คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด และขั้นตอน/กระบวนการสรรหา โดย นายชัง่ ทอง โอภาสศิริวทิ ย์ ผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 74 บุคคลผูเ้ ป็ นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยงาน หน่ ว ยงานของรั ฐ รั ฐ.

Download Report

Transcript คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด และขั้นตอน/กระบวนการสรรหา โดย นายชัง่ ทอง โอภาสศิริวทิ ย์ ผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 74 บุคคลผูเ้ ป็ นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยงาน หน่ ว ยงานของรั ฐ รั ฐ.

คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด
และขั้นตอน/กระบวนการสรรหา
โดย
นายชัง่ ทอง โอภาสศิริวทิ ย์
ผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี
1
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 74 บุคคลผูเ้ ป็ นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยงาน
หน่ ว ยงานของรั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อเจ้า หน้ า ที่ อื่ น ของรั ฐ มี ห น้ า ที่
ดาเนิ นการให้เป็ นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวย
ความสะดวก และให้บริ การแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ในการปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ แ ละในการปฏิ บ ัติ ก ารอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ
ประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็ นกลางทางการเมือง
2
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 78 รั ฐต้องดาเนิ นการตามแนวนโยบายด้านการบริ หาร
ราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้
(1) บริ หารราชการแผ่ น ดิ น ให้ เ ป็ นไปเพื่ อ การพัฒ นาสั ง คม
เศรษฐกิ จ และความมัน่ คงของประเทศอย่างยัง่ ยืน โดยต้องส่ งเสริ มการ
ดาเนิ นการตามปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพียงและคานึ งถึ งผลประโยชน์ของ
ประเทศชาติในภาพรวมเป็ นสาคัญ
3
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 78 รัฐต้องดาเนินการ (ต่อ)
(4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพคุณธรรม
และจริ ย ธรรมของเจ้า หน้า ที่ ของรั ฐ ควบคู่ ไ ปกับการปรั บปรุ ง รู ป แบบและ
วิธีการทางาน เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิ นเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
และส่ งเสริ มให้หน่ วยงานของรั ฐใช้หลักการบริ หารกิ จการบ้านเมื องที่ ดีเป็ น
แนวทางในการปฏิบตั ิราชการ
(5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทาและ
การบริ ก ารสาธารณะเป็ นไปอย่ า งรวดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ ง ใส และ
ตรวจสอบได้ โดยคานึงถึงการมีส่วนร่ วมของประชาชน
4
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 87 รัฐต้องดาเนินการตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่ วม
ของประชาชน ดังต่อไปนี้
(1) ส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบายและ
วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น
(2) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นการมี ส่วนร่ วมของประชาชนในการ
ตัดสิ นใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้ง
การจัดทาบริ การสาธารณะ
(3) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการ
ตรวจสอบการใช้อานาจรั ฐทุกระดับ ในรู ปแบบขององค์กรทางวิชาชี พ
หรื อตามสาขาอาชีพที่หลากหลาย หรื อรู ปแบบอื่น
5
เหตุผลการประกาศใช้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่ นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550


ปรับปรุ งระบบการบริ หารราชการให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล
ที่ มุ่งเน้นการจัด องค์กรภาครั ฐ ให้สอดคล้องกับทิ ศทางการนาพา
ประเทศสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน
เพื่อให้การปฏิบตั ิราชการสามารถอานวยความสะดวกและให้บ ริ การ
แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
6
เหตุผลการประกาศใช้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่ นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 (ต่ อ)
 ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด เพื่อสอดส่ องและเสนอแนะ
การปฏิ บ ัติ ภ ารกิ จ ของหน่ ว ยงานของรั ฐ ในจัง หวัด ให้ ใ ช้วิ ธี ก าร
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
 ท าให้ ก ารบริ หารเป็ นไปด้ ว ยความโปร่ งใสเป็ นธรรม และมี
ความรับผิดชอบ
- ฯลฯ -
7
พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด
มาตรา 11 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็ นตรา 55/1 แห่ งพระราชบัญญัติบญ
ั ญัติ
ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิ น พ.ศ. 2534 “มาตรา 55/1 ในจังหวัดหนึ่ งนอกจาก
กรุ งเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดคณะหนึ่ งเรี ยกโดยย่อว่า
ก.ธ.จ. ทาหน้าที่สอดส่ องและเสนอแนะการปฏิบตั ิภารกิ จของหน่ วยงานของรั ฐใน
จังหวัดให้ใช้วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี และเป็ นไปตามหลักการที่กาหนดไว้
ในมาตรา 3/1”
คณะกรรมการธรรมาภิ บาลจังหวัด ประกอบด้วย ผูต้ รวจราชการสานัก
นายกรั ฐ มนตรี ซึ่ ง มี เ ขตอ านาจในจัง หวัด เป็ นประธาน ผูแ้ ทนภาคประชาสั ง คม
ผูแ้ ทนสมาชิกสภาท้องถิ่นที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารและผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชน
8
พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด
อานาจหน้ าที่ ก.ธ.จ.
“ก.ธ.จ.” ท าหน้า ที่ ส อดส่ อ งและเสนอแนะการปฏิ บ ัติ ภ ารกิ จ ของ
หน่ วยงานของรัฐในจังหวัดใช้วิธีการบริ หารกิ จการบ้านเมืองที่ดี และเป็ นไป
ตามหลักการที่กาหนดไว้ในมาตรา 3/1
ในกรณี ที่ ก.ธ.จ. พบว่า มีการละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ
หรื อข้อบังคับ หรื อมีกรณี ที่เป็ นการทุจริ ต ให้เป็ นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ที่ตอ้ งแจ้ง
ให้ผวู ้ ่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่ วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรื อหน่วยงานอื่นของ
รัฐที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป
9
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน
มาตรา 3/1 การบริ หารราชการตามพระราชบัญญัติน้ ี ตอ้ งเป็ นไปเพื่อ
ประโยชน์ สุ ข ของประชาชน เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ต่ อ ภารกิ จ ของรั ฐ ความมี
ประสิ ทธิ ภาพ ความคุม้ ค่าในเชิ งภารกิ จแห่ งรั ฐ การลดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
การลดภารกิ จ และยุ บ เลิ ก หน่ ว ยงานที่ ไ ม่ จ าเป็ น การกระจายภารกิ จ และ
ทรัพยากรให้แก่ทอ้ งถิ่น การกระจายอานาจตัดสิ นใจ การอานวยความสะดวก
และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผูร้ ั บผิดชอบต่อ
ผลของงาน
10
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน (มาตรา 3/1) (ต่ อ)
การจัด สรรงบประมาณ และการบรรจุ แ ละแต่ ง ตั้ง บุ ค คลเข้า ด ารง
ตาแหน่งหรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งคานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ ง
ในการปฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ข องส่ ว นราชการ ต้อ งใช้วิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การ
บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึ งถึงความรับผิดชอบของผูป้ ฏิบตั ิงาน
การมี ส่ว นร่ ว มของประชาชน การเปิ ดเผยข้อมู ล การติ ด ตามตรวจสอบและ
ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
11
พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการ
บ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีเป้ าหมาย เพื่อ :
 เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
 เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ
 ความมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม
้ ค่าในเชิงภารกิจ
12
พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการ
บ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546




การไม่มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น
มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ ให้ทนั ต่อสถานการณ์
ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนอง
ความต้องการ
มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ
13
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2552
องค์ ประกอบของ ก.ธ.จ.
ก.ธ.จ. ประกอบด้วย
 ผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่ งมีเขตอานาจในจังหวัดเป็ นประธาน
 ผูแ้ ทนภาคประชาสังคม
 ผูแ้ ทนสมาชิกสภาท้องถิ่น ไม่ได้ดารงตาแหน่ งผูบ
้ ริ หาร
 ผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชน
14
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
จานวน ก.ธ.จ. แต่ ละจังหวัดจะแปรตามจานวนอาเภอ
จานวนอาเภอ
ของจังหวัด
ก.ธ.จ.
ทั้งหมด
ประธาน
ก.ธ.จ.
ภาคสั งคม
ไม่ เกิน 10
14*
1
7*
3
3
16
1
9
3
3
18
1
9
4
4
20
1
11
4
4
ตั้งแต่
11 ถึง 15
ตั้งแต่
16 ถึง 20
ตั้งแต่ 21
ขึน้ ไป
ก.ธ.จ.สมาชิก ก.ธ.จ.
สภาท้ องถิ่น ภาคธุรกิจ
จานวนที่มี * หมายถึง จานวนไม่เกินตัวเลขดังกล่าว
15
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคประชาสั งคม
1.
ให้นายอาเภอประกาศกาหนดการรับสมัครผู ้
เข้ารับการสรรหาเป็ นผูแ้ ทนภาคประชาสังคม
ของอาเภอ ปิ ดไว้ ณ ที่วา่ การอาเภอ ที่ทาการ
องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่น และที่ทาการ
ผูใ้ หญ่บา้ น (ระเบียบข้อ 7)
16
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคประชาสั งคม (ต่ อ)
2.
เมื่อครบกาหนดเวลารับสมัครแล้ว ให้
นายอาเภอจัดประชุมผูส้ มัครเข้ารับการสรร
หาเพื่อเลือกกันเองให้ได้ผแู ้ ทนภาคประชา
สังคมของอาเภอจานวนหนึ่งคน และแจ้งให้
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดทราบ(ระเบียบข้อ 9)
17
ประกาศกาหนดการรับสมัครผู้เข้ ารับการสรรหาของนายอาเภอ
อย่ างน้ อย ต้ องมีรายละเอียด ดังต่ อไปนี้ (ระเบียบข้อ 7)
(1) วันรับสมัคร
(2) สถานที่รับสมัคร
(3) จานวนผูแ้ ทนภาคประชาสังคมของอาเภอนั้น
(4) เอกสารหรื อหลักฐานการสมัคร
(5) วันประชุมเพื่อเลือกกันเองของผูส้ มัคร
18
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคประชาสั งคม (ต่ อ)
3. ให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดจัดประชุมผู้แทนภาคประชาสังคมของ
ทุกอาเภอ เพื่อให้เลือกกันเองให้ได้กรรมการผูแ้ ทนภาค
ประชาสังคมตามจานวนที่กาหนดไว้ ยกเว้ น จังหวัดที่มี
ผูแ้ ทนภาคประชาสังคมไม่เกินเจ็ดคน ไม่ตอ้ งจัดประชุม
และให้ผแู ้ ทนภาคประชาสังคมทั้งหมดเป็ นกรรมการ
(ระเบียบข้ อ 13)
19
การสรรหากรรมการผู้แทนสมาชิกสภาท้ องถิ่น
1. ให้นายอาเภอแจ้งให้ประธานสภาท้องถิ่นแต่ละแห่งในเขตอาเภอ
ยกเว้นประธานสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด จัดประชุม
สมาชิกสภาท้องถิ่นเพื่อเลือกกันเองให้ได้ผแู ้ ทนแห่งละหนึ่งคน
(ระเบียบข้ อ 10 วรรคหนึ่ง (1))
20
การสรรหากรรมการผู้แทนสมาชิกสภาท้ องถิ่น (ต่ อ)
2. ให้ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดผู้ได้ รับเลือกตั้งจาก
อาเภอเป็ นผู้แทนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดของ
อาเภอนั้น เว้ นแต่อาเภอที่มีสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วน
จังหวัดมากกว่าหนึ่งคน ให้ นายอาเภอจัดประชุมสมาชิกสภา
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในเขตอาเภอเพื่อเลือกกันเองให้ ได้
ผู้แทนหนึ่งคน (ระเบียบข้ อ 10 วรรคหนึ่ง (2) )
21
การสรรหากรรมการผู้แทนสมาชิกสภาท้ องถิ่น (ต่ อ)
3. ให้ นายอาเภอจัดประชุมผู้ได้ รับการคัดเลือกเป็ นผู้แทนสมาชิก
สภาท้ องถิ่นแต่ละแห่ง และผู้แทนสมาชิกสภา อบจ. ของอาเภอ
เพื่อเลือกกันเองให้ ได้ ผ้ ูแทนสมาชิกสภาท้ องถิ่นของอาเภอหนึ่ง
คน และให้ แจ้ งผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ
(ระเบียบข้ อ 10 วรรคหนึ่ง (3) )
22
การสรรหากรรมการผู้แทนสมาชิกสภาท้ องถิ่น (ต่ อ)
4. ให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดจัดประชุมผู้แทนสมาชิกสภาท้ องถิ่นของ
ทุกอาเภอ เพื่อให้ แต่ละกลุ่มเลือกกันเองให้ ได้ กรรมการผู้แทน
สมาชิกสภาท้ องถิ่นตามจานวนที่กาหนด
(ระเบียบข้ อ 13)
23
การประชุมเพือ่ เลือกกันเอง
ให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมแต่ละคนมีสิทธิ ลงคะแนนเลือกผูเ้ ข้าร่ วม
ประชุมได้ไม่เกินสองชื่อ และให้ผไู ้ ด้รับคะแนนมากที่สุดเป็ นผูไ้ ด้รับ
การคัดเลือก และให้ผไู ้ ด้รับคะแนนเรี ยงตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับ
การคัดเลือกกรณี เลือกหลายคน และกรณี คะแนนเท่ากันให้จบั สลาก
(ระเบียบข้ อ 12,13)
24
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน
1.
ให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดแจ้ งให้ ประธานหอการค้ าจังหวั ด และ
ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดจัดประชุมสมาชิก เพื่ อเลื อก
กั น เองให้ ได้ ผ้ ู แ ทนหอการค้ า จั ง หวั ด ห้ าคน และผู้ แ ทนสภา
อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ห้ าคน และแจ้ งรายชื่ อผู้ แทนไปยั ง
ผู้ ว่ าราชการจั ง หวั ดในสิ บ ห้ าวั น นั บแต่ วั น ที่ ได้ รั บแจ้ ง
(ระเบียบข้ อ 14 วรรคหนึ่ง)
25
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน (ต่ อ)
2. ให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดประกาศให้ สมาคมการค้ าทราบ (ในกรณี
ที่มีสมาคมการค้ าในเขตจังหวัด) และให้ นายกสมาคมการค้ าที่
ประสงค์จะส่งผู้แทนเข้ ารับการคัดเลือกจัดประชุมสมาชิก เพื่อ
เลือกกันเองให้ ได้ ผ้ ูแทนสมาคมการค้ าแห่ งละสามคน และแจ้ ง
ชื่ อให้ ผ้ ู ว่าฯ ทราบภายในสิบห้ าวั นนั บแต่ วันที่ผ้ ู ว่าฯ ประกาศ
(ระเบียบข้ อ 14 วรรคสอง)
26
การสรรหากรรมการผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน (ต่ อ)
3. ให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดจัดประชุมผู้แทนหอการค้ าจั งหวัด ผู้แทน
สภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด และผู้ แทนสมาคมการค้ า เพื่ อ
ลงคะแนนเลือกกันเองให้ ได้ กรรมการผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน
ตามจ านวนที่ก าหนด โดยอย่ า งน้ อ ยต้ อ งมี ผ้ ู แ ทนหอการค้ า
จังหวั ดหนึ่งคน ผู้ แทนสภาอุตสาหกรรมจังหวั ดหนึ่ง คน และ
ผู้ แ ท น ส ม า ค ม ก า ร ค้ า ห นึ่ ง ค น เ ว้ น แ ต่ จั ง ห วั ด ใ ด ไ ม่ มี
สภาอุตสาหกรรมฯ หรือไม่มีสมาคมการค้ า หรือมีสมาคมการค้ า
แต่ ไ ม่ ป ระสงค์ จ ะส่ ง ผู้ แ ทน ให้ เ ลื อ กกัน เองให้ ไ ด้ ต ามจ านวน
ที่พึงมี (ระเบียบข้ อ 16 )
27
การแจ้ งผลการสรรหาของจังหวัดให้ ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ให้ผูว้ ่า ราชการจัง หวัด แจ้งรายชื่ อ ผูท้ ี่ ไ ด้รั บ การสรรหาเป็ น
กรรมการผู ้ แ ทนภาคประชาสั ง คม กรรมการผู ้ แ ทนสมาชิ ก
ส ภ า ท้ อ ง ถิ่ น ก ร ร ม ก า ร ผู ้ แ ท น ภ า ค ธุ ร กิ จ เ อ ก ช น ไ ป ยั ง
ปลัด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ ลงนามรั บ รองรายชื่ อ กรรมกา ร
เป็ นรายจังหวัด (ระเบียบข้ อ 17 วรรคหนึ่ง)
28
การประกาศรายชื่อกรรมการ “ก.ธ.จ.”
ให้ ผู ้ว่ า ราชการจั ง หวัด แต่ ล ะจัง หวัด ปิ ดประกาศรายชื่ อ
กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองจากปลั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี
ให้ ป ระชาชนทราบ ณ ศาลากลางจั ง หวั ด ที่ ว่ า การอ าเภอ
ที่ ท าการองค์ ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น และที่ ท าการผู ้ใ หญ่ บ้า น
(ระเบียบข้ อ 17 วรรคสอง)
29
วาระการดารงตาแหน่ งของ “ก.ธ.จ.”
กรรมการผู ้ แ ทนภาคประชาสั ง คม กรรมการผู ้ แ ทน
สมาชิ ก สภาท้อ งถิ่ น กรรมการผู ้แ ทนภาคธุ ร กิ จ เอกชน มี ว าระ
การดารงตาแหน่งคราวละสามปี นับแต่วนั ที่ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ลงนามรับรองรายชื่อกรรมการเป็ นรายจังหวัด (ระเบียบข้ อ 18)
30
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
อานาจหน้ าที่ ก.ธ.จ.
(1) สอดส่ องการปฏิบตั ิภารกิจของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐในจังหวัดให้ใช้
วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(2) แจ้งให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด หัวหน้าส่ วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของ
รัฐที่เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ ในกรณี ที่พบว่ามีการ
ละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ หรื อ ข้อบังคับ หรื อมีกรณี ที่เป็ นการทุจริ ต
(3) เสนอแนะแนวทางการปฏิบตั ิและการส่ งเสริ มตามหลักคุณธรรม จริ ยธรรมและ
ธรรมาภิบาลเพื่อ การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
แก่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดและหน่วยงานของรัฐในจังหวัด
(4) ติดตามการปฏิบตั ิตามมติ ก.ธ.จ.
31
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
อานาจหน้ าที่ ก.ธ.จ. (ต่ อ)
(5) แต่งตั้งที่ปรึ กษาด้านวิชาการ การประชาสัมพันธ์หรื อด้านอื่น ตามจานวน
ที่เห็นสมควร
(6) ประชาสัมพันธ์ผลการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อสาธารณะตามที่เห็นสมควร
32
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 23
การปฏิบตั ิหน้าที่สอดส่ องของ ก.ธ.จ. ตามระเบียบฯ ข้อ 22(1) อย่างน้อย ต้องมีการ
สอดส่ องหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในจังหวัด ดังนี้
(1) ปฏิบตั ิภารกิจให้เป็ นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม รวมตลอดถึง
ไม่ละเมิดสิ ทธิและเสรี ภาพของประชาชน
(2) ปฏิบตั ิภารกิจเพื่ออานวยความสะดวก ให้บริ การและสนองความต้องการของ
ประชาชน
(3) ปฏิบตั ิภารกิจเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
(4) ปฏิบตั ิภารกิจให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ มีประสิ ทธิภาพและมีความคุม้ ค่า
(5) ปฏิบตั ิภารกิจโดยไม่มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็ น ให้ทนั ต่อ
สถานการณ์ โดยเฉพาะในเรื่ องที่เป็ นความเดือดร้อนและทุกข์ยากของประชาชน
33
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 23 (ต่อ)
(6) ปฏิบตั ิภารกิจโดยยึดหลักการมีส่วนร่ วมของประชาชน และการเปิ ดเผยข้อมูล
อย่างโปร่ งใส
(7) ปฏิบตั ิภารกิจโดยมีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
สม่าเสมอและเผยแพร่ ต่อสาธารณะ
34
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 5
อานาจหน้ าทีข่ องเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ ก.ธ.จ.
ให้เลขานุการและผูช้ ่วยเลขานุการที่เป็นข้าราชการสังกัดสานักงานปลัดสานัก
นายกรั ฐมนตรี มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดทาวาระการประชุ มและงานธุ รการอื่ นตามที่
ประธานมอบหมาย การจัดทาแผนงานการประชุม ก.ธ.จ. เพื่อเสนอให้สานักงานปลัด
สานักนายกรัฐมนตรี ยนื่ ของบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
ให้ ผู ้ช่ ว ยเลขานุ ก าร ซึ่ งเป็ นข้ า ราชการในจั ง หวัด มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ประสานงานในจัง หวัด เชิ ญ ประชุ ม จัด สถานที่ ป ระชุ ม และงานธุ ร การอื่ น ตามที่
ประธานมอบหมาย
35
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 24
การประชุ ม ก.ธ.จ. ครั้งแรก
เมื่อมีการประกาศรายชื่อกรรมการ ก.ธ.จ. แล้ว ให้ประธานจัดให้มีการประชุม
ครั้งแรก ภายในหกสิ บวันนับแต่วนั ประกาศ
(ให้ มีการประชุม ก.ธ.จ. ตามที่ ปลัดสานักนายกรั ฐมนตรี ประกาศกาหนด และ
กรณี ที่กรรมการเข้ าชื่ อกันไม่ น้อยกว่ าหนึ่ งในสามของจานวนกรรมการทั้ งหมดร้ อง
ขอให้ เปิ ดประชุม ก.ธ.จ. ประธานต้ องเรี ยกประชุม ก.ธ.จ. ภายในสามสิ บวัน นับแต่ วันที่
ได้ รับคาร้ องขอ)
36
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 25
การประชุ ม ของ ก.ธ.จ. ต้อ งมี ก รรมการมาประชุ ม ไม่ น้อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของ
จานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็ นองค์ประชุม
ถ้า ประธานไม่ อ ยู่ใ นที่ ประชุ ม หรื อ ไม่ อ าจปฏิ บตั ิ ห น้า ที่ ไ ด้ ให้ร องประธาน
ทาหน้าที่ ประธานในที่ประชุม ถ้าประธานและรองประธานไม่อยู่ในที่ประชุมหรื อไม่
อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุ มเลื อกกรรมการคนหนึ่ งเป็ นประธานใน
ที่ประชุม
มติของที่ประชุ มให้ถือเสี ยงข้างมาก กรรมการคนหนึ่ งให้มีเสี ยงหนึ่ งในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสี ยงเพิ่มขึ้นอีกเสี ยงหนึ่ ง
เป็ นเสี ยง ชี้ขาด
การออกเสี ยงลงคะแนนตามวรรคสาม จะกระทาโดยเปิ ดเผยหรื อโดยวิธีลบั ก็ได้
แล้วแต่มติของที่ประชุม
37
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 26
ให้ ก.ธ.จ. มีอานาจออกหนังสื อแจ้งให้หน่ วยงานของรัฐ ผูว้ ่าราชการ จังหวัด
ที่ปรึ กษาด้านวิชาการ การประชาสัมพันธ์ หรื อด้านอื่นๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง เข้าร่ วม
ประชุม หรื อจัดส่ งเอกสารหรื อ ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งชี้ แจงข้อเท็จจริ ง เพื่อประกอบการ
พิจารณาได้ตามความจาเป็ น
38
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 27
ในการประชุ ม ก.ธ.จ. ถ้ากรรมการผูใ้ ดมี ส่ว นได้เสี ยในเรื่ องที่ พิจารณา เมื่ อ
กรรมการผูน้ ้ นั ได้ช้ ีแจงข้อเท็จจริ งและตอบข้อซักถามแล้วต้องออกจากที่ประชุมและไม่
มีสิทธิ ออกเสี ยงในเรื่ องนั้น ในกรณี เช่นนี้ให้ถือว่า ก.ธ.จ. ประกอบด้วยกรรมการทุกคน
ที่ไม่ถูกคัดค้าน ให้ประธานเป็ นผูว้ ินิจฉัยชี้ ขาดว่ากรรมการผูใ้ ดเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยใน
เรื่ องที่พิจารณา หรื อไม่
39
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 28
กรณี ที่ ก.ธ.จ. มีมติวา่ มีการละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบหรื อ ข้อบังคับ
หรื อ มี ก รณี ทุ จ ริ ต ให้ป ระธานแจ้ง เป็ นหนัง สื อ ให้ผูว้ ่ า ราชการจัง หวัด หัว หน้า ส่ ว น
ราชการ รัฐวิสาหกิ จ หรื อหน่ วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ ยวข้อง แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนิ นการ
ตามอานาจหน้าที่ และ ให้ผูว้ ่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่ วนราชการ รั ฐวิสาหกิ จ หรื อ
หน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี รายงานผลการดาเนินการให้ประธานทราบ
ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อ หากมิได้ดาเนิ นการตามอานาจหน้าที่ ให้
ประธานแจ้งมติ ก.ธ.จ. ตามวรรคหนึ่ง ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ทราบ เพื่อรายงานต่อ
รัฐมนตรี เจ้าสังกัดดาเนินการต่อไป
40
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
ข้ อ 31
ให้ปลัด ส านัก นายกรั ฐมนตรี จัด ทารายงานผลการปฏิ บ ัติง านประจ าปี ของ
ก.ธ.จ. ในภาพรวมเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี แล้วเผยแพร่ ต่อ
สาธารณะ
41
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
บทบาทหน้ าทีข่ องฝ่ ายเลขานุการของ ก.ธ.จ. และหน่ วยงานสนับสนุน
การปฏิบตั ิงานของ ก.ธ.จ.
- การจัดทาระเบียบวาระการประชุม
- การจัดประชุม
- การจัดทารายงานการประชุม
- การแจ้งมติของที่ประชุมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
42
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
บทบาทหน้ าทีข่ องฝ่ ายเลขานุการของ ก.ธ.จ. และหน่ วยงานสนับสนุน
การปฏิบตั ิงานของ ก.ธ.จ.(ต่ อ)







การจัดลาดับความสาคัญของข้อมูล
การแบ่งกลุ่มของเรื่ องตามมาตรา 3/1 หรื อหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี
การตรวจสอบรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริ ง
การศึกษาวิเคราะห์สรุ ป เสนอ ก.ธ.จ.
การแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการ
การแจ้งเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงต่อ ก.ธ.จ.
การจัดทาข้อมูลรายงานผลการปฏิบตั ิงานเพื่อเผยแพร่ และเพื่อให้ ปนร. รวม
สรุ ปรายงานต่อ ครม.
43
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด พ.ศ.2551
บทบาทหน้ าทีข่ องฝ่ ายเลขานุการของ ก.ธ.จ. และหน่ วยงานสนับสนุน
การปฏิบตั ิงานของ ก.ธ.จ.(ต่ อ)



การติดตามผลการดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดทาแผนงานการประชุม ก.ธ.จ. เพื่อเสนอ สปน. ยืน่ ของบประมาณตามกฎหมาย
ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
การจัดทารายงานประจาปี สรุ ปผลการดาเนิ นงาน และสถานะของการบริ หาร
กิจการบ้านเมืองที่ดีของหน่วยงานของรัฐในจังหวัด
44
โครงข่ ายองค์ กรที่เกีย่ วข้ อง





ศูนย์บริ การประชาชน รับเรื่ องร้องเรี ยนของ สปน.
ศูนย์ดารงธรรม
โครงข่ายองค์กรภาคประชาชน
โครงข่ายองค์กรภาคสังคม
ผูต้ รวจราชการกระทรวงต่างๆ
45
หน่วยงานติดตาม
ประเมินผลต่างๆ
องค์กร
ตรวจสอบอื่นๆ
กธจ.
หน่วยงานที่มีหน้าที่
ตามหลักการบริ หาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี
หน่วยงานรับ
เรื่ องร้องเรี ยนต่างๆ
46
ก.ธ.จ.กับความเกีย่ วข้ องขององค์ กร 4 กลุ่ม
1. หน่วยงานที่มีหน้าที่ตามหลักการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- จังหวัด ส่ วนราชการจังหวัด
รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น
- ราชการส่ วนกลาง ที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องกับพื้นที่จงั หวัด
- รัฐบาลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่
2. หน่วยงานรับเรื่ องร้องเรี ยนต่างๆ
- ศูนย์บริ การประชาชน
- ศูนย์ดารงธรรม
- ฯลฯ
3. หน่วยงานติดตามประเมินผลต่างๆ
-ผต.กระทรวง
- ก.พ.ร./ Tris
- คตป.
- ฯลฯ
4. องค์กรตรวจสอบอื่นๆ
-ปปช.
- ผูต้ รวจราชการแผ่นดิน
- คณะกรรมการสิ ทธิมนุษชนแห่งชาติ
47
การประชุม กธจ. ครั้งแรก
- ขอบเขต อานาจหน้าที่ของ กธจ.
- เกณฑ์การรับเรื่ องเข้าสู่การประชุม
- แนวทางการพิจารณาเรื่ องที่เข้าสู่การประชุม
- หลักการและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และ
งบประมาณจังหวัด และกระบวนการสอดส่ องเสนอแนะ
48