ศานา สังคม กับการต่อต้านทุจริต

Download Report

Transcript ศานา สังคม กับการต่อต้านทุจริต

ศาสนา สั งคม กับการต่ อต้ านการทุจริต
สมหวัง วิทยาปัญญานนท์
วันพุธที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕
เวลา ๐๙.๐๐ -๑๒.๐๐ น.
ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ เขตบางพลัด กรุ งเทพฯ
1
ยินดีต้อนรั บ
นักบริ หารยุทธศาสตร์
การป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต
ระดับสู ง
นยปส. รุ่ นที่ ๓ สานักงาน ป.ป.ช.
2
ประวัติผู้บรรยาย
• จบปริ ญญาตรี วศ.บ.เหมืองแร่ และโลหะวิทยา จาก
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ปี 2523
• จบปริ ญญาโท วศ.ม.อุตสาหการโรงงาน จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กทม
ปี 2529
• รับราชการที่ กรมทรัพยากรธรณี (กพร.ในปัจจุบนั ) เป็ นเวลา 10 ปี ด้าน
ความปลอดภัยในการทาเหมือง เริ่ มปี 2524
• ทางานที่ปูนซิ เมนต์ไทย (SCG ในปัจจุบนั ) เป็ นเวลา 21 ปี ด้านการทา
เหมืองหิ น ดิน ถ่านหิ น ยิปซัม่ ไพโรฟิ ลไลต์ เริ่ มปี 2534
• เจ้าของเว็บไซต์ ภูมิปัญญาอภิวัฒน์ www.budmgt.com 12 ปี
• ความเชี่ยวชาญพิเศษ ด้าน เสถียรภาพความลาดเอียง การระเบิดหิ น การ
บริ หารงานเหมือง การบริ หารเชิงพุทธ การลดต้นทุนการทาเหมือง
สิ่ งแวดล้อมในการทาเหมือง การฟื้ นฟูเหมือง การพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน
การแต่งเพลงประเภทชีวิตคนทางาน เทคโนโลยีจ่ ุลินทรี ยอ์ ีเอ็ม เทคโนโลยี่
3
เอ็นไซม์สมุนไพรเพื่อสุ ขภาพ
แนวทางบรรยาย
• ไม่ได้มุ่งเน้นการบรรยายจริ ยธรรม หรื อธรรมะ แบบทัว่ ไป ที่สอนกันมา
มากแล้ว หรื อไม่ใช่ ธัมมะหรื อธัมโม ที่คนสมัยใหม่ชอบเรี ยกคน
หัวโบราณ
• แต่มุ่งเน้นที่ การทาความเข้าใจหลักคิดในศาสนา ที่เรารู ้ๆ กันอยู่ แต่ยงั
มองผิวเผิน(รู ้จกั ) ก็มามองให้ละเอียด(รู ้จริ ง) ลองทาตามแล้วได้ผล
พัฒนาสานต่อจนลึกซึ้ง (รู ้แจ้ง) มาวิเคราะห์ปัญหาในการทางาน และ
ค้นหาวิธีการ ที่จะสู่การแก้ปัญหาในการบริ หารงาน หรื อ การจัดการกับ
ปัญหา แบบ 3 ป มี ปริ ยตั ิ ปฎิบตั ิ ปฏิเวธ
4
เนื้อเรื่ อง
ศาสนา สั งคม กับการต่ อต้ านการทุจริต
•
•
•
•
•
•
•
•
กรอบความคิดการต่ อต้ านทุจริต
พฤติกรรมทุจริ ต
ภาพรวมการต่ อต้ านทุจริตในสังคมปัจจบุ ัน
การปฏิบัติภารกิจตามหลักสัมมาวิริยะในการต่ อต้ านการทุจริ ต
การบริ หารเชิงพุทธมาใช้ ในการต่ อต้ านการทุจริ ต
พฤติกรรมสังคมต่ อต้ านทุจริต
การใช้ กลยทุ ธปฏิบัติภารกิจต่ อต้ านทุจริ ต
การจัดการความร้ ูเชิงพุทธต่ อต้ านทุจริ ต
5
กรอบความคิด
การต่ อต้ านทุจริ ต
6
ประเด็นคาถามเข้ าสู่ เนื้อเรื่ องตามกรอบความคิด
•
•
•
•
•
•
ปรั ชญาประเด็นคาถามเข้ าสู่ กระบวนการทางปัญญา
กรอบความคิดเริ่ มต้ นของการแก้ปัญหาทุจริ ต
กรอบความคิดเริ่ มต้ นจากผ้ ทู จี่ ะแก้ปัญหาทุจริ ต
ประเด็นคาถามตีเปลือกกับการต่ อต้ านทุจริ ต
ประเด็นคาถามเข้ าเนื้อกับการต่ อต้ านทุจริ ต
ประเด็นคาถามลึกถึงแก่นกับการต่ อต้ านทุจริ ต
7
ปรั ชญาประเด็นคาถามเข้ าสู่ กระบวนการทางปัญญา
เมื่อเราต้องการเจาะลึกถึงปัญหาแล้วหาคาตอบเพื่อการลดชัว่ เพิ่มดี รักษาสิ่ งดี ดับปัญหา
คาถามเข้ าเนือ้
คาถาม ที่คนช่างถาม มัก
ถามต่อยอดจากการถามตี
เปลือก
คาถามลึกถึงแก่ น
คาถามที่คนมีความรู ้จะถามลึกลงไปเป็ นชั้นๆ
ลงรายละเอียดไปเรื่ อย เพื่อหาสาเหตุรากเหง้า
แห่งปัญหา รู ปแบบคาถาม เช่น ทาไมทาไม
ถามแบบ Why-Why Analysis
ถามแบบปฏิจจสมุปบาท ถามเชิงอริ ยสัจจ์ ถาม
แบบโยนิโสมนสิ การ ถามเชิงอรรถที่ตอ้ ง
อธิบายธรรมประกอบเรื่ อง
เปลือก
เนือ้
แก่น
คาถามตีเปลือก
คาถามที่คนทัว่ ไปที่
ช่างคิดชอบถาม เช่น
ทาไม อะไร ที่ไหน
อย่างไร เมื่อไร และ
มักจะจบแค่น้ นั แต่
ส่ วนใหญ่(คนไทย)
มักไม่ค่อยชอบถาม
ลด เพิม่ รักษา ดับ
มีความหมายอย่ างไร
ดูที่ สัมมาวิริยะ
8
อ้ างอิง ธรรมชาติของต้ นไม้ และสรรพสิ่งในโลก
ประเด็นคาถามสู่ การเดินเรื่องแห่ งความคิด
กรอบความคิดเริ่ มต้ นของการแก้ ปัญหาทุจริ ต
การนาหลักศาสนามาใช้ ในการบริหารจัดการหน่ วยงาน
การดาเนินวิถีชีวติ ในสั งคม กับการต่ อต้ านการทุจริต
And/or gate
หลักคิด สิ่ งป้อน
หลักศาสนา
พุทธ คริ ตส์ อิสลาม
ศาสดา คาสอน
กฎการเกิด
ทาดีได้ดี ทา
ชัว่ ได้ชวั่ กฎ
ธรรมชาติ
เคมี ฟิ สิ กส์
หลักทา
เงือ่ นไขการเกิด
กฏหมาย กฎแห่ง
กรรม ส่ งผลจริ ง
สังคมยอมรับ
สภาวะที่เกิด
ปัญหาทุจริต
แก้ ให้ สุจริต
การบริหารจัดการ
ทางโลก(4M) ทางธรรม(กาย วาจา ใจ)
ทฤษฏีบริ หาร ที่ไหน (องค์กร สังคม)
กระบวนการ
แก้ ปัญหาทุจริต
อ้ างอิง กฎอิทัปปัจจยตา (System Analysis)
สิ่ งที่ได้ รับ
ผลลัพธ์
ดัชนีช้ ีวดั
จานวนทุจริตลดลง สุ จริตเพิม่ ขึน้
วิสัยทัศน์
สั งคมมีวถิ ีชีวติ สุ จริต
ความรู้ในการจัดการปัญหา (KM)
กรณีเรียนรู้ ทฤษฏีใหม่
9
ประเด็นคาถามสู่ การเดินเรื่องแห่ งความคิด
กรอบความคิดเริ่ มต้ นจากผ้ ทู จี่ ะแก้ ปัญหาทุจริ ต
กรอบการต่ อต้ านทุจริต
ประสบการณ์สูง
เป็ นผูบ้ ริ หาร
รู ้ปัญหาและ
อุปสรรค์เป็ นอย่างดี
สังคมเปลีย่ นไป
ปัญหายังมีอยู่
ควบคุมไม่ ได้
ผู้สัมมนา
นักบริหารระดับสู ง
หลักสู ตร
ยุทธศาสตร์
ภารกิจ
ป้ องกันและปราบปราม
อ้ างอิง กฎไตรลักษณ์ อนิจจจัง ทุกขัง อนัตตา คือไม่ แน่ นอน เป็ นปัญหา และควบคุมไม่ ได้
คิดเหมือนเดิม ผลไม่เปลี่ยน
ต้องมีแนวคิดใหม่
กลยุทธ์เดิม กลยุทธใหม่ ที่
สอดคล้องกับกระแสสังคมที่
เปลี่ยนแปลงไป
การวิเคราะห์ SWOT
การวัดประสิ ทธิภาพกลยุทธ
คิดแค่ป้องกันปราบปรามอาจไม่เพียงพอ
จาเป็ นต้องมี Early warning และ
การฟื้ นฟูดึงกลับหรื อไม่
10
ประเด็นคาถามสู่ การเดินเรื่องแห่ งความคิด
ประเด็นคาถามตีเปลือกกับการต่ อต้ านทุจริ ต
ทาไมคนจึงทุจริ ต (หาที่มา)
ทุจริ ตไปทาไม หรื อได้อะไร (เพื่ออะไร)
ทาไมเขาจึงไม่กลัวถูกลงโทษ (ดูสภาวะความกลัว)
เขารู ้หรื อเปล่าว่า เขากาลังทุจริ ต (ดูสติ ความรอบรู ้ การสัง่ สอน)
เขารู ้หรื อเปล่าว่า ทุจริ ตไม่ดีแค่ไหน (ดูภาวะความคิดและปัญญา)
มีใครบ้างที่สนับสนุนเขาให้ทุจริ ต (ดูสภาวะสังคม)
ยอมรับการทุจริ ต แต่ขอแบ่งปั นบ้าง แสดงว่าสังคมเป็ นอย่างไร(มิฉาทิฎฐิ)
ทุจริ ตบ้าง สุ จริ ตบ้าง ถือว่า กลางๆ หรื อเปล่า หรื อเป็ นกลุ่มทุจริ ตอยูด่ ี (ดูภาพการ
วินิจฉัย ตรรกะการคิด ของสังคม)
• รวยแล้วไม่ทุจริ ตหรอก จริ งหรื อเปล่า (ดูภาษาชี้นาความคิดสังคม)
•
•
•
•
•
•
•
•
11
ประเด็นคาถามสู่ การเดินเรื่องแห่ งความคิด
ประเด็นคาถามเข้ าเนื้อกับการต่ อต้ านทุจริ ต
• เขาทุจริ ต เพราะอะไร ยากจน หรื อเข้าตาจน หรื อตามน้ า หรื อไม่รู้ (คาถามนา)
• คนยากจนที่สุจริ ต มีหรื อเปล่า คนรวยที่ชอบทุจริ ต มีหรื อไม่(Y/N,N/Y)
• เขาเริ่ มทุจริ ต ตั้งแต่เมื่อไร ตั้งแต่เด็ก หรื อเริ่ มรับราชการ หรื อเมื่อมีตาแหน่งใหญ่โต
(ดูสิ่งแวดล้อมที่ชกั จูง)
• ในสังคมของเขา เขาทุจริ ตคนเดียว หรื อส่ วนใหญ่เป็ นเช่นนั้น (ดูกระแสสังคม)
• หน่วยงานไหนที่มีโอกาสทุจริ ตสู ง เพราะเหตุใด (เล็งเพ่งจุด)
• ทุจริ ตเพื่อเงิน มีทุจริ ตเพื่ออย่างอื่นอีกหรื อไม่ (แง่มุมที่แตกต่าง)
• กรรมพันธุ์และการเลี้ยงดูอบรม ส่ งผลต่อพฤติกรรมทุจริ ตและสุ จริ ตอย่างไร (เหตุและ
ผล)
• คิดว่า ผูป้ ระพฤติธรรม ตอนนี้ดี ต่อไป มีโอกาสทุจริ ตหรื อเปล่า (หลักคิดเชื่อมโยง)
12
ประเด็นคาถามสู่ การเดินเรื่องแห่ งความคิด
ประเด็นคาถามลึกถึงแก่นกับการต่ อต้ านทุจริ ต
• ทาไมเขาจึงยักยอกเงิน วิเคราะห์เชิงปฏิจจสมุปบาท จาก 12 ห่วงเชื่อมโยง ทุกกรณี
มักจบด้วยอวิชชา คือความไม่รู้ หลงผิด คิดผิด
• อริ ยสัจจ์ หากใช้แบบตรงข้าม จะเป็ น มาร+มายา ดังนี้ ทุกข์ เป็ นปั ญหา ไม่มีสุข เหตุ
จากขาดเงิน ทางแก้หาเงินเพิ่ม รวยเร็ วต้องโกงและเอาเปรี ยบ เป้ าหมายร่ ารวยอยู่
หรู หรา แต่สุดท้ายมักจบไม่ดี ไม่ยงั่ ยืน
• โยนิโสมนสิ การ คิดแยบคายพิจารณาปั ญหาและทางแก้ 10 รู ปแบบ หากวิเคราะห์
เก่ง ก็จะจบปั ญหาด้วยดี ไม่คิดแก้ปัญหาโดยทุจริ ต
• หากทาให้เขาเป็ นคนดี แล้วเขาก็ไม่มีทางทุจริ ต ก็เป็ นการปกป้ องการทุจริ ต
• ลองอธิบาย อายตนะหก (ประตูหกทางเข้าสู่ ตวั เรา) กับการทุจริ ต
• เราหลงกับโลกธรรมแปด จึงเป็ นเหตุให้เราจับยึดกับสิ่ งสมมติ
• ตัณหา กิเลส เป็ นสิ่ งกระตุน้ ให้คนเรา เข้าหาสิ่ งทุจริ ตได้ง่าย
• อคติ ในการตัดสิ น เอื้ออานวยสู่ การประพฤติมิชอบ
13
พฤติกรรมทุจริ ต
14
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ทาไมมนุษย์ จึงมีพฤติกรรมทุจริ ตเพิม่ ขึน้
ทฤษฎีแมลงในขวดโหล
มนุษย์ก่ ึงพุทธกาล
ทฤษฏีจุลินทรี ย ์
อานาจเงินตรากับบารมีน้ าใจ
กระแสเศรษฐกิจโลกาภิวฒั น์ ทุนนิยม(สามาน) พาเข้าสู่ยคุ บริ โภคนิยม
กระบวนการทุจริ ต-สุ จริ ต
กระบวนการเล่ห์กลเพื่อการทุจริ ต
ห่วงโซ่ปัญหากับสังคมทุจริ ต
สายธารแห่งการทุจริ ต
15
ปรั ชญาแห่ งพฤติกรรมมนุษย์ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
อาหาร
ทฤษฏีแมลงในขวดโหล
ขวดโหล
จานวนทรัพยากร
ยุดอุดมสมบูรณ์
จานวนประชากรมนุษย์
ยุดเริ่มขาดแคลน ยุดโรคระบาด
ทรัพยากร : อาหาร พลังงาน ของใช้สอย
มาก
ยุดฟื้ นตัวใหม่
สิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรม
วิกฤติมวลมนุษย์
เริ่ มแย่แล้ว : ภาวะ
แย่งชิงทรัพยากร
แมลง
คุณภาพสิ่ งแวดล้อม
ปานกลาง
จานวนประชากรมนุษย์
น้ อย
อดีต
ปัจจุบัน
ต้องแก้ไขให้ช่วงเวลานี้ส้ ันลง
อนาคต
กาลเวลา
16
ปรั ชญาแห่ งพฤติกรรมมนุษย์ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
เรียนรู้จากทฤษฏีแมลงในขวดโหล
ภาพรวม
• มนุษย์เริ่ มก้าวสู่ จานวนประชากรมากเกินกว่าทรัพยากรที่มีอยู่ จนขาดสมดุล ใช้
ทรัพยากรมากมายทั้งจาเป็ นและไม่จาเป็ น ทาลายสิ่ งแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการ
ดารงชีวิต
• สมดุลคือ จานวนประชากรที่พอดี กินพอดี กับทรัพยากรที่ใช้ แล้วไม่ขาดหายลดลง
สามารถฟื้ นตัวและอยูต่ ่อใช้สอยได้อีกเป็ นล้านปี ได้
ยุคปัจจุบัน
• ภาวะเสี ยสมดุล จะเกิดโรคที่มีเหตุจากสิ่ งแวดล้อม รักษาได้ยาก เพราะต้นเหตุยงั อยู่
• เกิดภาวะแย่งชิงทรัพยากร เอามาเป็ นเจ้าของของกลุ่มตน โดยไม่ เลือกวิธีการว่ าสุจริ ต
หรื อทจุ ริ ต สังคมมนุษย์ต่างชั้นห่ างขึ้น ใครแข็งเรงอยูต่ ่อ
• เกิดทฤษฎีเศรษฐกิจ ทีเ่ น้ นการเอาเปรียบได้ เปรียบ ส่ งเสริ มการบริ โภคอย่างไร้ขีดจากัด
17
เน้นเงินเป็ นหลัก จะมีประโยชน์อย่างแท้จริ งหรื อเปล่าก็ไม่สนใจ
จะแก้ไขกันได้ อย่ างไร
มนุษย์ กงึ่ พุทธกาล (พ.ศ.๒๕๐๐)
อิฐลอยน้ า
สุ นัขกินในถาดทองคา
ผู้ดเี ดินตรอกขีค้ รอกเดินถนน
สภาพสังคมแบบนี้ เหมือนกันทัง้ โลก
สิ่งไม่ ดี โผล่ ออกมา ไม่ น่าจะเป็ นไปได้ ก็เป็ นไปได้ แล้ ว
คนไม่ ดแี ล้ วมาเป็ นผู้นาในสังคม คนดีถอยกลับไปเก็บตัว 18
เรียนรู้จากมนุษย์ กงึ่ พุทธกาล
• สิ่ งที่เป็ นไปไม่ได้ ก็เป็ นไปได้ 1+1 อาจไม่เท่ากับ 2 คนอาชีพไม่
สุ จริ ตได้รับเลือกมาเป็ นตัวแทนประชาชน
• คนไม่ดีได้เป็ นใหญ่ ได้ดี เพราะใช้วิชามาร มีเปอร์เซ็นต์สูง
• แนวคิดกลับทางดาเป็ นขาว โกงรวยกว่าทาตรงๆ อาชีพทุจริ ตพาร่ ารวย
คิดว่าใช้กลยุทธ แต่เป็ นเจ้าเล่ห์เพอุบาย โกงคนอื่นมาไม่เป็ นไรขอแบ่ง
บ้าง
• พูดขาวเป็ นดาได้ พูดดาเป็ นขาวได้ ใช้เหตุผลชี้นาได้แบบผิดๆ โดยที่
ผูฟ้ ังก็เคลิ้มตาม ว่าเป็ นเช่นนั้น
• ใช้หลักอาชญาเศรษฐศาสตร์ เช่น ทาผิด 10 ครั้ง ถูกจับ 2 ครั้ง คุม้ ค่าก็
ทา
• อานาจและเงินตราซื้ออะไรได้หลายอย่าง
19
• ภัยพิบตั ิธรรมชาติลงโทษมนุษย์ แทนกฎที่บญั ญัติโดยมนุษย์
ทฤษฏีชีวติ จุลนิ ทรีย์
จุลินทรี ยฝ์ ่ ายดี : หอม แก๊ส
บริ สุทธ์ ถนอมอาหาร
ดี 10%
ร้ าย 10%
ฝ่ ายร้ายไม่มีอานาจ หดตัวลง
ฝ่ ายดีครองอานาจ เพิ่มพลัง
ร้ าย < 5%
ดี > 15%
จุลินทรี ยก์ ลาง : ไม่ส่งผล
กระทบ เข้าร่ วมด้วยกับฝ่ ายชนะ
ฝ่ ายดีไม่มีอานาจ หดตัวลง
ฝ่ ายร้ายครองอานาจ เพิ่มพลัง
ดี < 5%
ร้ าย > 15%
สังคมลูกผสม
ขอแอบอิง
สังคมคนดี
กลาง 80%
จุลินทรี ยฝ์ ่ ายร้าย : เหม็น
ปล่อยแก๊สพิษ บูดเน่า
กลาง 80%
สังคมกลางๆ (ลูกผีลูกคน)
หรือ สังคมสับสน
อาหารทีห่ มักดีบ้างบูดบ้ าง
สังคมคนดีปกครอง
อาหารทีห่ มัก ได้ เอ็นไซม์ อยู่ได้ นาน มีประโยชน์
ขอแอบอิง
กลาง 80%
สังคมโจร
สั งคมคนชั่วปกครอง
อาหารทีห่ มัก เกิดบูดเน่ า มีพษิ กินแล้ วท้ องเสี ย ควร
20
เอาไปเททิง้
เรียนรู้ทฤษฏีชีวติ จุลนิ ทรีย์
• สังคมมนุษย์กเ็ หมือนสังคมจุลินทรี ย ์
• ภาวะสังคมคนดีปกครอง เราก็จะเห็นคนส่ วนใหญ่ทาดีเป็ นปกติวิสยั ไม่
สงสัยเรื่ องทาดีได้ดี เป็ นกลุ่มสุ จริ ตชน
• ภาวะสังคมครึ่ งๆกลางๆ คนดีคนชัว่ สลับกันปกครอง ดูอะไรก็คลุมเครื อ
ไปหมด สังคมสับสน คิดผิดคิดถูก เห็นขาวเป็ นดา เห็นดาเป็ นขาว
• ภาวะสังคมคนชัว่ ปกครอง เราจะเห็นคนส่ วนใหญ่โกงกินจนเป็ นปกติ
วิสยั ทุจริ ตชนมีอยูม่ ากมาย คิดว่า ไม่โกงก็โง่ตาย เห็นการทุจริ ตและ
ร่ ารวย ไม่เห็นถูกลงโทษ สังคมมองเห็นกงจักรเป็ นดอกบัว เห็นคนชัว่
เป็ นคนดี
21
อานาจเงินตรากับบารมีน้าใจ
แนวคิดสู่ ความยิง่ ใหญ่ เหนือคนอืน่ ทางโลก
ทาให้เกรง
กลัว เน้นการ
บังคับ ให้คุณ
ให้โทษ มีคน
อื่นมอบให้
บารมี
อานาจ
ใช้ อานาจหา
เงินตรา
ใช้บารมีและ
น้ าใจเป็ นส่ วน
น้อย
แนวคิดสู่ ความยิง่ ใหญ่ ทางธรรม
เงินตรา
ใช้ เงินตราหา
อานาจ
เงินอันตรายดัง่ อสรพิษ
อานาจเป็ นดาบสองคม สร้ างความเครียด เอือ้ ต่ อการทุจริตได้ ง่าย
ใช้ บารมีสร้ าง
นา้ ใจ
หมดยศตาแหน่งคน
ยังนับถือ ให้คนเต็ม
ใจทา ปรารถดีต่อคน
อื่น พลังอยูท่ ี่ตวั เอง
ใช้ นา้ ใจสร้ าง
บารมี
นา้ ใจ
ใช้อานาจและ
เงินตราเป็ น
ส่ วนน้อย
บัญชีออมใจสร้ างความประทับใจ
บารมีสร้ างความอบอุ่นใจ
22
เรียนรู้อานาจเงินตรากับบารมีนา้ ใจ
• มารวิถี เน้นทางวัตถุ ใช้เงินมาหาอานาจ แล้วใช้อานาจเป็ นช่องทาง
โอกาสหาเงินได้มากมาย มักมีการทุจริ ตแบบแยบยล ไม่มีใครโต้แย้ง
เพราะอานาจอยูท่ ี่ตวั เอง ไม่มีใครทาอะไรได้ และต้องครองอานาจให้
มากและนานที่สุด ในภาพที่ปรากฎเป็ นเทพ เนื้อในแอบมาร เป็ นเทพมาร
• เทพวิถี เน้นทางใจทางธรรม ใช้น้ าใจมาสร้างบารมี เมื่อมีบารมีกม็ ีคน
สนับสนุนยอมรับ ก็เอาบารมีมาสร้างน้ าใจแบบบัญชีออมใจ ครอง
อานาจด้วยความเป็ นธรรม ภาพที่ปรากฎเป็ นเทพแท้ เนื้อในก็เป็ นอาริ ยะ
ชน
23
กระแสเศรษฐกิจโลกาภิวฒ
ั น์ ทุนนิยม(สามาน)
พาเข้ าสู่ ยุคบริโภคนิยม
เศรษฐกิจบริโภคนิยม
เศรษฐกิจพอเพียง
• สอนให้ข้ ีเกียจ บริ โภคมากๆ พึ่งพาคนอื่น ทางานเป็ น
หน้าที่
• สอนให้ขยัน บริ โภคพอควร พึ่งพาตนเองเป็ นหลัก ทางานเป็ น
องค์รวม ทั้งหมด หรื อหลายๆ บ้านมารวมกันเป็ นหนึ่งกลุ่ม
• เน้นให้ซ้ือหา ยิง่ ซื้อมาก ผูข้ ายก็ยอ่ มเติบโต กาไรมาก
• เน้นการทาเองกินเอง ซื้อน้อย จึงใช้เงินน้อย ผูข้ ายไม่ชอบ เพราะ
ธุรกิจเติบโตช้า
• มีการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้ นเปลือง
• มุ่งสู่ เกษตรเคมี ชีวติ เคมี ทั้งคน พืชอาหาร และสัตว์เลี้ยง
• ใช้ทรัพยากรคุม้ ค่า
• มีการวิจยั มีเทคโนโลยี่ ที่เป็ นเอกสิ ทธิ์ ห้ามคนอื่นใช้
• มุ่งสู่ วถิ ีชีวติ แบบธรรมชาติ มีความสมดุลย์ชีวติ งาน สิ่ งแวดล้อม
เศรษฐกิจ และสังคม รู ้จกั พอ
• มีกลยุทธการทาลายการพึ่งพาตนเอง เช่น ให้มีหนี้สิน ใช้
เคมีของเขา เมล็ดพันธุ์ของเขา หากฝื นจะไม่ได้ผล การกรี ด
กันคนอื่นทางกฎหมาย การเป็ นผูข้ ายรายเดียว
• มีกลยุทธการพึ่งพาตนเอง มีปราชญ์ชาวบ้าน พยายามสร้างเมล็ด
พันธุ์ตวั เอง มีภูมิปัญญา เป็ นตัวเองสู ง ถูกหลอกยาก เพราะไม่โลภ
และมักเป็ นคนที่มีภูมิธรรมสู ง สังเกตุได้เลย
• ประชาชนเริ่ มเป็ นผูใ้ ช้ ผลิตไม่เป็ น หนี้สินมาก เป็ นผูย้ อม
จานน ถูกหลอกง่าย เห็นแก่เงินและวัตถุ มักสุ ขจากการรับ
• ประชาชนในกลุ่มจะรวมตัวกัน หนี้สินไม่มี มีสินค้าก็ขายถูก ใน
ชีวติ เน้นความสุ ขทางใจ จากการให้มากกว่าการรับ
• เปิ ดโอกาสให้ผลู ้ ่า ออกกลยุทธทุจริ ต ได้ง่าย
• จะไม่เป็ นผูล้ ่า แต่จะเป็ นกลุ่มที่ต่อต้านการล่า มักเป็ นสุ จริ ตชน
24
และช่วยคนอื่นปกป้ องไม่ให้เอาเปรี ยบ แบบเมตตาธรรม
กระบวนการทุจริต-สุ จริต
ยากจน มีหนีส้ ิ น อยากเท่ า
เทียมเพือ่ น
ทุกข์
อยากมี อยากเป็ น ไม่
อยากมีไม่ อยากเป็ น
ความอยาก
ตัญหา
ศาสนา การอบรมสั่ งสอน
การมองเห็นโทษของการทุจริต
ไม่ อยากได้ หากได้ มาไม่ ถูกต้ อง
มีโอกาสก็ไม่ ทาชั่ว
คุณธรรม จริยธรรม
สุ จริต
มี
โอกาส
รัก โลภ
โกรธ หลง
บวก
มีสติปัญญากากับ
มีกลั ยาณมิตร
การคิด
เวทนา
ไม่ มี
ลบ
ระบบและกฎมีจุดอ่อน
เจ้ าหน้ าทีเ่ ผลอ ไม่ ว่าง ไม่
สนใจ ให้ ความร่ วมมือ
มีโครงการเข้ ามา มี
เครือข่ ายทีมงานเป็ นสายๆ
เหยือ่ กลัว ต้ องการอยู่รอด
มีวกิ ฤติ
เฝ้ าระวังสู ง
เทคโนโลยีต่ ิดตามตรวจจับ
ความเป็ นมาร
ประสบการณ์ ความ
เชี่ยวชาญด้ านการทุจริต
ยัว่ ยุ
การคิด ตัดสิ นใจ และทา
ศูนย์
เฉยๆ
ทุจริ ต
25
กระบวนการเล่ ห์กลเพือ่ การทุจริต
ฝ่ ายผู้ล่า
ฝ่ ายเหยือ่
คิดกลยุทธ์ ทาให้ ช้า ทาให้ กลัว ทาให้ อด ทาให้ รัก
กลัวช้ า กลัวอันตราย กลัวหิว กลัวอีกฝ่ ายเสี ยใจ
การค้ นหาเหตุการณ์ รอบตัว เช่ น โครงการ ภาวะเศรษฐกิจ
ภัยธรรมชาติ จุดอ่อนของเหยือ่ สถานการณ์ ของเหยือ่
วิธีการป้ องกันตัวของเหยือ่
เดินตามบท ทีก่ าหนด
หากไม่ ทาตาม ก็จะถูกแผนสองจากผู้ล่า
เหยือ่ ไหวตัว
เดินตามบททีว่ างไว้
เดินตามบททีว่ างไว้
เป็ นฉากๆ
ทาเหตุการณ์ ให้ เป็ นจริง
หาขั้นตอนทีท่ าให้ เหยือ่ เกิดอารมณ์ จูงใจให้ เชื่อ ให้
ทาตาม จากสภาวะแวดล้อมทีก่ ดดันและคับขัน
ตามบท แบบเป็ นฉากๆ
ไม่ เป็ นไปตาม
บททีว่ างไว้
เป็ นไปตาม
บททีว่ างไว้
ผู้ล่าตัดสิ นใจทิง้ เหยือ่
ผู้ล่าทุจริตสาเร็จ
เหยือ่ ให้ ของโดยคิดว่ า ผู้ล่ามี
ความบริสุทธิ์ใจ
ผู้ล่ากินเหยือ่
26
ห่ วงโซ่ ปัญหา
ในการแก้ปัญหานั้น เราต้องไล่ไปหาเหตุรากเหง้าเสมอ แล้วดับเหตุปัจจัยรากเหง้านั้น ๆ ซึ่งจะเป็ นความไม่รู้ (อวิชชา) หรื อไม่มี
ภูมิปัญญา หรื อขาดกึ๋น ขาดมาตรฐานงานที่ดี
การไล่หาสาเหตุรากเหง้ามี 12 ห่วงโซ่ คือ
(1) เมื่อเราไม่รู้อะไรถูกต้อง
(2) เราก็คิดว่ามันดี
(3) เราก็ยอมรับมันเป็ นหลักการ
(4) จากนั้นเราก็ไปแสวงหามาใช้งานใช้ประโยชน์
(5) ที่เรารับรู ้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จากสิ่ งที่เราใช้ไป
(6) ใจเราก็ตีความแปลผลเป็ นภาพ เสี ยง กลิ่น รส ร้อนเย็น ขนาดไหน มากน้อยพอดี
(7) จากข้อมูลดังกล่าวเราก็จะตัดสิ นว่าดี ไม่ดี เฉย ๆ
(8) ถ้าดีกอ็ ยากได้มา หากไม่ดีกผ็ ลักไสออกไป
(9) หากดีเราก็ยดึ มัน่ ว่านี่แหละคือสิ่ งที่เราต้องการ
(10) เกิดเป็ นวงจรชีวติ แห่งการยึดมัน่
(11) จากนั้นเราก็ปฏิบตั ิต่อสิ่ งนั้นเป็ นประจาวัน
(12) จนกว่าจะเสื่ อมถอยและสิ้ นสุ ดวาระสิ่ งนั้น ๆ
หมุนเวียนไปเกิดนับหนึ่งใหม่ที่เราไม่รู้ตาม (1) สื บต่อมาทีละข้อแบบไม่รู้จบ จนว่าอวิชชาจะถูกดับลงไป โดยใช้ปัญญา
ในการดับเหตุแห่งปัญหา
อ้างอิง : ปฏิจจสมุปบาท (ห่วงโซ่ทุกข์ 12 ห่วง)
27
เรี ยนร้ ูห่วงโซ่ ปัญหากับสังคมทุจริ ต
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
(9)
(10)
(11)
(12)
เมื่อเราคิดว่าทุจริ ต เป็ นสิ่ งที่ยอมรับได้ หากมีการแบ่งปัน และมีการพัฒนาวัตถุ (ไม่รู้อะไรถูกต้อง)
เราก็คิดว่ามันดี คือ การทุจริ ตทาให้ฐานะความเป็ นอยูด่ ีข้ ึน โอกาสพลาดถูกจับยาก
เราก็ยอมรับมันเป็ นหลักการ ว่า ทางานก็ตอ้ งมีการทุจริ ตเป็ นของธรรมดา บ้างว่านิดหน่อย บ้างก็มากก็ไม่เป็ นไร
จากนั้นเราก็ไปแสวงหามาใช้งานใช้ประโยชน์ คือ วางระบบการทุจริ ตอย่างเป็ นขั้นตอน คาพูด เอกสาร วิธีการ
ที่เรารับรู ้ทางตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ จากสิ่ งที่เราใช้ไป คือ ผ่านการทางานด้วยทุจริ ตด้วย สังคมก็ไปมาลาไหว้
ใจเราก็ตีความแปลผลเป็ นภาพ เสี ยง กลิ่น รส ร้อนเย็น ขนาดไหน มากน้อยพอดี คือ ได้รับเงิน วัสดุ การเอาอกเอาใจ ได้รับลาภ
ยศ ตาแหน่ง เจริ ญก้าวหน้าดี
จากข้อมูลดังกล่าวเราก็จะตัดสิ นว่าดี ไม่ดี เฉย ๆ คือ คิดว่า ดี ไม่ดี จากชีวติ ที่ผา่ นไป
ถ้าดีกอ็ ยากได้มา หากไม่ดีกผ็ ลักไสออกไป คือ วิธีการที่ได้ผลก็ทาต่อ วิธีการที่ไม่ได้ผลหรื อเสี่ ยง หรื อผูต้ ่อต้านสร้าง IT หรื อ
สังคมมัปญญาตรวจับเฝ้ าระวัง ก็พฒั นาวิธีการหนีให้สูงกว่า
หากดีเราก็ยดึ มัน่ ว่านี่แหละคือสิ่ งที่เราต้องการ คือ ทุจริ ตแล้วรวยมีมากมายสบายตอนหลังเกษียณ ไม่เชื่อว่า ซื่อกินไม่หมดคดกิน
ไม่นาน
เกิดเป็ นวงจรชีวติ แห่งการยึดมัน่ คือ ต้องกระแสสังคมทุจริ ต
จากนั้นเราก็ปฏิบตั ิต่อสิ่ งนั้นเป็ นประจาวัน คือ คนทุจริ ตก็ทาไปเรื่ อยๆ ผูต้ า้ นทุจริ ตก็ทาไป
จนกว่าจะเสื่ อมถอยและสิ้ นสุ ดวาระสิ่ งนั้น ๆ คือ เกิดสังคมอริ ยะชน เน้นคุณธรรมน้ าใจบารมี เป็ นบ่อเกิดความสุ ข นัน่ คือ สังคม
ทุจริ ต หรื อทุจริ ตชน หมดไป หรื อเปลี่ยนใหม่ คิดได้ ไม่หลงติดกับอานาจและเงินตรา ที่เป็ นความสุ ขจอมปลอม
หมุนเวียนไปเกิดนับหนึ่งใหม่ที่เราไม่รู้ตาม (1) สื บต่อมาทีละข้อแบบไม่รู้จบ จนว่าอวิชชาจะถูกดับลงไป โดยใช้ปัญญา
ในการดับเหตุแห่งปัญหา
28
สายธารแห่ งการทุจริ ต
สร้ างความกลัวให้ เหยือ่
ตานา้ ซับ
ทาให้ชา้ ตีวน เอกสารไม่
ครบ ไม่ยอมเซ็นต์ผา่ น
แพรกห้ วย
หน่ วยปฏิบตั ิ
ศูนย์ รวมหน้ างาน รวบรวมเงิน
ห้ วย
สร้ างความกล้าให้ ผ้ลู ่ า
สร้ างความเชื่อให้ ผู้ล่า
ติดคุกเลี้ยงลูกเมียให้ ช่วย
ทาให้รู้สึกไม่ผดิ เป็ นการทา
ประกันตัว
มาหากิน ดีกว่าอดตาย
CSR สั งคมทุจริต
เริ่มมาทดแทน ทุจริตแบบ
สั งคมมาเฟี ย
การกระจายรายได้
การทามวลชนสัมพันธ์
สร้างประเพณี ใหม่
รักษาระบบส่ งสายธาร
ศูนย์ รวมจังหวัด
คลอง
สร้ างความชอบให้ เหยือ่
ทาให้ดูวา่ เสี ยเงินน้อยกว่า มี
โอกาสได้งาน มีสิทธิเข้าเรี ยน
มีตาแหน่งขาย
กระแสสั งคมกดดันทุจริต
สังคมเปิ ด รู ้มาก ใช้ IT ช่วย
การทุจริ ตจะยากขึ้น
ศูนย์ รวมที่กรุงเทพ
ชอบ กลัว เกลียด(โกรธ) หลง
คือ กุญแจทีค่ นทุจริตใช้ ล่าเหยือ่
แม่ นา้
ทะเล
หน่ วยสุ งสุ ดคุมนโยบาย
ไม่ ต้องทาเอง แต่ ต้องรักษา
ระบบทุจริตไว้
29
เรี ยนร้ ูสายธารแห่ งการทุจริ ต
• ระบบสายธารแห่งทุจริ ต มีความเข้มแข็งมาก เพราะเป็ นระบบ ที่สมดุลในเชิง
ผลประโยชน์ (Common Interest)
• การตัดสายธารทุจริ ต คงต้องเลือกคนดี คนซื่ อสัตย์มาปกครอง
• การใช้ประชาชนมีส่วนร่ วม ย่อมเป็ นตาสับปะรด สร้างความยึดเหนี่ยวสังคมที่ดี
• เมื่อ IT เพิ่มขึ้น ทั้งการสื่ อสาร ดาวเทียม นวัตกรรมต่างๆ คนรู ้มากขึ้น ฉลาดขึ้น
สิ่ งที่ลบั ก็ไม่ลบั นาเป็ นข้อมูลหลอกคนอื่นไม่ได้ ทุจริ ตก็จะลดลง
• การสร้างเยาวชน ตั้งแต่เป็ นนักเรี ยน ให้ซื่อสัตย์สุจริ ต ต่อไปเขาโตขึ้น ก็ไป
ปกครองบ้านเมืองต่อ
• เปลี่ยนค่านิยม เป็ น เศรษฐกิจพอเพียง ไม่เป็ นสังคมอุปถัมถ์ นิยมความถูกต้อง ก็
ต้องทาต่อไป
30
ภาพรวมการต่ อต้ านทุจริต
ในสังคมปัจจบุ ัน
31
ภาพรวมการต่ อต้ านทุจริ ตในสังคมปัจจบุ ัน
คนมีทุกข์ มีตัญหาอยากรวย หนีความจน
ระบบมีเชิงว่ าง
แนวคิดป้ องกัน
โดยการลดช่ อง
โหว่ งระบบ เช่ น
ระบบตรวจสอบ
คนคิดทุจริต
แนวคิดป้ องกัน
โดยใช้ ศาสนา
อบรมเยาวชน
ทุจริตไม่ หมดไป
และแทบจะไม่ ลดลง
รัฐมีทุกข์ มีตัญหาไม่ อยากให้ เงินรั่วไหล
อยากให้ ทุจริตหมดไป มีสุจริตชนมากๆ
กระทาการทุจริต
แนวคิดปราบปราม
โดยการจับให้ ได้ และ
นามาลงโทษ
ภาครัฐเกิดทุกข์
จากการทุจริต
เกิดปัญหาทุจริตไม่ หมด
การมีส่วนร่ วมของสั งคม เทคโนโลยี่
เฝ้ าระวัง เทคโนโลยีการตรวจจับ
ขาดกลยุทธและ
การบริหารการเปลีย่ นแปลง
การวิเคราะห์ อย่ างแยบคาย
พฤติกรรม จิตวิทยาสั งคม
องค์ ความรู้ ทางพฤติกรรมสั งคม
32
ยังขาดกระบวนการดึงกลับฟื้ นฟู
เรี ยนร้ ูภาพรวมการต่ อต้ านทุจริ ตในสังคมปัจจบุ ัน
• สภาพปั จจุบนั หน่วยงานต่อต้านทุจริ ตทางานไม่ทนั กาลังพลน้อย ขั้นตอนมาก
จานวนคนทุจริ ตเพิม่ ขึ้น เทคโนโลยีไ่ ม่ทนั การพิสูจน์ขอ้ เท็จทาได้ล่าช้า คนที่ทุจริ ต
รู ้ทนั ระบบเปิ ดให้มีการหลบเลี่ยงได้ หรื อถ่วงเวลาให้ล่าช้าได้ ยิง่ ปริ มาณงานมาก
กว่าจะถึงคิวก็มาถึงได้ยาก
• เมื่อเป็ นวิธีการเก่า ผลลัพธ์กย็ อ่ มเหมือนเดิม ไม่แตกต่าง
• จาเป็ นต้องปรับกระบวนทัศน์ใหม่ เปลี่ยนวิธีการใหม่ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องโครงสร้าง
องค์กร กระบวนการทางาน หากคนนั้นมีอานาจเหนือเรา เราจะไปจับเขาก็ทาได้
ยาก อาจเป็ นระบบแบบ เปาปุ่ นจิ้นกับจัน่ เจาก็ได้
• กระบวนการดึงกลับฟื้ นฟู จากทุจริ ตชนมาเป็ นสุ จริ ต ยังไม่เป็ นรู ปธรรม
• กระบวนการสังคมมีส่วนร่ วม อาสาต้านทุจริ ต ยังมีนอ้ ย
• กระบวนการตรวจสอบก็ทางานไม่ทนั ข้อมูลมีนอ้ ย ไม่ครอบคลุม การสกัดคนที่
เพียงเริ่ มคิดทุจริ ต เราก็รู้ตวั ล่วงหน้า จะทาได้อย่างไร ที่เป็ น Early
Warning
• การควบคุมพฤติกรรมสังคม ยังเป็ นกุญแจหลักในการต่อต้านทุจริ ต
33
การปฏิบัติภารกิจ
ตามหลักสัมมาวิริยะ
ในการต่ อต้ านทุจริ ต
34
หลักการสั มมาวิริยะ
อัตราการเกิด
หลักความขยันทีถ่ ูกต้ อง
อัตราการเกิด
เสียม่ งุ ศูนย์
ดีม่ งุ ร้ อย
สิ่งที่ไม่ ดี (ทุจริต พิษภัย สิ่งเลวร้ าย)
เวลา
อัตราการเกิด
สิ่งที่ดี (สุ จริต ปลอดภัย สิ่งดีงาม)
อัตราการเกิด
หายนะรุนแรง
ป้ องกันไม่ ให้ เกิด
(ต้ องเป็ นศูนย์ ตลอด)
ดีสุดแล้ วรั กษา
(ต้ องเต็มร้ อยตลอด)
เวลา
เวลา
สิ่งดีงาม (ระเบียบ พฤติกรรม ประเพณี
วัฒนธรรม วิธีการ)
เวลา
สิ่งชั่วร้ ายแรง (สงคราม โรคระบาด วาง
ระเบิด)
35
การบริ หารเชิงพุทธ
ในการต่ อต้ านทุจริต
พุทธ คือ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
36
การบริ หารเชิงพุทธในการต่ อต้ านทุจริ ต
• การเปรี ยบเทียบหลักการบริ หาร
• หลักการพุทธบริ หาร 3 ป
• เรี ยนรู้ปัญหาเพื่อการจัดการทุจริ ต
37
การเปรียบเทียบหลักการบริหาร
ความรู้
จัดเตรียม
ดาเนินการ
ควบคุม
ตรวจผล
ทบทวน
ทามาตรฐาน
พุทธบริหาร 3 ป
ปริยตั ิ
ปฏิบตั ิ
เด็มมิง่
วางแผน
ปฏิเวธ
PDCA
ปฏิบตั ิ
ตรวจสอบผล
บาบัดปรับปรุง
Toss P O S D C
วางแผน จัดองค์กร จัดคน
กากับทิศทาง
ควบคุม
Freibee P O I C
วางแผน จัดองค์กร
ปฏิบัติ
ควบคุม
Throw : Satisfaction, Achievement, Growth
38
หลักการพุทธบริหาร: 3ป
วัฏจักร 3 ป
ทุกข์
(ประเด็นเรื่องทีย่ ก
มาพิจารณา
หรือปัญหา)
การดาเนินการ และการควบคุม
ปฏิบัติ
ปริยตั ิ
การใช้ ความรู้
และการเตรียมการ
ปฏิเวธ
การพิจารณาผลลัพธ์
การทบทวน และ
การจัดทามาตรฐาน
มรรค
(มาตรการตอบโต้ และ
การจัดทามาตรฐาน)
39
หลักการพุทธบริหาร: 3ป
ทุกข์ หรือ
ปัญหา
(ความไม่ พงึ พอใจ
ในชีวติ และงาน)
ทิศทางของ 3 ป ในชีวติ และงาน
ปฏิบัติ
ปฏิเวธ
ปริยตั ิ
จุดตั้งต้ น
มรรค หรือ วิธีการ
ดับปัญหา
แรงขับดัน จากความ
ต้ องการมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ
เป้ าหมาย : นิโรธ หรือ
ความสิ้นสุ ดแห่ งทุกข์ หรือ
ปัญหา
แรงต้ าน จาก
กิเลส (สิ่ งทีท่ าให้ เศร้ า
หมอง) และ
ตัณหา (ความอยาก
ทะยาน)
40
เรี ยนร้ ูพุทธบริ หารต่ อต้ านทุจริ ต
• เรามักคิดว่าเรามีความรู ้เพียงพอ เพราะทางานมานาน มีประสบการณ์สูง
• แต่ทาไมดูเหมือนปั ญหาทางทุจริ ตเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ เราถูกตัดแขนขาหรื อเปล่า เหมือน
ให้ไม้จิ้มฟันหนึ่งอันเอาไปยึดเมือง
• เราอาจไม่ได้คิดเชื่อมโยงองค์รวม ทาให้การทางานเป็ นจุดๆ ไม่ได้ดตู ลอดทั้งสาย
ทาให้ห่วงโซ่ปัญหา(ปฏิจจสมุปบาท) ไม่ถกู ตัดขาด
• เราอาจจะเก่งทางความรู ้ทฤษฏี ทักษะปฏิบตั ิ แต่เรายังไม่เก่งด้านการจัดการผลลัพธ์
(ปฏิเวธ) ที่ตอ้ งชนะถึงเป้ าหมายแบบเบ็ดเสร็ จเด็ดขาด
• เราจาเป็ นต้องหมุนวงล้อ 3 ป ขึ้นสู งไปเรื่ อยๆ แล้วใช้มาตรฐานหนุนวงล้อป้ องกัน
ล้อไหลกลับไปสู่ เส้นทางที่เราผ่านมาแล้ว
• ให้ระวังแรงต้านจากกิเลส(ตัวที่น่ากลัวคือความโลภ) และตัญหา(ตัวที่น่ากลัวคือ
ความอยากรวย) ที่พยายามฉุดเราให้ถอยหลัง
41
เรี ยนร้ ูปัญหาเพือ่ การจัดการทุจริ ต
• ปัญหาหรื อทุกข์คืออะไร
– ปัญหาคือ ความแตกต่างระหว่างความต้องการหรื อเป้ าหมาย เทียบกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริ ง
(Problems = GAP = Target - Actual)
• ปั ญหาทุจริ ตในสังคม เท่ากับ ปริ มาณการทุจริ ต มีมาก จนก่อให้เกิดปัญหาในสังคม
จนยอมรับไม่ได้ จงนิยามปั ญหาให้ชดั เจน
• ดัชนีช้ ีวดั การทุจริ ต คืออะไร แค่ไหนพอใจ ในแต่ละช่วงเวลาในอนคต
• วิสัยทัศน์ จะให้ทุจริ ตเป็ นศูนย์ เลยหรื อเปล่า หรื อเป็ นศูนย์ทกี่ ลุ่มไหนก่อน
วิสัยทัศน์ตอนนี้มีหรื อยัง ถ้ามี ประสิ ทธิ ภาพเป็ นอย่างไร
• การจัดการทุจริ ต จึงเป็ นการบริ หาร GAP ในแต่ละปี
• กลยุทธ มีการวิเคราะห์ SWOT แล้วชี้บ่งชัดเจน ถึงขั้นปฏิบตั ิได้ผล ในแต่ละ
กลุ่มชน หรื อ Market Segments หรื อยัง
42
พฤติกรรมสังคม
ต่ อต้ านการทุจริ ต
43
พฤติกรรมสังคมต่ อต้ านการทุจริ ต
• แนวคิดไฟจราจรเพิม่
สุ จริ ตชน
• บทเรี ยนครู นางกับเด็กเร่ ร่อน
• การควบคุมพฤติกรรมมนุษย์
• ขับรถเร็ ว
• สร้างวินยั สุ จริ ต
•
•
•
•
•
•
จิตคนสี่ กลุ่ม
ทวารทั้งหกสู่ ตวั เรา
จริ ตหก
บัวสี่ เหล่า ทุจริ ต-สุ จริ ต
สัมมาอาชีพกับมิจฉาอาชีพ
สติ ต้านทุจริ ต เพิม่ สุจริ ต
44
แนวคิดไฟจราจร
ร้ าย
กลาง
ดี
คนชั่วครองเมือง
โมหะนคร
ร้ าย
ดีงคนชั่ว
ให้ เป็ นกลาง
กลาง
ดี
ร้ าย
ร้ าย
กลาง
กลาง
ดีงคนกลางๆ
ให้ เป็ นคนดี
ดี
ช่ วงสับสน
ดี = สุ จริ ต กลาง = คลุมเครื อ ร้าย = ทุจริ ต
คนดีครองเมือง
บัณฑิตนคร
ดีงคนชั่ว
ให้ เป็ นกลาง
เพิม่ ขึน้ ๆ
ร้ าย
กลาง
ดีงคนกลางๆ
ให้ เป็ นคนดี
เพิม่ ขึน้ ๆๆๆ
ดีงคนกลางๆ
ให้ เป็ นคนดี
เพิม่ ขึน้
ดี
ดี
คนดีมีเมตตาครองเมือง
สุ จริตนคร
คนจิตสู งครองเมือง
อารยะนคร
45
เรียนรู้แนวคิดไฟจราจรเพือ่ เพิม่ สุ จริตชน
• ต้องทาให้สังคมที่มีไฟแดง(ทุจริ ตชน) ครองเมือง มีจานวนน้อยลง โดยดึงให้เป็ นไฟ
เหลือง(กลางๆ) แล้วผลักไฟเหลืองให้เป็ นไฟเขียว(สุ จริ ตชน) เพิ่มขึ้น
• สร้างเงื่อนไขให้เป็ นบัณฑิตนคร มาทดแทนโมหะนคร ยกระดับไปเรื่ อยๆ จนเป็ น
สุ จริ ตนคร มุ่งสู่ เป้ าหมายสุ ดท้ายเป็ นอริ ยะนคร โดยส่ งเสริ มให้คนดี มีจิตสูง มี
เมตตา มาปกครองเมือง หรื อส่ งเสริ มให้คนดีเป็ นใหญ่
• ปั ญหาอยูท่ ี่ เราจะสร้างเงื่อนไขได้อย่างไร อะไรคือเงื่อนไข ต้องใช้กระบวนการ
ทางปั ญญาเข้าช่วย ลองไปวิปัสสนา วงจรอริ ยสัจจ์ ห่วงโซ่ทุกข์(ปฏิจจสมุปบาท)
และการวิเคราะห์ระบบการเกิด (อิทปั ปัจจยตา) เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิด เมื่อไม่มีสิ่งนี้
สิ่ งนี้กไ็ ม่เกิด
• มีวินยั เป็ นเกราะ(ศีล=การกระทา) มีความตั้งใจเป็ นกาลัง(สมาธิ =ความมุ่งมัน่ ) มี
ปัญญาเป็ นอาวุธ(ปัญญา=ความรู้ภูมิปัญญา) นี่เป็ นกุญแจหลัก อีกสูตรหนึ่ง ในการ
ต่อต้านทุจริ ต
46
บทเรี ยนครูนางกับเด็กเร่ ร่อน
• เด็กเร่ ร่อน ไม่ไว้วางใจคน เปลี่ยนชื่อบ่อย ไม่มีคนสนใจ ไม่มีคนคิดจะ
จ้าง เป็ นปัญหาสังคม
• ครู นางเดิมเป็ นแม่คา้ รับมาเป็ นครู รับเด็กเร่ ร่อน คิดในเชิงว่าจะให้อะไร
กับเด็ก แบบยัดเยียดให้ แต่เด็กก็กลับไปเหมือนเดิม จนคิดอยากลาออก
(Fail Case)
• คิดวิธีการใหม่ ครู นาง เปลี่ยนแนวคิดตัวเอง ทาตัวให้เหมือนเป็ นทั้งพี่
พ่อ แม่ เพื่อน รับฟัง เข้าใจความต้องการของเด็ก พูดคุย คิดเชิงบวกกับ
เด็ก ทาแบบไม่คิดผลตอบแทนมาที่ตนแต่เป็ นเพื่อเด็ก เด็กเริ่ มเชื่อใจ
ไว้วางใจ ก็พาไปฟังธรรม จนเขาศรัทธา แล้วเชียร์ให้เขาบวชเณรดู ดู
แล้วเด็กเปลี่ยนแปลงไปในทางดี (Success Case)
• ลองคิดในเชิงป้ องกันและปราบปราม นั้นไม่พอ ต้องมีการฟื้ นฟูดว้ ย 47
วิเคราะห์ บทเรี ยนครูนางกับเด็กเร่ ร่อน
• เริ่ มจากกลุ่มคนในสังคมกลุ่มหนึ่ง ผิดพลาด เป็ นกลุ่มไฟแดง
• การลงโทษโดยการตัดสิ นใจของสังคมว่า นอกกลุ่มคนดี
• การเข้าช่วยเหลือแบบเอาแนวคิดผูช้ ่วยเหลือเป็ นศูนย์กลาง มักเป็ นแค่ไฟ
เหลือง แล้วกลับไปเป็ นไฟแดงเหมือนเดิม
• การเข้าช่วยเหลือแบบเอาแนวคิดกลุ่มผูถ้ ูกช่วยเหลือเป็ นศูนย์กลาง จะดึง
ให้ไฟแดง กลายเป็ นไฟเขียวตลอด
ไว้วางใจ ระแวง
ร้ าย
กลาง ถอดใจ
มั่นใจ
ดี
48
การควบคุมพฤติกรรมมนุษย์
ชื่นชม ยกย่ อง
Social
เชื่อ
เน้ นการควบคุม
ทางการยอมรับ
สั งคม
ดือ้ ดึง
Legal
Human
Control
ผ่านไป เป็ นปกติ
กฎข้ อบังคับ
เชื่อ
เน้ นการควบคุม
คนอืน่
ดือ้ ดึง
ประนาม ติเตียน
ไม่ ส่งเสริม
ลงโทษ
วิธีการควบคุม
ชื่นชม ยกย่ อง
เชื่อ
ได้ กาไร ลดค่าใช้ จ่าย
เชื่อ
เน้ นการควบคุม
ทางการเงิน
ดือ้ ดึง
เพิม่ ภาษี ขาดทุน
เศรษฐกิจ
จริยธรรม
เน้ นความสมัครใจ
ควบคุมตัวเอง
ดือ้ ดึง
ไม่ ว่ากัน
Economic
Ethics
49
เรียนรู้การควบคุมพฤติกรรมมนุษย์
• เราจะจูงใจให้คนในสังคมเป็ นเช่นไร ขึ้นอยูก่ บั วิธีการที่เราบังคับ สร้างเงื่อนไขไว้
• เราอาจใช้วธิ ี การผสมผสาน ตามเหตุการณ์ และแต่ละกรณี
• ตราบใดที่เขาคิดว่า ทุจริ ตแล้วคุม้ ค่าในการเสี่ ยง เขาก็จะไม่เปลี่ยนแปลง แม้วา่ ครั้ง
นี้เขาจะถูกจับ ปรับ และติดคุก
• ตราบใดที่เขารวยแต่ทุจริ ตมา แม้วา่ จะดูแบบไม่ค่อยชัด แต่สังคมยังเลือกเขา นับถือ
เขา ไหว้เขา ไม่มีทางที่เขาจะมาเป็ นสุ จริ ตชน เพราะหาเงินยาก
• ตราบใดที่กฎหมายไม่ศกั ดิ์สิทธิ์ โทษน้อย ใช้เวลานานในการตัดสิ น พอวิง่ เต้นได้
เทคโนโลยี่ ไม่ทนั คนทุจริ ต ก็อย่าหวังว่าเขาจะกลับตัวกลับใจ
• ตราบใดที่เขามีคุณธรรมจริ ยธรรมสู ง แม้วา่ จะเอาตาแหน่งสู งสุ ดมาให้ เอาเงินทอง
มากองเท่าภูเขา ก็อย่าหวังว่า เขาจะทุจริ ต เพราะเขา มีเกราะป้ องกัน เขาเป็ นคนที่
แสวงหาความสุ ขทางใจ ไม่ใช่วตั ถุ หากเขาทุจริ ตขึ้นมา แม้เพียงเล็กน้อย เขาจะ
ทุกข์มาก และรี บขอรับโทษ คืนทรัพย์ เพื่อที่จะได้แลกกับความสุ ขกลับคืนมา
50
ขับรถเร็ ว
• คนขับรถเร็ ว รถเก๋ งกฎหมายกาหนด ไม่เกิน 90 กม./ชม. มาหลายสิ บปี แล้ว ทาง
ปฏิบตั ิอนุโลม 120 กม./ชม. ขับจริ ง 140 กม./ชม. โดยใช้กล้องถ่าย
• ตารวจออกใบสัง่ ปรับ แล้วยังอ้างกม. ที่ 90 กม./ชม.
• ทางปฏิบตั ิรถเก๋ งดังกล่าวสมรรถนะสู งมาก แตะคันเร่ งนิดเดียวขึ้น 120 เผลอ
มองข้างทางไม่มองมีเตอร์ ข้ ึน 140 โดยไม่รู้ตวั ทางที่วงิ่ เร็ วนั้นโล่งกว้างเป็ นทาง
ลง ไม่มีโอกาสเกิดอุบตั ิเหตุ
• ลองพยายามวิง่ บริ เวณนั้น ควบคุม ที่ไม่เกิน 120 กม./ชม. ต้องพยายามอย่างสู ง
แตะคันเร่ งนิดเดียว สลับเหยียบเบรดเป็ นระยะๆ พอเผลอมองข้างทาง ก็วงิ่ ไปที่
140 อีก
• เหตุการณ์น้ ี ลองคิดว่าอะไรผิดถูก ในเรื่ องทุจริ ต สุ จริ ต
51
เรี ยนร้ ูขบั รถเร็ ว
• กฎหมายเป็ นธรรมหรื อเปล่า ตารวจเป็ นธรรมหรื อเปล่า
• ทาไม ต้องมีกฎหมายเก่า และข้ออนุโลมทางปฏิบตั ิอย่างยาวนาน โดยไม่มกี ารแก้
ให้ทนั สมัย (Update) เหมือน ISO9001
• ต้องโทษถนนดีเกินไปหรื อเปล่า
• ต้องโทษสมรรถนะรถดีเกินไปหรื อเปล่า แล้วทาไมไม่ลอ๊ คความเร็ วที่รถ ที่โรงงาน
ที่ผลิต
• การถ่ายภาพแล้วสัง่ ปรับเลยทางไปรษณี เป็ นการยุติธรรมหรื อเปล่า
• ใครที่ประพฤติมิชอบ มี คนออกกฎหมายที่ไม่ยอม update ตารวจจับอ้างที่
90 จริ งๆ อนุโลม 120 คนสร้ างถนน ที่ดีเกินไป ผู้ผลิตรถยนต์ ที่สร้าง
สมรรถนะเกินกฎหมายอย่างมาก จริ งๆ วิง่ ได้เร็ วถึง 180 กม./ชม. ได้อย่าง
สบายๆ
52
วิธีการสร้ างวินัยสุ จริต
• มีศูนย์ยดึ เหนี่ยวจิตใจ เช่น เพื่อ
ลูกเมีย หน้าที่การงาน ฯลฯ
• อธิษฐานจิต หรื อ สาบานตน
• ศรัทธาที่จะทา
• หาแบบอย่างบุคคลตัวอย่าง
• หาของดลใจ ให้คุณมีประโยชน์
• สร้างบรรยากาศให้น่ารักษาวินยั
•
•
•
•
•
•
มีเครื่ องเตือนสติตลอดเวลา
เข้าจิตตน ทาให้ใจรัก
ทาซ้ า ๆ ฟังบ่อย ๆ
ทาเป็ นเกมลับสมอง
มีกรอบให้เดิน
พิจารณาโทษแห่งการไม่รักษา
วินยั
53
กระบวนการสร้ างวินัยสุ จริต
1.สร้างแนวคิดใหม่ (สร้างศรัทธา นิสัยใหม่ที่จะส่ งเสริ ม ข้อดี และข้อเสี ยจากนิสัยที่ไม่ดี)
2.สนับสนุนให้คิด (การเปลี่ยนแปลงเป็ นธรรมดา ใช้ความพอดี ยกตัวอย่างตัวเอง)
3.ฝึ กวิพากษ์ (เล่าตัวอย่าง แล้ววิจารณ์ นิสัยต่างๆ ในชีวิตจริ งและตัวละคร)
4.ลงมือทา (ละลายพฤติกรรม ทาบ่อยๆ จนชิน)
5.ให้ยดึ มัน่ ในสัจจะ (ปฎิญาณตน สร้างกฎเอง ปฎิบตั ิเอง เพลง คาขวัญ)
6.ทาให้อยูใ่ นวิถีชีวิต (ฝึ กสติรักษานิสัยนั้นๆ ในชีวิตประจาวัน )
7.ทาให้เป็ นนิสัยตัวเองให้ได้(5ส พูดบ่อยๆ ทาบ่อยๆ)
8.สร้างเป็ นวัฒนธรรมประเพณี (สื่ อสารทัว่ ถึง จัดงานประจาปี )
9 รักษาวัฒนธรรมไว้ (ทาให้เป็ นประเพณี และกิจวัตรประจาวัน)
54
จิตคนสี่ กลุ่ม
1. จิตเทพ
คือคิดในเชิงดี โดยบริ สุทธิ์ เช่นเมตตา ทาได้แน่ มัน่ ใจ ช่วยเหลือคน ไม่เอาเปรี ยบคน
2. จิตเทพมาร
คือ คิดดี พูดดี ในเชิงเทพ และแอบแฝงด้วยมารที่หวังประโยชน์ส่วนตน สร้างภาพดูดี ซ่อน
การเป็ นคอรัปชัน่ ไว้ภายใน ช่วยเหลือเขาก็หวังผลตอบแทนที่ซอ้ นเร้นไว้อา้ งประชาธิปไตยแต่
จริ งๆ เผด็จการชัดๆ บางคนเรี ยกว่า เทพบุตรในคารซาตาน หน้าเนื้อใจเสื อ มารอยูใ่ นร่ างเทพ
3. จิตมารเทพ
คือ คิดชัว่ ทาชัว่ ในเชิงมารแต่กแ็ อบแฝงความหวังดีซ่อนไว้ ชอบด่าว่าด่ากราดแต่เพื่อต้องการ
ดัดนิสยั หวังดีต่อเขา พูดไม่รักษาน้ าใจ เป็ นเผด็จการรัฐประหารที่ทาให้คนไม่ชอบ แต่เพื่อเอา
ชาติอยูร่ อดบางคนเรี ยกว่าโจรมีคุณธรรม
4. จิตมาร
คือ คิดชัว่ ทาชัว่ ในเชิงมาร กล้าเปิ ดเผยตัวว่าตัวเองทาไม่ดีอย่างเปิ ดเผยชัว่ แบบสุ ดๆ ดูง่ายว่าชัว่
จริ งๆ คิดว่าข้าจะทาแบบนี้ละใครจะทาอะไรฉันได้
55
นาสิ่งใหม่ มาเทียบกับข้ อมูลเดิม
เทียบคุณภาพว่ า ดี ไม่ ดี เฉยๆ
ตัดสินใจว่ า ชอบ ไม่ ชอบ เฉยๆ
ทวารทัง้ หกสู่ ตัวเรา
อารมณ์
ใจ
ใจปรุงแต่ ง
ใจสั่งการให้ กายทาตาม
ทุจริต สุ จริต
ตา
รูป
กาย
เย็นร้ อน
อ่ อนแข็ง
หู
ลิน้
รส
เสียง
จมูก
กลิ่น
56
เรี ยนร้ ูอายตนะหกเพือ่ สร้ างสุจริ ตชน
• เมื่อมองเห็นของสวยของถูกใจ ก็เกิดความอยากได้เป็ นเจ้าของ การเข้า
ครอบครองก็มีท้ งั สุ จริ ตและทุจริ ต
• ได้ยนิ เสี ยง รู ้เห็นข้อมูล ก็อยากได้เป็ นเจ้าของ
• การได้กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ก็เช่นเดียวกัน
• หากคนคุมอายตนะได้ ไม่พึงอยากได้ในสิ่ งที่ไม่ควรเป็ นเจ้าของก็จะเป็ น
สุ จริ ตชน
• ลองฝึ กอายตนะหก ลองไปเที่ยวห้างดู ถ้ารู ้สึกเฉยๆ เมื่อออกจากห้าง โดย
ไม่ซ้ือของติดมือกลับมาเลย แสดงว่า ฝึ กได้เข้าขั้น
• ลองนาเอาอายตนะหกไปเป็ นกลยุทธสร้างสุ ริตชนเพิ่มขึ้น เช่น เมื่อพบ
ของมีค่าตกหล่น แล้วไม่คิดอยากได้ แต่นาไปคืนเจ้าของ
57
จริ ตหก
1. รักสวยรักงาม เขากลัวไม่สวย กลัวความเสื่ อม ควรพัฒนาเขาด้วยการพบหลักแห่ ง
ความจริ งตามรู ปแบบต่าง ๆ ตลอดจนกฎความไม่แน่นอน
2. โกรธง่ ายใจร้ อน มักหงุดหงิด ขัดเคือง ใจร้อน กลัวช้าไม่ทนั ใจ ควรพัฒนาเขาด้วย
การฝึ กให้ช่วยคนอื่น ฝึ กเมตตา
3. เหงาซึมงมงาย มักเงื่องงง เบาปั ญญา เชื่อคนง่าย กลัวไม่ทนั คน กลัวรับผิดชอบ
งานใหญ่ กลัวเรี ยนรู ้ กลัวปรับตัว กลัวการแก้ปัญหางาน ควรพัฒนาเขาด้วยการให้
อยูใ่ กล้ชิดครู ระบบพี่เลี้ยง
4. ซาบซึ้งเลือ่ มใสง่ าย มักมีจิตชื่นบาน น้อมใจ เชื่อง่าย ไม่ค่อยไตร่ ตรองให้ชดั ก่อน
ควรพัฒนาเขาด้วยการชี้ทางแห่ งปั ญญา
5. คิดพิจารณามีเหตุผล มักชอบไตร่ ตรองคิดมีเหตุมีผล ควรพัฒนาเขาด้วยการ
ปรับปรุ งงาน ส่ งไปเรี ยนรู ้ ฝึ กให้ระดมสมอง
6. จับจรดฟุ้ งซ่ านวิตก มักคิดฟุ้ งซ่าน อ่อนไหว วิตก กังวล และชอบคัดค้านเพราะ
กลัวการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาเขาต้องควรมีพี่เลี้ยง คู่มือแนะนา ให้กาลังใจ
อ้างอิง : จริ ต, จริ ยา มหานิทเทส ขุททกนิกาย สุ ตตันตปิ ฎก พระไตรปิ ฎกเล่มที่ 29
58
เรี ยนร้ ูจริ ตหก ทุจริ ต-สุจริ ต
• คนรักสวยรักงาม มักตกอยูใ่ นความโลภและทุจริ ตได้ง่าย ลุ่มหลงง่าย การมองเห็น
เป็ นประตูสาคัญ หากฝึ กเรื่ องอนิจจังได้ ก็จะเข้าสู่ สุจริ ตได้
• คนโกรธง่ายใจร้อน มักทาทุจริ ตหากสิ่ งนั้นล่าช้า ชอบแก้แค้น รุ นแรง สิ่ งนั้นไม่พึง
พอใจ ต้องฝึ กความอดทน การให้อภัย ก็จะเข้าสู่ สุจริ ตได้
• คนเหงาซึ มงมงาย มักทาทุจริ ตด้วย ถูกหลอกให้เชื่อ ทาทุกอย่างเพื่อการต่อต้านการ
เปลี่ยนแปลง ต้องฝึ กโดยให้ความรู ้ การชนะความกลัว ก็จะเข้าสู่ สุจริ ตได้
• คนซาบซึ้ งเลื่อมใสง่าย มักทาทุจริ ตด้วยความไม่รู้ ต้องฝึ กการใช้เหตุและผล การ
พิจารณาแยบคาบ ก็จะเข้าสู่ สุจริ ตได้
• คนมีเหตุผล มักไม่ค่อยทาทุจริ ต ต้องฝึ กให้เขายกระดับการใช้เหตุผลที่สูงขึ้น
• คนจับจรดฟุ้ งซ่านวิตก มักทาทุจริ ต จากความอ่อนไหวทางอารมณ์ การคิดมากเกิน
ใจ ต้องฝึ กให้เขาสร้างกาลังใจให้ตวั เองได้ การควบคุมอารมณ์ ก็จะเข้าสู่ สุจริ ตได้
59
บัวสี่เหล่ า ทุจริ ต-สุจริ ต
•
•
•
•
บัวใต้ตม สอนให้สุจริ ตไม่ได้เลย
บัวเหนือตม สอนให้สุจริ ตได้ยาก
บัวใต้น้ า สอนให้สุจริ ตได้พอสมควร
บัวพ้นน้ า สอนให้สุจริ ตได้ง่าย
60
สัมมาอาชีพกับมิจฉาอาชีพ
ในการประกอบธุรกิจเป็ นอาชีพ ควรละเว้นอาชีพทุจริ ตทุกรู ปแบบ
“อย่ าโกงแล้ วรวย จะไม่ ยงั่ ยืน” โกงน้ าหนัก โกงตราชัง่ ปลอมปน ใส่ สาร
พิษลงในอาหาร หลอกลวง การบีบบังคับ ข่มขู่ เหล่านี้เป็ นบาป ควรละเว้น
อาชีพต้องห้ามอีก 5 อาชีพ ดังนี้
ค้ าขายอาวุธ เนื่องจากเป็ นเครื่ องมือประหัตประหาร ทาลายล้างเผ่าพันธุ์
ค้ าขายมนุษย์ หรื อเอาศักดิ์ศรี ของมนุษย์เอาไปขาย (ขายตัว)
เลีย้ งสั ตว์ ไว้ ขาย เพื่อฆ่าหรื อนาไปทรมาน
ค้ าขายนา้ เมา เนื่องจากสนับสนุนให้คนผิดศีล 5 ทาให้ขาดสติ
ค้ าขายยาพิษ เนื่องจากเป็ นพิษภัยต่อมนุษย์ แมลง และสัตว์ ตลอดจนทาลาย
สิ่ งแวดล้อม
อ้างอิง :
สัมมาอาชีวะ ปัญจกนิบาติ อังคุตตรนิกาย สุ ตตันตปิ ฎก พระไตรปิ ฎก เล่มที่ 22
61
สติ ต้ านทุจริ ต เพิม่ สุจริ ต
1. การรู้กระบวนงาน
ต้องรู้กระบวนการทุจริ ต กระบวนการต้านสุ จริ ต กระบวนการเพิ่มสุ จริ ต เป็ นอย่างไรอย่าง
เข้าใจถ่องแท้ ตลอดจนเงื่อนไข เหตุการณ์ที่เอื้ออานวย ลักษณะจริ ต
2. การหยัง่ รู้ดไี ม่ ดี
เมื่อพบเหตุการณ์ทุกขณะ ไม่วา่ จะเป็ นก่อนหรื อหลัง ที่เชื่อมโยงกัน สามารถรู ้ได้วา่ สิ่ งนั้น
ดีหรื อไม่ดี และเหมาะกับกาละ สังคม กฎระเบียบวินยั ว่าสิ่ งนั้นเป็ นทุจริ ตหรื อสุ จริ ต ถ้าไม่ดีจะ
แก้ให้ดีได้อย่างไร
3. การรู้เหตุปัจจัยทีท่ าให้ เกิดดีไม่ ดี
เหตุปัจจัยเหตุการณ์น้ นั ๆ คนๆนั้น ดีหรื อไม่ดีน้ นั มาจากเหตุปัจจัยอะไร หรื อไม่ถา้ รู้ก็
ต้องศึกษาจากตารา ถามผูร้ ู้ หรื อพิจารณาเอง หรื อไล่หาสาเหตุให้ได้
4. สรุปเป็ นหลักการ
จากการรู้วา่ ทาไมจึงเป็ นเช่นนั้น การพิจารณาผลงานและทฤษฎีที่
ร่ าเรี ยนมา แล้วสรุ ปเป็ นหลักการความรู้ภูมิปัญญาว่า การต้านการทุจริ ตและเพิ่มสุ จริ ตที่ดีตอ้ งทา
อะไรบ้างเป็ นหลักการเอาไว้
อ้างอิง : สติปัฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม)
62
การใช้ กลยทุ ธ์
ปฏิบัติภารกิจ
ต่ อต้ านการทุจริ ต
63
การใช้ กลยทุ ธ์ ปฏิบัติภารกิจต่ อต้ านการทุจริ ต
•การสร้างกลยุทธ
•โยนิโสมนสิ การ
•พุทธวิธีชนะมาร
64
วิเคราะห์ ช่องทางกลยทุ ธ์ จาก SWOT
•
•
•
•
จุดแข็ง
จุดอ่อน
โอกาส
อุปสรรค์
ค้นหากลยุทธ
65
ตารางค้ นหากลยุทธ์ ขององค์ กรทีอ่ าจเป็ นไปได้
SWOT
จุดแข็ง (S)
รายการจุดแข็งที่สาคัญ
จุดอ่อน (W)
เลือกมาเฉพาะทีส
่ าคัญ กลยุทธ ์ W - S
แกจุ
บให้เป็ นจุดแข็งรายการจุดอ่อนที่ สาคัญ
้ ดออนปรั
่
กลยุทธ ์ S - O
กลยุทธ ์ W - O
โอกาส (0)
เปิเป็
ดจุดแข็งแสวงหาโอกาส เอาโอกาสไปลบจุดออน
่
กลยุทธ ์ T - O ปรับภัยคุกคามให
้ น
ปิ ดจุดออนเพิ
ม
่ โอกาส
่
โอกาส
รายการโอกาสที่สาคัญ
ภัยคุกคาม (T)
กลยุทธ ์ S - T
เปิ ด
งลดภัยคุกคาม
กลยุทธ ์ O - T เอาโอกาสไปลดภั
ยจุ
คุด
กแข็
คาม
กลยุทธ ์ W - T
ปิ ดจุดออนลดภั
ยคุกคาม
่
รายการภัยคุกคามที่สาคัญ
66
ตัวอย่ างกลยุทธ์ ท้งั แปดเพือ่ ชัยชนะ
1. กลยุทธ์ S-O เปิดจุดแข็ง
แสวงหาโอกาส
5. กลยุทธ์ W-S แก้จด
ุ อ่อนปรับ
เป็ นจุดแข็ง
ใช้เครือขายที
ก
่ ระจายไป
ฝึ กพุงให้แข็ง
เพิม
่
่
ทัว่ เขาหาลู
กค้า ช้าๆไดพร
าเลม
ศักยภาพบุคคลากรทีอ
่ อนหั
ด
้
้
้
่
่
งาม
ให้ดาวสาหรับลูกคาที
่ าความดี
้ ท
2.1 กลยุทธ์ W-O เอาโอกาสไปลบ 6. กลยุทธ์ S-W เอาจุดแข็งไปปิด
จุดอ่อน
จุดอ่อน
รัฐสนับสนุ นเรือ
่ งนี้ก็เลย
เอาศอกไปปิ ดทองน
อย
้
้
นามาใช้ประโยชน์ น้าขึน
้ ให้รีบ ให้สาวสวยพูดดีไปสลายแรง
ตัก
โกรธของลูกค้า
2.2 กลยุทธ์ W-O ปิดจุดอ่อนเพิ่ม 7. กลยุทธ์ T-O ปรับภัยคุกคาม
โอกาส
ให้เป็ นโอกาส
แกไขระบบสื
่ อสารทีย
่ อดแย่
ทาวิกฤติเป็ นโอกาส
้
เป็ นยอดเยีย
่ มเพือ
่ เพิม
่ จานวน
เอาขยะมาเป็ นสิ นค้า
ชวน
ลูกค้า
ปิ ดหูปิดตาเขาหาความ
นักขาวที
โ่ จมตีเราบอยๆ
มา67
้
่
่
สงบ
เป็ นพวก
บางท่ านหลงผิดคิดว่าเพือ่ ชัยชนะ หรือถูกฝ่ ายศัตรูซ้อนกล
ตัวอย่ างกลยุทธ์ ท้งั แปดเพือ่ พ่ ายแพ้
1. กลยุทธ์ S-O ลดจุดแข็งตัด
5. กลยุทธ์ W-S ทาจุดแข็งเป็ น
ปลอยให
นักวิจย
ั ไมมี
่
้
่
งานทา เลยไมมี
ส
ิ
น
ค
าใหม
่
้
่
ออกตลาด
ใช้ทองคาไมเป็
น ตอง
่
้ต
รักษาและพาโจรเขาบ
าน
มี
แ
้ มีเวลา่
คนมาหาเพือ
่ ขอเงิน้ จนไม
่
ส่วนตัว
6. กลยุทธ์ S-W เอาจุดอ่อนไปปิด
โอกาส
2. กลยุทธ์ W-O เอาโอกาสไป
เพิ่มจุดอ่อน
จุดอ่อน
จุดแข็ง
ตลาดตองการของมาก
้
เอาหน้าไปปิ ดขอศอก
ส่งของไมดี
ไ
ปขาย
เลยทาให้
้ ญ
่
ให
คนไม
เก
งไปท
างานส
าคั
ภาพลักษณยิ
้
่ ่
์ ง่ เสี ย
7. กลยุทธ์ T-O ปรับโอกาสเป็ นภัย
3. กลยุทธ์ S - T ลดจุดแข็ง
เพิ่มภัยคุกคาม
คุกคาม
ทาโอกาสเป็ นวิกฤติ
กินบุญเกาไม
สร
างบุ
ญ
้
ไมยอมเปลี
ย
่ นแปลงก็เลยออก
่
ใหม่
ภาพลัก่ ษณ่ ตรา
์ งเห็ น สิ นค้าช้ากวาคู
แข
ง่
ดานั
กข68าว
่
่
่
่
สิ นค้าเริม
่ เสื่ อมลง คูแข
่
่
ทีโ่ จมตีเราบอยๆ
จนกลายเป็ น
่
ชองทางเขาทาชิง
ตัวอย่ างกลยุทธ์
สัตว์โลก
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
แกลงปี
•
้ กหัก
•
ปรับสี ตวั เหมือนกิง้ กา่
•
แกลงตาย
้
•
หดเขากระดองเต
า
้
่
•
วิง่ ให้เร็ว
•
ทาปี กให้เหมือนดวงตาโต•
หากินกลางคืน
•
ขนหนาเหมือนหมีกน
ิ ผึง้ •
•
หมาหมู่
ซุ่มโจมตี
กลิน
่ เหม็น ••
มนุษย์
ตัง้ รางวัล
ใช้ความสวยงาม
สรางความแตกต
าง
้
่
ส่งเสี ยงดังให้กลัว
เจ็บน้อย
ใช้ความสงบสยบการเคลือ
่ นไห
ใช้ปัญญาทีเ่ หนือกวา่
ๆทาเลเป็ นตอ
่
โฆษณาเขาไว
้
้
แจกแถม นาทีทอง
ใช้ความเป็ นเพือ
่ น
อากาศทีห
่ นาวเย็น ใช้ภาว
้
ขูใช
ค
าราม
่ ้ความรวดเร็วทีเ่ หนือกวา่
ใช
69
โยนิโสมนสิ การ มาใช้ในการแก้ปัญหา
• คิดแบบสื บสาวหาเหตุปัจจัย แล้วแก้ที่สาเหตุ (Investigation)
• คิดแยกแยะส่ วนประกอบ ให้ลงรายละเอียดพอที่จะแก้ปัญหาได้ (Analytic)
• คิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา ในเรื่ องของความไม่แน่นอน ความผิดปกติ และการเสื่ อมชารุ ด
(Uncertainty)
• คิดแบบแก้ปัญหาเชิงอริ ยสัจ มีที่มาปัญหา สาเหตุ เป้ าหมาย และแนวทางตอบโต้ปัญหา (Root
Clause)
• คิดแบบหลักการและจุดมุ่งหมาย โดยมีเป้ าหมายท่ามกลางก่อนถึงเป้ าหมายสุ ดท้าย (Target and
Milestone)
• คิดแบบเห็นข้อดีขอ้ เสี ย และทางออก ในการเลือกวิธีการและสิ่ งของ (Pro & Cons)
• คิดแบบรู้คุณค่าแท้ คุณค่าเทียม ซึ่งอาจใช้วธิ ีวเิ คราะห์คุณค่า ว่าสิ่ งใดจาเป็ น สิ่ งใดฟุ่ มเฟื อย (Values)
• คิดแบบเป็ นบวกกุศล ผิดก็เป็ นครู แต่ถูกก็เป็ นครู ให้เรี ยนรู ้ พลิกวิกฤติให้เป็ นโอกาส (Positive)
• คิดแบบสติตามทัน โดยเฝ้ าสังเกตดู ไม่ประมาท ทาไปคิดไป ปรับปรุ งไป (Monitoring)
• คิดแบบแยกแยะทุกด้าน ไม่ใช่เอาด้านหนึ่งด้านใดมาตีคลุมลงไปทั้งหมด ต้องทาให้สมดุลทุกปัจจัย ในการ
ตัดสิ นใจ (Integrate)
70
โยนิโสมนสิ การกับงานต่อต้านทุจริ ต
• สื บสวนหาสาเหตุ จากหลักฐาน การเชื่อมโยงเหตการณ์ มักจบลงที่หาคนผิด แต่
ควรหาสาเหตุถึงว่าทาไมเขาทุจริ ต แล้วหาทางแก้ไข
• แยะแยก กลุ่มการทุจริ ตตามสาขาอาชีพ เพื่อแยกบริ หารตามกลุ่ม แยกลง
รายละเอียด ตามชนิดการโกง อาจเป็ นเรื่ องการเงิน ล่อลวง ขู่กรรโชก
• รู ้เท่าทันความไม่แน่นอน คนรวยก็โกงได้ การเสื่ อมของสังคม กฎหมายทีเ่ ปลี่ยนไป
• การค้นหาสาเหตุรากเหง้า จากปั ญหาการทุจริ ต มาเป็ นวิธีการต่อต้านหรื อดับทุจริ ต
• วางเป้ าหมายเรื่ องการลดการทุจริ ต โดยวางเป้ าหมายรองเป็ นขั้นๆ ไปตามลาดับ
หรื อการ การปิ ดคดีทุจริ ต โดยวางขั้นตอน แล้วดาเนินการไปตามนั้น
71
โยนิโสมนสิ การกับงานต่อต้านทุจริ ต
• ข้อดีขอ้ เสี ยของวิธีตา้ นทุจริ ตแต่ละวิธี เช่น กฎหมายลงโทษ ประจาน ริ บทรัพย์
จาคุก บาเพ็ญประโยชน์ สังคมประนาม ไม่สวัสดีดว้ ย แล้วเลือกมาให้เหมาะสม
ตามกลุ่มชน ตามจริ ต
• คุณค่าแท้คุณค่าเทียม เมื่อการทุจริ ต มีการเสนอของปลอมแปลง การนาเสนอ
โครงการที่ตอ้ งการคุณภาพเกินจริ ง โฆษณาเกินจริ ง สร้างความเชื่อใหม่ วาง
วัตถุประสงค์เกินจริ ง ต้องทาให้แสดงคุณค่าที่แท้จริ งออกมา
• คิดเชิงบวก พลิกวิกฤติเป็ นโอกาส เมื่อมีการทุจริ ตแล้วจับได้ ต้องมีการวิเคราะห์ ให้
ได้ความรู ้ภมู ิปัญญา อย่าได้แค่จบั คนผิด เอาคนผิดกรณี ผิดมาสอนคน สอนเยาวชน
รุ่ นใหม่ หรื อนาความคิดมาพัฒนา IT มาทดลองใช้
• สติตามทัน หมัน่ ดูแลดัชนีช้ ีวดั จุดสังเกตุเตือน หากเป็ นโครงการนี้ งานแบบนี้ กรม
นี้ กระทรวงนี้ คนคนนี้ จับตาเป็ นพิเศษ มีราคากลาง มีคนเฝ้ าตาม
• องค์รวม คือมองถึง กาลังพล เหตุการณ์ งบประมาณ กิจกรรม เป้ าหมาย กลยุทธ์ที่
72
ใช้ ต้องสมดุล พอดีพอเพียง
พุทธวิธีชนะมาร
1. การให้ สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนที่ชอบก่อกวน หรื อคนที่เห็นว่าเรามาตักตวงประโยชน์ ต้อง
มีการให้ การช่วยเหลือเขาบ้าง
2. การใช้ ความอดทน สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนที่ใจร้อน มีเวลาน้อย คนมีอานาจมากกว่าเรา
ต้องมีความอดทน
3. การใช้ ความเมตตา สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนที่ชอบใช้กาลัง มีใจนักเลง คนที่ชอบโวยวาย
ต้องใช้ความเมตตาและปลอบบ้าง ชมบ้าง
4. ใช้ ฝีมือทีเ่ หนือกว่ า สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนที่เชื่อมัน่ ในตนเองสู ง หัวดื้อ ต้องใช้อานาจ
ผูบ้ งั คับบัญชาสัง่ ตักเตือน ขู่ให้กลัว
5. ระงับใจไว้ สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนใส่ ร้ายป้ ายสี ต้องระงับใจไว้ และรอให้ความจริ งปรากฎ
6. ใช้ ปัญญาสั่ งสอน สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคนที่ชอบพูดโอ้อวดแต่รู้ไม่จริ ง ต้องใช้ปัญญาที่สูง
กว่าสัง่ สอน
7. มอบฤทธิ์ให้ ศิษย์ ไปจัดการ สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากคู่แข่งที่ฝีมือไม่คู่ควร ต้องมอบให้มือขวา
ไปจัดการแทน
8. หยัง่ รู้ใจ สาหรับอุปสรรคที่เกิดจากผูท้ ี่สาคัญผิดว่าตัวเองเก่งสุ ดยอด แล้ว เช่นผูเ้ ชี่ยวชาญ
ผูช้ านาญการ ต้องใช้วธิ ีสอนให้รู้วา่ เขายังไม่บรรลุสิ่งสุ ดยอด
อ้างอิง : พุทธวิธีชนะมาร (คาถาพาหุง หรื อ ชัยมงคลคาถา)
73
การจัดการ
ความร้ ูเชิงพุทธ
ต่ อต้ านทุจริ ต
74
75
เกิดปั ญญาใหม่
คิดวิเคราะห์ภายในตน
สิ่ งแวดล้อม
ผูอ้ ื่น
จิตโปร่ งเบาสบาย
เน้นเนื้อหาตายตัว
ความรู้ฐาน
ปรัชญาฐานการเรียนรู้
จาและเอาไปใช้
ไม่เกิดปั ญญาใหม่
76
เรียนรู้การสร้ างภูมิปัญญาเชิงพุทธ
• เราทราบว่าอริ ยสัจจ์แค่ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค แต่เรามักไม่รู้วา่ สิ่ งนี้เป็ นกระบวนการสร้าง
ปัญญา เพื่อการแก้ปัญหาทั้งปวง
• คนที่จะใช้ได้ ต้องมีจิตว่าง จึงจะเห็น
• เมื่อเราคิดว่า ทุจริ ตเป็ นปั ญหา เราก็ใช้กระบวนการนี้ หาความรู ้ เพื่อการต่อต้านทุจริ ต
• ปัญหาคือการทุจริ ต เหตุคือตัญหา และกิเลส ทางแก้ คือละความเป็ นตัวตน ชีวติ พอเพียง เห็นโทษ
ของการทุจริ ต ทางรอด คือ ความสุ จริ ต
• ผูท้ ี่จะแก้ตวั เขาให้สุจริ ต เขาต้องเป็ นผูแ้ ก้ไขเอง คนอื่นเป็ นเพียงก้อนหิ นทับหญ้า ผูอ้ ื่นเป็ นเพียงผู้
ชี้ทาง และสร้างเงื่อนไขและเหตุการณ์ให้เอื้ออานาย ต่อการเปลี่ยนใจ ที่จะเปลี่ยนแปลง เป็ น
สุ จริ ตชน
• อย่าลืม เรื่ อง คนมีหกจริ ต และ เป็ นบัวสี่ ประเภท เพื่อที่เราจะหาวิธี ฝึ กอบรมจิตเขา ได้อย่าง
เหมาะสม
• อย่าลืม ทุกกรณี ทุกคดีที่มีการจับทุจริ ตได้ อย่าคิดแค่หาข้อผิดจับมาลงโทษ จงสัมภาษณ์ เชิง
จิตใจ ตั้งแต่เด็กจนโต จนถึงเวลาที่เขาทุจริ ต เพื่อเป็ นข้อมูลในการแก้ไขป้ องกันให้กบั คนอื่นที่
คล้ายคลึงกัน เก็บเป็ นภูมิปัญญา ในหน่วยงานที่ต่อต้านการทุจริ ต วิเคราะห์ในเชิงจิตวิทยาและ
77
ธรรมะ
เรียนรู้จากกรณีตวั อย่ างการทุจริตมาทาภูมิปัญญา
•
•
•
•
•
•
เรี ยนรู ้จากกรณี ตวั อย่างการทุจริ ตมาทาภูมิปัญญา
เรี ยนรู ้เล่ห์เหลี่ยมการทุจริ ตทุกสาขาอาชีพ
เรี ยนรู ้การป้ องกันปราบปรามการทุจริ ตทุกสาขาอาชีพ
เรี ยนรู ้การตรวจจับเฝ้ าระวังการทุจริ ตทุกสาขาอาชีพ
เรี ยนรู ้พฤติกรรมสุ จริ ตชนทุกสาขาอาชีพ
เรี ยนรู ้การใช้สร้างพฤติกรรมสุ จริ ตชนทุกวัย
78
สร้ างสรรค์ งานต่ อ
ศาสนา สั งคม กับการต่ อต้ านการทุจริต
• ไม่ใช่ หลักศาสนา หลักสังคม จะมีเท่าที่นาเสนอ ยังมีอีกอย่างมากมาย
• ควรส่ งเสริ มให้มีการศึกษาต่อ ลองปฏิบตั ิต่อ แบบองค์กรเรี ยนรู ้ สร้างเป็ นภูมิปัญญา
• ลองพิจารณาหลักศาสนาอื่นๆ เช่น คริ สต์ อิสลาม มีหลักคิดเรื่ อง สุ จริ ต ทุจริ ต และการต่อต้าน
ทุจริ ต อะไรบ้าง
• ลองดูงาน ประเทศอื่นๆ มีการศึกษา รู ปแบบไหน มีองค์ความรู ้อะไร อาจจัดเป็ นสภาต่อต้าน
ทุจริ ตนานาชาติ ทานองนี้เป็ นต้น
• เรี ยนรู้รูปแบบอื่น เช่น เปาปุ่ นจิ้น มีระบบอะไร อย่างไร หรื อวิชานพลักษณ์ โหง้วเฮง
• ลองดูหนังภาพยนต์ที่เกี่ยวกับมาเฟี ย กลโกง แล้ววิเคราะห์ดู
• การวิเคราะห์ตอ้ ง มาเรี ยนรู ้ มิเช่นนั้นจะได้แค่เปลือก ไม่ลงลึกพอ
• การให้ทุนวิจยั หรื อที่ปรึ กษาบ้างก็ดี
• การกระจายงาน ให้ประชาชน มีส่วนร่ วมในการต่อต้านทุจริ ต ก็ดี ก็จะเป็ นองค์ความรู้อีกอย่าง
หนึ่ง
• ลองศึกษาพิจารณาดู เทียบ การทุจริ ตเหมือนปลวกที่ข้ ึนบ้าน ได้ความรู ้อะไรบ้าง
79
องค์ กรเรี ยนร้ ู
• สร้างองค์กรเรี ยนรู ้แบบ การก่อสร้าง (Constructionism)
• หลักการ 4 อย่าง มี สะท้อนความรู ้สึก(Reflection) แลกเปลี่ยน
เรี ยนรู ้(Show and Share) เรี ยนรู ้จากการทางานจริ ง(Action
Learning) และพัฒนาต่อยอด (Continuous Improvement)
• เทคนิคที่ใช้ มี เวทีสนทนา(Dialogue) สมาธิ (EQ Camp)
เรี ยนรู ้ชีวิตของฉัน(My Life) สร้างจินตนาการ (Microworld) ต่อจิ๊กซอร์ (Jig Jaw) จาลองธุรกิจ(Business
Simulation) มอบหมายโครงการ (Project
Assignment) การกระจายอานาจ(Empowerment)
การโค๊ช (Coaching) เรี ยนรู ้จากกรณี ตวั อย่าง (Learning
from Cases เช่น ภาพยนต์ สารคดี คดีความ ภัยพิบตั ิ)
80
จบการนาเสนอ
สวัสดีครับ
อ้ างอิงเว็ปไซต์ ของผู้บรรยาย
ภูมิปัญญาอภิวฒ
ั น์
ดูหมวด พุทธวิธีบริหาร เรียนรู้ ชีวติ บริหารงาน
www.budmgt.com
81
ภาคผนวก
82
ขอบเขตเนือ้ หา
หัวข้ อ ศาสนา สังคม กับการต่อต้านการทุจริ ต
แนวคิด การนาหลักศาสนามาใช้ในการบริ หารจัดการหน่วยงาน การดาเนิน
วิถีชีวิตในสังคม กับการต่อต้านการทุจริ ต
ผู้อภิปราย
๑. ผศ. ร.ท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ (วิทยากรร่ วมอภิปราย)
๒. นายสมหวัง วิทยาปัญญานนท์ (วิทยากรร่ วมอภิปราย)
๓. นายแทนคุณ จิตต์ อสิ ระ
(วิทยากรผู้ดาเนินการอภิปราย)
83
ตีความเนือ้ หาวิชาความรู้
• หัวข้อ ศาสนา สังคม กับการต่อต้านการทุจริ ต
• ศาสนา
– สิ่ งที่ยดึ เหนี่ยว ที่เป็ นศาสดา และคาสัง่ สอน มาใช้ในการดาเนินชีวติ ในแง่มุมต่างๆ
• สั งคม
– กลุ่มมนุษย์ที่มีการอยูร่ ่ วมกัน ติดต่อสื่ อสารกัน ส่ งผลกระทบต่อกัน เชื่อมโยงกัน
• การต่ อต้ าน
– เป็ นปฏิปักษ์ ยับยั้งไม่ให้เกิดขึ้น ทาให้สิ่งนั้นหมดไป
• การทุจริต
– ตรงกันข้ามกับสุ จริ ต กระทาการที่ผดิ กฎหมาย ผิดข้อบัญญัติ ผิดศีล ที่ได้บญั ญัติไว้วา่ ไม่
ควรกระทา ที่ได้กระทาผิด ทางกาย(กายภาพ) ทางวาจา(พูด) และทางใจ(การคิด)
84
แนวคิดรวบยอด
• การนาหลักศาสนามาใช้ในการบริ หารจัดการหน่วยงาน การดาเนินวิถี
ชีวิตในสังคม กับการต่อต้านการทุจริ ต
• หลักศาสนา
– มีท้ งั เกี่ยวข้องกับสุ จริ ต ทุจริ ต และที่ไม่เกี่ยวข้อง แต่อาจนามาประยุกต์
เทียบเคียงได้
• การบริ หารจัดการหน่วยงานและการดาเนินวิถีชีวิตในสังคม
– ใช้หลักการบริ หารมาแก้ปัญหา ในหน่วยงาน และสังคม ที่เกี่ยวข้องกับปั ญหา
• การต่อต้านการทุจริ ต
– ปั ญหาที่กาลังสนใจคือ ทาให้การทุจริ ตลดลงหรื อหมดไปอย่างเป็ นระบบ เพิ่ม
ความสุ จริ ตในจิตวิญญาณให้เพิ่มขึ้น ตามหลักสัมมาวิริยะ
85
ทุจริต
การทุจริต ในทางปรัชญา เทววิทยา และเรื่ องอื่น ๆ ทางศีลธรรม หมายถึงความไม่ บริสุทธิ์ทาง
ศีลธรรมหรื อจิตวิญญาณ หรื อความประพฤติที่เบี่ยงเบนไปจากอุดมคติ
อุดมคติ หมายถึง จินตนาการที่ถือว่าเป็ นมาตรฐานแห่งความดี ความงาม และความจริ ง ทางใดทาง
หนึ่งที่มนุษย์ถือว่าเป็ น เป้ าหมายแห่ งชีวติ ของตน อุดมคติน้ นั ประกอบไปด้วยคติ และ คุณค่ า ซึ่ง
มีบทบาทสาคัญในจริ ยธรรม เพราะ คติ และ คุณค่า ที่ผคู้ นยึดถือนั้น ขึ้นอยูก่ บั ลาดับความสาคัญ
ของมันต่อแต่ละคน
สาหรับอุดมคตินิยม คนที่อา้ งว่ามีความซื่อตรงเป็ นอุดมคติ แต่กลับพูดโกหกเพื่อปกป้ องเพื่อนนั้น
แสดงว่าคนๆนั้นมีมติ รภาพเป็ นอุดมคติที่สาคัญกว่าความซื่อตรง
อุดมคติ นั้นต่างจากวีรบุรุษหรื อฮีโร่ ซ่ ึ งเป็ นแบบอย่างของศีลธรรม จรรยาบรรณ และ ความประพฤติ
การใช้อุดมคติในเชิงปฏิบตั ิน้ นั ไม่ง่าย ทั้งยังต้องแก้ไขความขัดแย้งระหว่างหลายอุดมคติที่ขดั กัน
บ่อยครั้งหลักความเชื่อ หรื อลัทธิศาสนาจึงกลายเป็ นทางออก เพื่อหลีกเลี่ยงผลลัพธ์น้ ี เราสามารถ
ใช้คุณงามความดี ซึ่งเป็ นอุดมคติที่เราสามารถทาให้เป็ นนิสยั ได้
86
ทุจริต
ทุจริต ๓ อย่ าง
๑. ประพฤติชวั่ ด้วยกาย เรี ยก กายทุจริต
๒. ประพฤติชวั่ ด้วยวาจา เรี ยก วจีทุจริต
๓. ประพฤติชวั่ ด้วยใจ เรี ยกว่า มโนทุจริต
กายทุจริต ๓ อย่ าง
ฆ่าสัตว์ ๑ ลักฉ้อ ๑ ประพฤติผดิ ในกาม ๑
วจีทุจริต ๔ อย่ าง
พูดเท็จ ๑ พูดส่ อเสี ยด ๑ พูดคาหยาบ ๑ พูดเพ้อเจ้อ ๑
มโนทุจริต ๓ อย่ าง
โลภอยากได้ของเขา ๑ พยาบาทปองร้ายเขา ๑ เห็นผิดจากครองธรรม ๑
ทุจริ ต ๓ อย่ างนีเ้ ป็ นกิจไม่ ควรทา ควรจะละเสี ย
87
สุ จริต
สุ จริต ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ .....สุ จริ ต แปลว่า การประพฤติดี การประพฤติงาม
หมายถึงการทาความดี , การทาถูกต้อง
.....สุ จริ ต มี 3 อย่าง คือ กายสุ จริ ต การประพฤติดีทางกาย วจีสุจริ ต การประพฤติ
ดีทางวาจา มโนสุ จริ ต การประพฤติดีทางใจ (ดูเรื่ องนั้นๆ)
.....สุ จริ ต เป็ นสิ่ งที่ดีงาม ควรประพฤติให้มีในตน เพราะผูป้ ระพฤติสุจริ ตย่อม
ได้รับผลดังนี้
.....๑. ตนเองตาหนิตนเองไม่ได้
.....๒. ได้รับการยกย่องสรรเสริ ญจากผูร้ ู ้
.....๓. ชื่อเสี ยงงดงามขจรไป
.....๔. เวลาใกล้ตายก็มีสติ ไม่หลงตาย
.....๕. ตายแล้วไปสู่ สุคติ
88
สุ จริต
สุ จริต ๓ อย่ าง
๑. ประพฤติชอบด้วยกาย เรี ยกว่ากายสุ จริต
๒. ประพฤติชอบด้วยวาจา เรี ยกวจีสุจริต
๓. ประพฤติชอบด้วยใจ เรี ยกมโนสุ จริต
กายสุ จริต ๓ อย่ าง
เว้นจากฆ่าสัตว์ ๑ เว้นจากลักฉ้อ ๑ เว้นจากประพฤติผดิ ในกาม ๑
วจีสุจริต ๔ อย่ าง
เว้นจากพูดเท็จ ๑ เว้นจากพูดส่ อเสี ยด ๑ เว้นจากพูดคาหยาบ ๑ เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ๑
มโนสุ จริต ๓ อย่ าง
ไม่โลภอยากได้ของเขา ๑ ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๑ เห็นชอบตามคลองธรรม ๑
สุจริ ต ๓ อย่ างนี ้ เป็ นกิจควรทา ควรประพฤติ
89
อกศุ ลมูล- กศุ ลมูล
อกศุ ลมลู ๓ อย่าง
• รากเง่ าของอกุศล เรี ยกอกุศลมูล มี ๓ อย่ าง คือ โลภะ อยากได้ ๑ โทสะ คิด
ประทุษร้ ายเขา ๑ โมหะ หลงไม่ ร้ ู จริ ง ๑
• เมื่ออกุศลมูลเหล่ านี ้ โลภะ โทสะ โมหะ ก็ดี มีอยู่แล้ ว อกุศลอื่นที่ ยงั ไม่ เกิดก็เกิดขึน้
ที่เกิดแล้ วก็เจริ ญมากขึน้ เหตุนั้นควรละเสี ย
กศุ ลมูล ๓ อย่าง
• รากเง่ าของกุศล เรี ยกกุศลมูล มี ๓ อย่ าง คือ อโลภะ ไม่ อยากได้ ๑ อโทสะ ไม่ คิด
ประทุษร้ ายเขา ๑ อโมหะ ไม่ หลง ๑
• เมื่อกุศลมูลเหล่ านี ้ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ก็ดี มีอยู่แล้ ว กุศลอื่นที่ยงั ไม่ เกิดก็
เกิดขึน้ ที่เกิดแล้ วก็เจริ ญมากขึน้ เหตุนั้นควรให้ เกิดมีในสั นดาน
90
การทุจริตทางการเมือง
การทุจริตทางการเมือง (อังกฤษ: political corruption, ภาษาปากใน
ภาษาไทยเรี ยกทับศัพท์วา่ "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตาแหน่งหรื ออานาจทาง
ราชการและการเมือง หรื อในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่ งรายได้ หรื อการ
ฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็ นของตนและพรรคพวก หรื อหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่ง
การทุจริ ตนี้อาจมิใช่เป็ นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรื อไม่ผิดก็ได้ แต่
เป็ นพฤติกรรมซึ่ งสาธารณชนจะไม่พอใจหรื อผิดจากจารี ตประเพณี นิยม เนื่องจาก
เป็ นการกระทาที่ขดั กับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่ องมาตรฐานจริ ยธรรมและ
พฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรื อองค์กร
เอกชน) คาจากัดความส่ วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิ ดช่องให้มีการตีความพฤติกรรม
การทุจริ ตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรื อแม้แต่ในสังคมเดียวกัน
91
ประเภทการทุจริ ตทางการเมือง
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การละเมิดระบบ (abuse of the system)
การฮั้วประมูล (bid rigging)
การให้ สินบน (bribery)
การรวมกลุ่มเพือ่ ผูกขาดทางธุรกิจ (cartel)
การสมรู้ร่วมคิด (collusion)
การเล่ นพรรคเล่ นพวก (cronyism)
การโกงการเลือกตั้ง (electoral fraud)
การยักยอก (embezzlement)
การใช้ อทิ ธิพลมืด (influence peddling)
การกรรโชก การรีดไถ (extortion)
องค์ กรอาชญากรรม (organized crime)
คติเห็นแก่ ญาติ (nepotism)
การอุปถัมภ์ (patronage)
การรวมหัวกันกาหนดราคา (price fixing)
92
จริ ยธรรม
จริยธรรม ถูกนิยมตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ . ศ .
2542 วา่ หมายถึง “ธรรมทีเ่ ป็ นขอประพฤติ
ปฏิบต
ั ิ ศี ลธรรม กฎ
้
ศี ลธรรม ” ซึง่ มาจากคาบาลีและสั นสฤต 2 คาผสมกัน คือ จริย
แปลวา่ ความประพฤติ กริยาทีค
่ วรประพฤติ และ ธรรม ซึง่ มี
ความหมาย 4 ประการ คือ
1. ธรรม หมายถึง ตัวธรรมชาติ คือทุกสิ่ งทุกอยางที
เ่ กิดขึน
้ จาก
่
เหตุปจ
ั จัย ( เหตุกอให
่
้เกิดผล ) ตามธรรมชาติ
2. ธรรม หมายถึง กฎธรรมชาติ หรือกฎแห่งเหตุและผล ซึง่ ตัวกฎ
ธรรมชาตินี้มอ
ี ยูหรื
ทุกสิ่ งทุกอยาง
่ อแฝงอยูในธรรมชาติ
่
่ อิงอาศัย
กัน และธรรมชาติให้เกิดความสมดุล
3. ธรรม หมายถึง คาสอนของพระพุทธเจ้า ซึง่ ถูกรวบรวมไวใน
้
พระไตรปิ ฎก แบงเป็
่ น 2 คือ คาสอนทีเ่ ป็ นหลักสั จธรรม และคา
สอนทีเ่ ป็ นหลักจริยธรรม8
93
4. ธรรม หมายถึง ความถูกต้องชอบธรรม มุงหมายถึ
งความ
่
ธรรมาภิบาล
หลักพืน้ ฐานของการบริหารกิจการบ้ านเมืองและสั งคมทีด่ ี
ประกอบด้ วยหลักพืน้ ฐาน 6 ประการ ดังนี ้
1.หลักนิติธรรม หมายถึง การตรากฎหมายที่ถกู ต้ อง เป็ นธรรม การบังคับการให้ เป็ นไปตาม
กฎหมาย การกาหนดกฎ กติกาและการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกันไว้ อย่ างเคร่ งครั ด โดย
คานึงถึงสิ ทธิ เสรี ภาพความยุติธรรมของสมาชิ ก
2.หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดมัน่ ในความถูกต้ องดีงาม การส่ งเสริ มสนับสนุนให้ ประชาชน
พัฒนาตนเองไปพร้ อมกัน เพื่อให้ คนไทยมีความซื่ อสัตย์ จริ งใจ อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบ
อาชี พสุจริ ตจนเป็ นนิสัยประจาชาติ
3.หลักความโปร่ งใส หมายถึง การสร้ างความไว้ วางใจซึ่ งกันและกันของคนในชาติ
4.หลักความมีส่วนร่ วม หมายถึง การเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่ วมรั บรู้ และเสนอความ
คิดเห็นในการตัดสิ นใจในปั ญหาสาคัญของประเทศ เช่ น การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ
5.หลักความพร้ อมรั บผิด หมายถึงความตระหนักในสิ ทธิ หน้ าที่ความสานึกในความรั บผิดชอบ
ต่ อสังคม การใส่ ใจปั ญหาสาธารณะของบ้ านเมือง การกระตือรื อร้ นในการแก้ ปัญหา ตลอดจน
เคารพในความคิดเห็นที่แตกต่ าง และมีความกล้ าที่จะยอมรั บผลดีและผลเสี ยจากการกระทาของ
ตน
6.หลักความคุ้มค่ า หมายถึง การบริ หารจัดการและใช้ ทรั พยากรที่มีจากัดเพื่อให้ เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ ส่วนร่ วม เช่ น รณรงค์ ให้ คนไทยมีความประหยัด ใช้ ของอย่ างคุ้มค่ า สร้ างสรรค์ สินค้ า
และบริ การที่มีคุณภาพ (วิภาส ทองสุทธิ์ . 2551 : 125 – 134)
94
ความหมายของธรรมาภิบาล
UNESCAP ได้กำหนดว่ำ หลักธรรมำภิบำล ควรประกอบด้วย 8 หลักกำรคือ
(What is good governance: http://www.unescap.org/)
1. กำรมีส่วนร่วม (participatory)
2. นิ ติธรรม (rule of law)
3. ควำมโปร่งใส(transparency)
4. ควำมรับผิดชอบ (responsiveness)
5. ควำมสอดคล้อง(consensus oriented)
6. ควำมเสมอภำค (equity and inclusiveness)
7. กำรมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล (effectiveness and efficiency) และ
8. กำรมีเหตุผลอธิบำยได้ (accountability)
(What is good governance: http://www.unescap.org/)
95
หลักของธรรมาภิบาลในภาครัฐ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ยึดมันในหลั
่
กของวัตถุประสงค์ในการให้บริการแก่ประชาชนหรือผูท้ ี่มาใช้
บริการ (Clear statement-high service quality)
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพในหน้ าที่และบทบาทของตน (Public Statement
ว่าจะทาหน้ าที่อย่างไรโดยวิธีอะไรที่จะบรรลุเป้ าหมาย)
ส่งเสริมค่านิยม (Values) ขององค์กร และแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของ
ธรรมาภิบาลโดยการปฏิบตั ิ หรือพฤติกรรม (Behaviors) (moral integrity
and etiquette in the responsiveness to the diverse public)
มีการสื่อสารที่ดี การตัดสินใจอย่างโปร่งใส และมีการบริหารความเสี่ยง
ที่รดั กุม (Providing information to flow two-ways)
พัฒนาศักยภาพและความสามารถของส่วนบริหารจัดการอย่างต่อเนื่ อง
และให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ (ผูบ้ ริหารต้องมีความสามารถและพัฒนาตัวเอง
อย่างต่อเนื่ อง)
การเข้าถึงประชาชน และต้องรับผิดชอบต่อการทางานและผลงานอย่าง
96
จริงจัง
หลักบรรษัทภิบาล 7 ประการ
1) Creation of Long Term Value: สร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยัง่ ยืน
2) Accountability: แสดงความรับผิดชอบต่อหน้าที่
3) Responsibility: รู้สานึกในหน้าที่
4) Promotion of Best Practices: ส่ งเสริ มการปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ
5) Equitable Treatment: ปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยอย่างเท่าเทียมกัน
6) Transparency: แสดงความโปร่ งใสในการดาเนินงาน
7) Social and Environmental Awareness: สานึกต่อสังคมและ
สิ่ งแวดล้อม
97
การทาธุรกิจโดยยึดหลัก"บรรษัทภิบาล"
1.ทุกฝ่ ายในบริ ษทั ต้องมีความตระหนักในภาระหน้าที่ของตน โดยคานึงถึงหลัก
จริ ยธรรมควบคู่กนั ไป
2.ทุกฝ่ ายในบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ ไม่วา่ จะเป็ นคณะกรรมการ
ฝ่ ายบริ หาร ไปจนถึงพนักงานระดับต่างๆ..
3.บริ ษทั ต้องปฏิบตั ิต่อผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ ายอย่างยุติธรรม ทั้งผูถ้ ือหุ น้ พนักงาน คู่คา้ และ
ลูกค้า..
4.ข้อมูลต่างๆทางธุรกิจที่บริ ษทั เปิ ดเผย โดยเฉพาะผลประกอบการและฐานะการเงิน
ต้องโปร่ งใส..
5.บริ ษทั ต้องมุ่งมัน่ กับการทาธุรกิจ เพื่อสร้างคุณค่าระยะยาวแก่ผถู ้ ือหุ น้ มิใช่เป็ นเพียง
การเก็งกาไรในช่วงสั้นๆ.. และ
6.บริ ษทั ต้องส่ งเสริ มการปฏิบตั ิอนั เป็ นเลิศในทุกๆด้าน ทั้งด้านการผลิตสิ นค้า การ
ให้บริ การ และการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นระบบ..
98