเกษตรกร พัฒนาฐานการผลิตให้
เข้ มแข็ง มีคุณภาพได้ มาตรฐานสากล
2. เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่ งขัน และสนับสนุนการวิจัยพัฒนา
เชื่อมโยงองค์ ความรู้
3. เสริมสร้ างความมัน่ คงทางการตลาดและทางการค้ า เพิม่ ส่ วนแบ่ งทาง
การตลาด
4. บูรณาการความร่ วมมือ ทั้งภายในและภายนอกประเทศของทุกภาคส่ วน
เป้ าหมายหลัก
สั งคมอยู่ดมี สี ุ ข ยกระดับคุณภาพชีวติ เกษตรกร
โครงสร้ างการผลิตได้ มาตรฐาน มีความเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตลอดจน
ห่ วงโซ่ การผลิตมีความเข้ มแข็งสอดคล้องเชื่อมโยงกันทั้งคลัสเตอร์
การตลาดในเชิงพาณิชย์ มีความเข้ มแข็ง สามารถแข่ งขันได้ ในทุกตลาด
เพียงต่ อความต้ องการบริโภคของตลาดภายในและความต้ องการของ
ตลาดต่ างประเทศ
มีความพร้ อมด้ านองค์ ความรู้ จากความร่ วมมือจากภายใน
และภายนอกประเทศ
ยุทธศาสตร์ การปศุสัตว์ ไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕
1) ยุทธศาสตร์
สร้ างความเข้ มแข็ง
ให้ กบั บุคลากรภาค
การปศุสัตว์
5) ยุทธศาสตร์
บูรณาการความ
ร่ วมมือของทุกภาค
ส่ วนทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศ
การปศุสัตว์ ไทยยัง่ ยืน
ก้าวไกลในตลาดโลก
4) ยุทธศาสตร์
สร้ างความมั่นคง
ทางการตลาด
2) ยุทธศาสตร์
ส่ งเสริมการเพิม่
ศักยภาพการผลิต
บนพืน้ ฐานของ
นวัตกรรม
เทคโนโลยี และ
สารสนเทศ
3) ยุทธศาสตร์
ส่ งเสริมการวิจัย
เพือ่ การพัฒนาการ
ปศุสัตว์ ไทย
ยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐
(๕ ปี แรก)
ยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕
(๕ ปี หลัง)
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ สร้างบุคลากรด้านการปศุสัตว์มุ่งสู่ ระดับ
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ พัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ สากล
ของบุคลากรและเกษตรกรด้านการปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ ยกระดับคุณภาพชีวติ เพื่อสร้างความยัง่ ยืน
ให้แก่เกษตรกรด้านการปศุสัตว์
เป้ าหมาย
พัฒนาบุคลากร
๑
พัฒนาเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ ยกระดับการผลิตปศุสัตว์ให้สอดคล้อง ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตให้สมดุล
โครงสร้ างการผลิต ๒
กับความต้องการและกลไกตลาด
ยัง่ ยืน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาการบริ หารจัดการด้านปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ สร้างอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสิ นค้าปศุ บริหารจัดการ/สร้ าง
๓
สัตว์
ตราสิ นค้ า
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ ส่ งเสริ มความร่ วมมือด้านปศุสัตว์ใน
ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ บูรณาการความร่ วมมือด้านการปศุสัตว์ใน
ภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ เป็ นศูนย์กลางการเชื่อมโยงการวิจยั และ ยุทธศาสตร์ ที่ ๖ การเป็ นศูนย์กลางฐานข้อมูลเทคโนโลยี
พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม
สารสนเทศด้านการปศุสัตว์ของอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๖ ยกระดับจากผูป้ ฎิบตั ิไปสู่ ผกู ้ ากับดูแล
ยุทธศาสตร์ ที่ ๗ มุ่งเน้นบทบาทการเป็ นฝ่ ายกากับดูแล
ด้ านความร่ วมมือ
๔
ศู นย์ กลางการเรียนรู้ ๕
บทบาทกากับดูแล
๖
“แผนยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ ”
• แผนยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก)
• แผนยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง)
ภารกิจกรมปศุสัตว์
ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้ วยโรคระบาด
สั ตว์ กฎหมายว่ าด้ วยการบารุ งพันธุ์สัตว์
กฎหมายว่ าด้ วยการควบคุมคุณภาพอาหาร
สั ตว์ กฎหมายว่าด้ วยสถาน พยาบาลสั ตว์
กฎหมายว่ าด้ วยโรคพิษสุ นัขบ้ า และกฎหมาย
อืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ดาเนินการผลิตและจัดหาชีวภัณฑ์ และ
เวชภัณฑ์ เพือ่ ใช้ ในการป้องกันและกาจัดโรค
สั ตว์ ตลอดจนผลิตและจัดหานา้ เชื้อเพื่อใช้ ใน
การผสมเทียม
ดาเนินการด้ านปรับปรุ งและขยายพันธุ์สัตว์
ด้ านสุ ขภาพสั ตว์ และด้ านบาบัดโรคสั ตว์
ตลอดจนการแปรรู ปเนือ้ สั ตว์ เป็ นผลิตภัณฑ์
ต่ าง ๆ
ส่ งเสริมให้ เกษตรกรทาการเลีย้ งสั ตว์ที่มี
ความสาคัญต่ อเศรษฐกิจของประเทศ
ควบคุมคุณภาพเนือ้ สั ตว์ ผลิตภัณฑ์ และ
ผลิตผลจากสั ตว์เพือ่ ให้ ได้ มาตรฐานสากล
ปฏิบัติงานอืน่ ใด ตามทีก่ ฎหมายกาหนดให้
เป็ นอานาจหน้ าทีข่ องกรมหรือตามที่
กระทรวงหรือ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
แผนยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก)
วิสัยทัศน์
“เป็ นองค์ กรชั้นนาพัฒนาการปศุสัตว์ ส่ ู อาเซียนและตลาดโลก”
พันธกิจ (แผนยุทธ์ ฯ กรม ๕ ปี แรก)
๑. เสริมสร้ างการพัฒนาเพิม่ ศักยภาพ และสมรรถนะบุคลากรในกระบวนการปศุสัตว์ ไทยให้ มคี วามเป็ นมือ
อาชีพ พร้ อมเข้ าสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ส่ งเสริม
การสร้ างคุณค่ าในอาชีพเกษตรกรด้ านการปศุสัตว์
๒. ปรับปรุงโครงสร้ างการผลิตให้ เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้ อม สร้ างมูลค่ าเพิม่ เสริมสมรรถนะ ศักยภาพทางการ
แข่ งขัน
๓. พัฒนาระบบสารสนเทศให้ มคี วามเข้ มแข็ง เป็ นศูนย์ กลางแห่ งการเรียนรู้ครบวงจร
๔. สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาในเชิงบูรณาการกับภูมปิ ัญญา และความคิดสร้ างสรรค์ เพือ่ ฐานแห่ ง
ศูนย์ กลางแหล่ งความรู้
๕. กากับ ดูแล ตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ ด้ วยกฎหมาย เงือ่ นไข กฎระเบียบให้ ได้ มาตรฐานสากล และ
ความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
เป้ าหมายหลัก (แผนยุทธ์ ฯกรม ๕ ปี แรก)
๑. ทรัพยากรมนุษย์ ในกรมปศุสัตว์ มจี านวนเพียงพอ มีศักยภาพและสมรรถนะได้ มาตรฐาน
เข้ มแข็งพอต่ อการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
๒. ระบบการผลิตปศุสัตว์ ไทยทั้งห่ วงโซ่ การผลิต มีความสอดคล้ องเชื่อมโยง ได้ มาตรฐานตรงตามเงือ่ นไข
ประเทศคู่ค้า มีความร่ วมมือกับประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
๓. มีระบบสารสนเทศที่มีความครบถ้ วน ทันสมัย ง่ ายต่ อการเข้ าถึง และมีการดาเนินงานเชื่อมโยงกัน
อย่ างบูรณาการ การบริหารจัดการภาครัฐด้ านการปศุสัตว์ ไทยมีความเข้ มแข็งเป็ นมืออาชีพในการ
ให้ บริการ
๔. เป็ นศูนย์ กลางองค์ ความรู้ด้านการปศุสัตว์ ไทย มีการร่ วมมือกับหน่ วยงานต่ างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
สถาบันการศึกษา และหน่ วยงานอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง
๕. มีบทบาทในการกากับ ดูแล และตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ ทชี่ ัดเจนมากขึน้ ด้ วยเงือ่ นไขข้ อกฎหมาย
กฎระเบียบที่ได้ มาตรฐานสากลต่ างๆ รวมทั้งข้ อบัญญัติในความตกลงความร่ วมมือกับต่ างประเทศ
ค่ านิยมหลักกรมปศุสัตว์
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
“I-SMART”
I: Innovation
S: Standard
M: Mastery
A: Agility
R: Responsibility
T: Teamwork
สร้างนวัตกรรม
สร้างมาตรฐานสิ นค้าปศุสัตว์
ทางานอย่างมืออาชีพ
คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ
มุ่งมัน่ ในการทางานร่ วมกัน
ยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑
• พัฒนาศักยภาพเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของบุคลากร
และเกษตรกรด้ านการปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒
• ยกระดับการผลิตปศุสัตว์ ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการ
และกลไกตลาด
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓
• การพัฒนาการบริหารจัดการด้ านปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔
• ส่ งเสริมความร่ วมมือด้ านปศุสัตว์ ในประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕
• เป็ นศูนย์ กลางการเชื่อมโยงการวิจัย และพัฒนา
เทคโนโลยี นวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ ที่ ๖
• ยกระดับจากผู้ปฎิบตั ิไปสู่ ผู้กากับดูแล
แผนยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์
พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง)
วิสัยทัศน์
“เป็ นองค์ กรนาขับเคลือ่ นการปศุสัตว์ ไทยยัง่ ยืนในตลาดโลก”
พันธกิจ (แผนยุทธ์ ฯ กรม ๕ ปี หลัง)
เสริมสร้ างขีดความสามารถและสมรรถนะของบุคลากรในกระบวนการปศุสัตว์
ไทยให้ เกิดความรู้ความเชี่ยวชาญในระดับสากล
พัฒนาศักยภาพทางการผลิตและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ ได้มาตรฐาน เกิดความ
เป็ นอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของปศุสัตว์ไทยทีเ่ ป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม บนพืน้ ฐาน
ของเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เป็ นผู้นาและศูนย์ กลางด้ านเทคโนโลยี นวัตกรรม องค์ความรู้ การวิจยั พัฒนาการ
ปศุสัตว์ และฐานข้ อมูลด้ านการปศุสัตว์ในประชาคมอาเซียน (ASEAN)
มุ่งเน้ นบทบาทหน้ าที่ของกรมปศุสัตว์ในการเป็ นผู้กาหนดทิศทางในด้านปศุสัตว์
และเป็ นฝ่ ายกากับควบคุมดูแล (Regulator)
เป้ าหมายหลัก (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปี หลัง)
๑. เป็ นผู้นาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านปศุสัตว์ ส่ ู สากล
๒. ศักยภาพด้ านการผลิตได้ มาตรฐาน เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้ อม ควบคู่กบั การสร้ างตรา
สิ นค้ าให้ กบั ผลิตภัณฑ์ การปศุสัตว์ ไทย เพือ่ ให้ เป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล
๓. เป็ นศูนย์ กลางด้ านปศุสัตว์ ในอาเซียน
๔.มุ่งเน้ นบทบาทหน้ าทีใ่ นการเป็ นฝ่ ายกากับควบคุมดูแล
ค่ านิยมหลักกรมปศุสัตว์
พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕
2
“I -SMART”
I: Innovation
I: Integration
S: Standard
M: Mastery
A: Agility
R: Responsibility
T: Teamwork
สร้ างนวัตกรรม
ทางานแบบบูรณาการ
สร้ างมาตรฐานสิ นค้ าปศุสัตว์
ทางานอย่ างมืออาชีพ
คล่องตัวและพร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง
มีความรับผิดชอบต่ อสั งคมและประเทศชาติ
มุ่งมั่นในการทางานร่ วมกัน
ยุทธศาสตร์ กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑
• สร้ างบุคลากรด้ านการปศุสัตว์ ม่ ุงสู่ ระดับสากล
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒
• ยกระดับคุณภาพชีวติ เพือ่ สร้ างความยัง่ ยืนให้ แก่ เกษตรกร
ด้ านการปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓
• เพิม่ ขีดความสามารถด้ านการผลิตให้ สมดุลยัง่ ยืน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔
• สร้ างอัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของสิ นค้ าปศุสัตว์
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕
• บูรณาการความร่ วมมือด้ านการปศุสัตว์ ในภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ ที่ ๖
• การเป็ นศูนย์ กลางฐานข้ อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศด้ านการ
ปศุสัตว์ ของอาเซียน
ยุทธศาสตร์ ที่ ๗
• มุ่งเน้ นบทบาทการเป็ นฝ่ ายกากับดูแล