วิทยาลัยเชียงราย

Download Report

Transcript วิทยาลัยเชียงราย

การประเมินผลการเรียนคอมพิวเตอร ์
Evaluation of Computer Instruction
วัตถุประสงค ์ของการประเมินผล
บทเรียนคอมพิวเตอร ์
่
1) เพือตรวจหาข้
อผิดพลาดของบทเรียน
่
่
2)
เพือตรวจสอบหน้
าทีการท
างานของ
โปรแกรม
่
3)
เพือตรวจสอบคุ
ณภาพคู ่มอ
ื การใช้
่
บทเรียนและส่วนประกอบอืนๆ
4)
เพื่อติด ตามการใช้บ ทเรีย นกับ
กลุ่มเป้ าหมาย
่
5) เพือประเมิ
นบทเรียนในด้านต่างๆ เช่น
ประสิท ธิภ าพของบทเรีย น ผลสัม ฤทธิ ์
้
ขันตอนการประเมิ
นผล
บทเรียนคอมพิวเตอร ์
1) การประเมินผลระหว่าง
ดาเนิ นการ (Formative
Evaluation)
2) การประเมินผลสรุป
(Summative Evaluation)
3) การสรุปผล (Review)
้ ดท้าย (Final
4) การยอมร ับขันสุ
1) การประเมินผลระหว่างดาเนิ นการ
(Formative Evaluation)
้
เป็ นการประเมินผลในขันตอนการ
ออกแบบและพัฒนาบทเรียน แบ่งออกเป็ น
้
3 ขันตอนใหญ่
1) การศึกษาต้นแบบนาร่อง (Pilot
Study)
2) การปฏิบต
ั ก
ิ าร (Action)
3) ตรวจสอบรายการ (Checklist)
1) การศึกษาต้นแบบนาร่อง
เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น บ ท เ รี ย น ที่
้ ซึงผู
่ ป
พัฒนาขึน
้ ระเมินจะต้องปฏิบต
ั ต
ิ น
เสมือ นผู เ้ รีย นที่เข้า มาศึก ษาบทเรีย น
เ พื่ อ ป ร ะ เ มิ น ผ ล บ ท เ รี ย น ตั้ ง แ ต่ ก า ร
ล ง ท ะ เ บี ย น ก า ร ศึ ก ษ า เ นื ้ อ ห า ก า ร
ปฏิส ม
ั พัน ธ ์ การตรวจปร บ
ั การควบคุ ม
บทเรียน จนถึงการประเมินผลการเรียน
2) การปฏิบต
ั ก
ิ าร
เ ป็ น ก า รใ ช้ บ ท เ รี ย น ลั ก ษ ณ ะ
เดีย วกับ การศึก ษาต้น แบบน าร่อ ง เพื่อ
ประเมิ น ผลเฉพาะการปฏิ บ ต
ั ิก ารของ
้
บทเรีย น โดยเฉพาะผลลัพ ธ ท
์ ี่เกิด ขึน
่
หลังจากศึกษาจบบทเรียนเพือประเมิ
นสิง่
้ เช่ น พฤติก รรมที่เปลี่ ยนไป
ที่เกิด ขึ น
่ ดขึน
้ เป็ นต้น
ผลลัพธ ์ทีเกิ
3) ตรวจสอบรายการ
่
1)
เนื ้อหาบทเรียน (Content)
เพือ
ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ข อ ง เ นื ้ อ ห า
บทเรียน ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค ์
และความยืดหยุ่นในการใช้งาน
่ (Language) ตรวจสอบการ
2) ภาษาทีใช้
ใ ช้ ภ า ษ า แ ล ะ ค า ชี ้ แ จ ง ต่ า ง ๆ โ ด ย
พิจ ารณาด้า นความสอดคล้อ งกับ ระดับ
การศึกษาของผู เ้ รียนกลุ่มเป้ าหมาย
3) ตรวจสอบรายการ (ต่อ)
3) การแสดงผล (Displays) ตรวจสอบสิง่
่
่
ต่างๆทีปรากฏทางหน้
าจอ เกียวกั
บความ
้ านการใช้ภาษาและความลง
ชด
ั เจนทังด้
ตัวทางด้านศิลปะและกราฟิ ก
่
4) แบบทดสอบ (Test) เพือตรวจสอบการ
นาเสนอและการประเมินผลแบบทดสอบ
เ กี่ ย ว กับ ค า สั่ง ที่ ใ ช้ ลัก ษ ณ ะ ข้ อ ส อ บ
ร ว ม ถึ ง ก า ร ฟื ้ น คื น ผ ล ก า ร เ รี ย น เ มื่ อ
้ั
่ง
ผู เ้ รียนเข้ามาศึกษาบทเรียนอีกครงหนึ
3) ตรวจสอบรายการ (ต่อ)
5)
การควบคุมบทเรียนของผู ใ้ ช้ (User
่
Control)
เพือตรวจสอบการควบคุ
ม
่
บทเรียนของผู ใ้ ช้เกียวกั
บความสะดวกใน
ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ มี ก า ร ป ฏิ สั ม พั น ธ ์
ต ล อ ด จ น มี ค า ชี ้แ จ งใ น ก า ร ค ว บ คุ ม
่ ัดเจน
บทเรียนทีช
6)
การวิเ คราะห ก
์ ารตอบสนอง
(Response Analysis) ตรวจสอบว่า
บทเรีย นจะต้อ งไม่ เ กิด ข้อ ผิด พลาดใดๆ
3) ตรวจสอบรายการ (ต่อ)
7) การช่วยเหลือ (Helps) ตรวจสอบการ
่ เ้ รีย นร อ
ช่ว ยเหลือ ของบทเรีย น เมือผู
้ ง
ข อ เ กี่ ย ว กับ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ค ว า ม
สมบู รณ์ของข้อความ
8)
สภาพแวดล้อ มในการใช้ง าน
(Environment) ตรวจสอบการใช้ง าน
บ ท เ รี ย น ต า ม ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ช่ น
่ ง านบนเวป เพือ
่
WBI/WBT
ทีใช้
พิ จ ารณาเกี่ ยวกับ การน าเสนอ การ
แสดงผลการปฏิสม
ั พันธ ์ และการควบคุม
2) การประเมินผลสรุป (Summative
Evalution)
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ลใ น ภ า พ ร ว ม ข อ ง
บทเรียนว่ามีประสิทธิภาพหรือประสิท ธิผล
อยู ่ในระดับใด สามารถน าไปใช้งานตาม
่ องการได้หรือไม่ โดยทัวไป
่
วัตถุประสงค ์ทีต้
การประเมิน ผลสรุ ป จะต้อ งใช้ห ลักและวิธ ี
่
วิจย
ั เพือสรุ
ปและรายงานผลการประเมิน
โดยใช้คา
่ ต่างๆทางสถิต ิ
2) การประเมินผลสรุป (Summative
Evalution) (ต่อ)
่
ซึงจะเป็
นการพิจารณาใน 3 แนวทาง
ดังนี ้
1) ผลสาเร็จของบทเรียน (Success)
เป็ นการประเมิ น ว่ า บทเรีย นบรรลุ ต าม
วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค อ
์ ยู ่ ใ น ร ะ ดับใ ด เ ป็ น ก า ร
ประเมิน ทางด้า นคุ ณ ภาพของบทเรีย น
(Qualitative Evaluation)
2) การวิเคราะห ์ผล (Analysis) เป็ น
การประเมิน ผลความส าเร็จ ของผู เ้ รีย น
จากการใช้บ ทเรีย นว่ า สามารถท าได้
2) การประเมินผลสรุป (Summative
Evalution) (ต่อ)
3)
เจตคติ (Attitudes)
เป็ นการ
ประเมิน ด้า นความคิด เห็ น หรือความรู ส
้ ก
ึ
่ ต่อบทเรียน เช่น ความพึง
ของผู เ้ รียนทีมี
พอใจ หรือการยอมร ับ
3) การสรุปผล
(Review)
ผลลัพธ ์จากการประเมิน ได้แก่ การ
ประเมิน ผลระหว่ า งด าเนิ นการ และการ
่
ประเมินผลสรุป จะต้องสรุปผลเพือรายงาน
ไปยังผู ร้ ับผิดชอบหรือผู บ
้ ริหารโครงการที่
่
่ าข้อ
เกียวข้
องในการพัฒนาบทเรียน เพือน
่ ไ ปเป็ นข้อ มู ลในการพิจ ารณา
ค้น พบทีได้
่ นใน
้
ปร ับปรุงบทเรียนให้มป
ี ระสิทธิภาพยิงขึ
โ อ ก า ส ต่ อไ ป ภ า ยใ ต้ ค า แ น ะ น า จ า ก
่
ผู เ้ ชียวชาญ
้ ดท้าย (Final
4) การยอมร ับขันสุ
Acceptance)
เป็ นการทดสอบเพื่อการยอมร บ
ั
บทเรียนว่าสามารถนาไปใช้งานได้ โดย
ผู อ
้ อกแบบบทเรีย น ผู บ
้ ริห ารโครงการ
่
ทีมงานสมาชิก ลู กค้า และผู ท
้ เกี
ี่ ยวข้
อง
อื่นๆ เพื่ อร่ ว มกัน พิ จ ารณาตรวจสอบ
บทเรียนว่าผ่านการยอมร ับหรือไม่ มีส่วน
่
่
ใดทีจะต้
องแก้ไขเพิมเติ
ม การตรวจสอบ
้ ด ท้า ย
้ั ้ ถือ ว่ า เป็ นการยอมร บ
ั ขันสุ
คร งนี
กระบวนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ์
จึงจะเป็ นการยุต ิ
การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร ์ตาม
แนวทางคอมพิวเตอร ์ศึกษา
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล บ ท เ รี ย น
คอมพิวเตอร ์ตามแนวทางคอมพิวเตอร ์
่ ยมใช้อย่าง
ศึกษา เป็ นวิธก
ี ารประเมินทีนิ
แ พ ร่ ห ล า ยใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า
บ ท เ รีย น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น
CAI/CAT , WBI/WBT หรือ e่ อยู ่หลายวิธ ี
Learning ก็ตาม ซึงมี
จาแนกลักษณะของการประเมิน
ออกเป็ น 5 วิธ ี ดังนี ้
1) การประเมินโครงสร ้างของบทเรียน
2) การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน
3) การประเมินประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียน
4) การประเมินความคงทนทางการเรียน
ของผู เ้ รียน
่
5) การประเมินความคิดเห็นของผู เ้ รียนทีมี
ต่อบทเรียน เช่น ความพึงพอใจ การ
่ ในการประเมิน จะได้จาก
ข้อมู ลทีใช้
่
เครืองมื
อต่างๆ ดังนี ้
1) แบบสอบถามชนิ ดตรวจสอบรายการ
(Checklist)
2) แบบใช้ขอ
้ มู ลสารสนเทศ (Identifying
Information)
3) แบบวัดผลสัมฤทธิ ์ (Achievement
Test)
4) แบบสอบถามความคิดเห็น (Attitude
Questionnaire)
5) แบบสัมภาษณ์ (Interviewing)
่
่ ประเมินผลบทเรียน
เครืองมื
อทีใช้
่
คอมพิวเตอร ์โดยทัวไป
มีด ังนี ้
์
1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี
ยน เช่น
แบบทดสอบก่อนบทเรียน (Pretest)
และ
แบบทดสอบหลังบทเรียน (Posttest)
2) แบบฝึ กหัดระหว่างบทเรียน (Exercise) และ
แ บ บ ท ด ส อ บ ที่ อ ยู ่ ภ า ยใ น บ ท เ รีย น (Work
Sheet หรือ Job Sheet)
3)
แบบสอบถามความคิด เห็ น ได้แ ก่
่
แบบสอบถามความคิด เห็ น ของผู เ้ ชียวชาญ
แบบสอบถามความคิดเห็นของผู เ้ รียน
4) แบบสัมภาษณ์หรือแบบสังเกตการณ์
การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน
และ
์
ผลสัมฤทธิทางการเรี
ยนของผู เ้ รียน
เ ป็ น วิ ธ ี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล บ ท เ รี ย น
่ ร ับความนิ ยมมากทีสุ
่ ด
คอมพิวเตอร ์ทีได้
่
เนื่ องจากเป็ นวิธก
ี ารประเมินผู เ้ รียนทีได้
จากการศึก ษาบทเรีย น พฤติ ก รรมที่
ผู ้ เ รี ย น แ ส ด ง อ อ ก จึ ง เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก
้ น
้ พัฒ นามา
คุณ ภาพของบทเรีย นทังสิ
จ า ก ก า ร ห า เ ก ณ ฑ ์ม า ต ร ฐ า น ข อ ง
่
บทเรียนโปรแกรม ซึงยอมร
ับกันว่าผลมี
่ ด
ความใกล้เคียงกับความเป็ นจริงมากทีสุ
จาแนกการประเมินออกเป็ น 3 วิธ ี
ดังนี ้
1) ประสิทธิภาพของบทเรียน
(Efficiency)
์
2) ประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิทางการ
เรียนของผู เ้ รียน (Effectiveness)
3) ความคงทนทางการเรียนของผู เ้ รียน
(Retention of Learning)
ประสิทธิภาพของบทเรียน
(Efficiency)
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง บ ท เ รี ย น
์
คอมพิวเตอร ์ ในการสรา้ งผลสัมฤทธิให้
ผู เ้ รีย นมีค วามสามารถท าแบบทดสอบ
ร ะ ห ว่ า ง บ ท เ รี ย น แ บ บ ฝึ ก หั ด ห รื อ
แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง บ ท เ รี ย น ไ ด้ บ ร ร ลุ
วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค ใ์ น ร ะ ด ับ เ ก ณ ฑ ข
์ ้ัน ต่ า ที่
กาหนดไว้
่ เกิ
่ ด จาก
นิ ย มใช้ค ะแนนเฉลียที
แบบฝึ กหัด หรือ ค าถามระหว่ า งบทเรีย น
กับ คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบแล้ว
ความหมายของประสิทธิภาพของ
บทเรียนคอมพิวเตอร ์
95 – 100 %
บทเรียนมีประสิทธิภาพดี
่ (Excellent)
เยียม
90 – 94 %บทเรียนมีประสิทธิภาพดี
(Good)
85 – 89 %บทเรียนมีประสิทธิภาพดีพอใช้
(Fairly Good)
80 – 84 %บทเรียนมีประสิทธิภาพพอใช้
(Fair)
< 80 %
บทเรียนต้องปร ับปรุง
ข้อพิจารณาในการกาหนดเกณฑ ์
มาตรฐานของบทเรียน
บทเรีย นส าหร บ
ั เด็ ก เล็ ก ควรก าหนด
เกณฑ ์ไว้สูง 95 – 100 %
บทเรีย น ส าหร บ
ั เนื ้ อหาวิ ช าทฤษฎี
ห ลัก ก า ร ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด แ ล ะ เ นื ้ อ ห า
้
ควรกาหนดไว้ 90 – 95 %
พืนฐาน
บ ท เ รี ย น ที่ มี เ นื ้ อ ห า วิ ช า ย า ก แ ล ะ
ซบ
ั ซอ
้ น ต้อ งใ ช้ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร ศึ ก ษ า
มากกว่าปกติควรกาหนดไว้ 85 – 90 %
บทเรีย นวิช าปฏิบ ต
ั ิ วิช าประลอง หรือ
วิชาทฤษฎีกงปฏิ
ึ่
บต
ั ิ ควรกาหนดไว้ 80 – 85
วิธก
ี ารหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ ์
มาตรฐาน Event1/Event2
่
E1
ได้จาก คะแนนเฉลียของผู
เ้ รียน
ทั้ ง ห ม ด จ า ก ก า ร ท า แ บ บ ฝึ ก หั ด
(Exercise)
หรือ แบบทดสอบ (Test)
่
ของบทเรียนแต่ละชุด หรือ คะแนนเฉลีย
้
ของผู เ้ รียนทังหมดจากการตอบค
าถาม
ระหว่างบทเรียนของบทเรียนแต่ละชุด
่
E2
ได้จาก คะแนนเฉลียของผู
เ้ รียน
ทั้งหมดจากการท าแบบทดสอบหลัง
บทเรียน (Posttest)
่ จากการทาแบบฝึ กหัด
X คะแนนทีได้
ระหว่างบทเรียน (E1)
่ จากการทา
Y คะแนนทีได้
แบบทดสอบหลังบทเรียน (E2)
A คะแนนเต็มของแบบฝึ กหัดระหว่าง
บทเรียน
B คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลัง
ตัวอย่างเช่น
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง บ ท เ รี ย น
88/86
สามารถแปลความหมายได้ว่า
บทเรีย นมี ค วามสามารถในการสร า้ ง
ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ์ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ ท า
แบบทดสอบหลัง บทเรีย นแต่ ล ะชุ ด ได้
่ ้อยละ 88 และสามารถทา
คะแนนเฉลียร
่
แบบทดสอบหลังบทเรียนได้คะแนนเฉลีย
่
รอ้ ยละ 86
แสดงว่าเป็ นบทเรียนทีมี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ บ ท เ รีย นใ น ขั้น ดี พ อใ ช้
(Fairly Good) สามารถนาไปใช้งานได้
์
ผลสัมฤทธิทางการเรี
ยน
(Effectiveness)
่
ความรู ้ของผู เ้ รียนทีแสดงออกมาใน
รู ปของคะแนนหรือระดับความสามารถใน
การท าแบบทดสอบหรือ แบบฝึ กหัดได้
่ กษาเนื ้อหาบทเรียน
ถู กต้อง หลังจากทีศึ
์ า ง ก า ร เ รีย น จึ ง
จ บ แ ล้ ว ผ ล สัม ฤ ท ธิ ท
้ั
สามารถแสดงผลได้ท งเชิ
ง ปริม าณและ
เชิงคุณภาพ
์
ผลสัม ฤทธิ ทางการเรี
ย นอี ก
อย่ า งหนึ่ งว่ า การหาหรือ การทดสอบ
่
ประสิท ธิผ ล ซึงตรงกั
บ ภาษาอ งั กฤษว่ า
Performance
Test
หรือ
่ ความหมาย
Achievement Test ซึงมี
เหมือนกับ Effectiveness Test
์
ยน ในทาง
ผลสัมฤทธิทางการเรี
ปฏิบต
ั ม
ิ ก
ั นิ ยมจะนาเสนอในเชิงคุณภาพ
เช่น หลังจากศึกษาบทเรียนแล้วผู เ้ รียน
์
้
มีผลสัมฤทธิทางการเรี
างมี
ยนสู งขึนอย่
่
นัยสาคญ
ั ทางสถิตท
ิ ระด
ี่
บ
ั 0.05
เมือ
ความคงทนทางการเรียน
(Retention of Learning)
การ คงไว้ซ ึ่ง ผลการ เรีย น หรือ
ความสามารถของผู เ้ รีย นที่จะระลึก ถึง
ควา ม รู ท
้ ี่ เ ค ย มี ป ร ะ สบ กา ร ณ์ ผ่ า น ม า
่ านไปชวระยะเวลาหนึ
่ั
่ ง เช่น
หลังจากทีผ่
่
่
สัปดาห ์หนึ่ ง หรือเดือนหนึ่ ง ซึงการที
จะ
้ วน
จดจาความรู ้ได้มากน้อยเพียงใดนันส่
้
่ น
หนึ่ งขึนอยู
่กบ
ั กระบวนการเรียนรู ้ ทีเป็
สิ่ งเ ร า
้ กระ ตุ ้นให้ผู ้เ รีย นจดจ าได้เ ป็ น
สาค ัญ
่
วิธช
ี ว
่ ยความจาเพือให้
เกิดความ
คงทนทางการเรียน
่ มค
1) นาเสนอสิงที
ี วามหมายต่อผู เ้ รียน
แ ล ะ พ ย า ย า ม ท า สิ่ ง ที่ เ รี ย นใ ห้ มี
ความหมาย
่ เรี
่ ยนเพือให้
่
2) แยกแยะสิงที
เห็นอย่างชด
ั
แจ้งว่าแต่ละส่วนๆ มีความหมายอย่า งไร
ถ้า น าเสนอโดยปราศจากการพิจารณา
ด้วยเหตุผล จะทาให้ลม
ื ง่ าย
3)
พยายามให้ผู เ้ รีย นมีส่ ว นร่ว มใน
กระบวนการเรีย นรู ต
้ ลอดบทเรีย น เช่น
การปฏิส ม
ั พันธ ์ การทากิจกรรมร่วม จะ
่
วิธช
ี ว
่ ยความจาเพือให้
เกิดความ
คงทนทางการเรียน
4) จัดการด้านช่วงระยะเวลาการนาเสนอ
ค ว า ม รู ้ใ ห ม่ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ไ ม่ ค ว ร
นาเสนอเนื ้อหาต่อเนื่ องกันเป็ นเวลานาน
จะท าให้ผู เ้ รีย นเกิด ความสับ สนและจ า
ไม่ได้
5) ใช้ประสบการณ์เดิมของผู เ้ รียนเป็ นหลัก
ในการถ่ายทอดองค ์ความรู ้ให้สม
ั พันธ ์กัน
อย่า งต่อเนื่ อง โดยเป็ นแบบค่อ ยเป็ นค่อ ย
ไป
่ เรี
่ ยนรู ้มาแล้วบ่อยๆจะได้ทา
6) ทบทวนสิงที