บทเรียนส ำเร็จรูป (Program Instructional) อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์ กศน.

Download Report

Transcript บทเรียนส ำเร็จรูป (Program Instructional) อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์ กศน.

บทเรี ยนสำเร็ จรูป
(Program Instructional)
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
บทเรี ยนสำเร็ จรูป
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
 เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้
ด้วยตนเอง
 โดยเริ่ มจากเนื้อหาสาระที่ง่าย ไปสู่ เนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามลาดับ
 อาจพบว่ามีชื่อเรี ยกแตกต่างกันไป ตามลักษณะของการนาไปใช้ เช่น
 บทเรี ยนสาเร็ จรู ป
 แบบเรี ยนสาเร็ จรู ป
 บทเรี ยนโปรแกรม
 โปรแกรมการสอน
 แบบเรี ยนด้วยตนเอง
ธีกลุ
นวัตกรรมบทเรี ยนสำเร็ จรูปเกิดขึน้ จำกแนวคิดอัศึญกษานิชลี เธรรมะวิ
ทศก์ กศน.
ทฤษฎีจิตวิทยำ 2 ทฤษฎี
1. ทฤษฎีสัมพันธ์ เชื่ อมโยงของธอร์ นไดค์ (Edward L. Thorndike)
กฏแห่ งความพร้ อม (Low of Readiness)
กฎแห่ งการฝึ กหัด (Low of Exercise)
กฎแห่ งผล (Low of Effect)
ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล (Individual difference)
2. ทฤษฎีของกินเนอร์ (B.F Skinner)
เงื่อนไขของการตอบสนอง (Operant Conditioning)
การเสริมแรง (Reinforcement)
จดุ ม่ ุงหมำยของบทเรี ยนสำเร็ จรูป
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
อย่ างเต็มความสามารถ โดยครู คอยให้ คาแนะนา ช่ วยเหลือ เมื่อ
ผู้เรียนมีปัญหา
เพื่อให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้ ไปตามลาดับขั้น จากง่ ายไปหายาก
เพื่อให้ ผ้ ูเรียนสามารถประเมินตนเองและทราบถึงพัฒนาการใน
การเรียนรู้ ของตนเอง
เพื่อให้ ผ้ ูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ เมื่อประสพความสาเร็จในการ
เรียนรู้
หลักกำรเรี ยนร้ ูด้วยบทเรี ยนสำเร็ จรูป
ผู้เรียนได้ ปฏิบัตกิ จิ กรรม
ผู้เรียนได้ ประเมินตนเอง
มีการเสริมแรงให้ ผู้เรียน
ผู้เรียนได้ เรียนรู้ ไปทีละลาดับขั้นจากง่ ายไปยาก
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ลักษณะของบทเรี ยนสำเร็ จรูป
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
จัดทาเป็ นหน่ วยการเรียน
ในแต่ ละหน่ วยการเรียน จะบรรจุเนื้อหาสาระการเรียนรู้ เป็ น
กรอบ (Frame)
บรรจุเนื้อหาย่ อย ๆ ลงในแต่ ละกรอบ ให้ มีความสั มพันธ์ และ
เรียงลาดับเนื้อหาจากง่ ายไปยาก
ชนิดของกรอบในบทเรี ยนสำเร็ จรูป
กาหนดไว้ 4 ชนิด ดังนี้
กรอบตั้งต้ น (Set Frame)
กรอบฝึ กหัด (Practice Frame)
กรอบรองกรอบส่ งท้ าย (Sub-Terminal Frame)
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ชนิดของบทเรี ยนสำเร็ จรูป
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
มี 3 ชนิด ดังนี้
แบบเส้ นตรง (Linear Programme)
กรอบ
เนื้อหา
สาระที่ 1
กรอบ
เนื้อหา
สาระที่ 2
กรอบ
เนื้อหา
สาระที่ 3
กรอบ
เนื้อหา
สาระที่ 4
แบบสาขา (Branching Programme)
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 1
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 2
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 3
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 4
กรอบสาระ
การเรียนรู้สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบ
สาระการ
เรียนสรุป
กรอบสำขำ (Remedial Loops)
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 1
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 2
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบสาระ
การเรียนรู้ สาขา
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 3
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
กรอบสาระ
การเรียนรู้
สรุ ป
กรอบสำขำ Secondary Tracks
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 1
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 2
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 3
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 1
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 1
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 1
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 2
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 2
กรอบสาระการ
เรียนรู้ สาขา 2
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
กรอบสาระ
การเรียนรู้
สรุ ป
Gate Frame
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
เดินหน้ า (wash-ahead)
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 1
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 2
ถอยกลับ (wash-back)
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ 3
กรอบ
สาระการ
เรียนรู้ สรุป
ส่ วนประกอบของบทเรี ยนสำเร็ จรูป
1. คาชี้แจง / คาแนะนา
2. แนวคิด
3. วัตถุประสงค์
4. เนื้อหา
5. แบบฝึ กหัด
6. แบบทดสอบก่ อนและหลังเรียน
7. เฉลย แบบทดสอบ
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
กระบวนกำรผลิตและพัฒนำบทเรี ยนสำเร็ จรูป
ขั้นวางแผน
ขั้นการผลิต
ขั้นทดลองต้ นฉบับ
ขั้นทดลองใช้ จริง
ขั้นวำงแผน (Planning)
ศึกษาหลักสู ตร
กาหนดเนื้อหาสาระ
กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ และองค์ ประกอบอื่น ๆ เช่ น
จุดประสงค์ นาทาง
จุดประสงค์ ปลายทาง
ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง
วิเคราะห์ ความยาก-ง่ ายของเนื้อหา
เตรียมสร้ างแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ขั้นผลิต (Production)
1. เขียนบทเรียนสาเร็จรู ป
จุดประสงค์ ของบทเรียน
ข้ อทดสอบก่อนและหลังเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ ในแต่ ละกรอบ
2. จัดทาแผนการเรียนรู้
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ขั้นกำรทดลองต้ นฉบับ
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง
ทดลองกลับกลุ่มที่ยงั ไม่เคยเรี ยนเรื่ องนั้นมาก่อน
เป็ นการทดลองกับผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล หรื อผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ
เพื่อศึกษาความถูกต้องของเนื้อหา ขั้นตอนต่าง ๆ ในการเรี ยนรู ้ ความ
เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
นาผล และข้อบกพร่ องที่พบ มาปรับปรุ งแก้ไข เพื่อใช้ในการทดลอง
ขั้นกลุ่มเล็กต่อไป
ขัน้ กล่ มุ เล็ก
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
ทดลองกลับกลุ่มทีก่ าลังเรียนเนื้อหานั้น
เพื่อตรวจสอบความบกพร่ องของบทเรียน
เพื่อหาประสิ ทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรูปตามเกณฑ์ ทตี่ ้งั ไว้
ขัน้ กล่ มุ ใหญ่
ทดลองกับกลุ่มทีก่ าลังเรียนเนื้อหานั้น
กลุ่มทดลองทีม่ ีลกั ษณะและคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่ างจริง ๆ
เพื่อหาประสิ ทธิภาพบทเรียนสาเร็จรูป
ขั้นทดลองใช้ จริ ง
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์ กศน.
1. นาบทเรียนสาเร็จรู ป ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการเรียนรู้ ที่กาหนดไว้
2. ประเมินผลการใช้
2.1 หาประสิ ทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรู ป
- กาหนดเกณฑ์
- ความรู้ ความจา E1/E2 มีค่า 80/80 ขึน้ ไป
- ด้ านทักษะปฏิบตั ิการ E1/E2 มีค่า 70/70 ขึน้ ไป
E1 คือ ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ
E2 คือ ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์
- ค่ า E1/E2 ต้ องไม่ แตกต่ างกันเกินกว่ าร้ อยละ 5
2.2 หาค่ าดัชนีประสิ ทธิผลของบทเรียนสาเร็จรู ป
2.3 ศึกษาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
3. จัดทารายงานผลการใช้