Download this file (chapter_4.ppt)

Download Report

Transcript Download this file (chapter_4.ppt)

ครัง้ ที่ 4
แบบจำลองที่แสดงเกี่ยวกับประเด็นด้ ำนจริยธรรม สังคม
และกำรเมือง
ทัศนะทำงจริยธรรม 5 ประกำรของยุคสำรสนเทศ
แนวโน้ มของเทคโนโลยีท่ สี ำคัญที่ทำให้ เกิดประเด็นทำง
จริยธรรม
จริยธรรมในสังคมสำรสนเทศ
ปั ญหำที่เกี่ยวกับควำมรั บผิดที่เกิดขึน้ ที่ผ่ำนมำ
กำรวิเครำะห์ ด้ำนจริยธรรม
หลักด้ ำนจริยธรรม
1
แบบจำลองที่แสดงเกี่ยวกับประเด็นด้ ำนจริยธรรม
สังคมและกำรเมือง
2
สมมติวา่ สังคมเปรี ยบเสมือนบ่อน ้าที่นิ่งอยู่ และมีระบบนิเวศวิทยาที่มี
ความสมดุลกันระหว่าง บุคคล สถาบันสังคม และสถาบันการเมือง
ตัวบุคคลเองจะต้ องรู้วา่ ควรจะปฏิบตั ิอย่างไร เมื่อคนอยูใ่ นสังคมหรื อชุมชน
เมื่อเราโยนก้ อนหินลงในบ่อน ้าทาให้ เกิดคลื่น ก้ อนหินเปรี ยบเสมือนพลัง
ที่รบกวนเทคโนโลยีสารสนเทศ [Information Technology (IT)] และระบบสารสนเทศ
[Information System (IS)] ส่วนคลื่นคือการเปลี่ยนแปลงสถาบันสังคมจะใช้ เวลานาน
ในการตอบสนองเพื่อที่จะสร้ างลักษณะสังคม ไม่วา่ จะเป็ นด้ านที่ดี ความคาดหวัง
ความรับผิดชอบด้ านสังคม ความถูกต้ องทางการเมือง ทัศนคติและกฎระเบียบที่เป็ น
ที่ยอมรับ ส่วนสถาบันการเมืองก็ต้องใช้ เวลาในการสร้ างกฏหมายใหม่ และทาให้
คนในสังคมเห็นถึงความจาเป็ นในการมีกฏหมายด้ วย
3
ทัศนะทำงจริยธรรม 5 ประกำรของยุคสำรสนเทศ
(Five moral dimensions of the information age)
เราสามารถกาหนดมิติความชอบธรรม (Moral dimensions) ใน
ยุคข่าวสารออกเป็ น 5 ประการ คือ
1. สิทธิด้านข่าวสารและความรับผิดชอบ (Information rights and obligations) :
2. สิทธิด้านทรัพย์สินและความรับผิดชอบ (Property rights and obligations) :
3. ภาระหน้ าที่และการควบคุม (Accountability and control) :
4. คุณภาพของระบบ (System quality) :
5. คุณภาพของชีวิต (Quality of life) :
4
แนวโน้ มของเทคโนโลยีท่ สี ำคัญที่ทำให้ เกิดประเด็นทำงจริยธรรม
(Key technology trends which raise ethical issues)
1.
การทวีคณ
ู ของความสามารถในการคานวณ (The doubling of computing
power)
2.
3.
ความก้ าวหน้ าของที่เก็บข้ อมูล (Advances in data storage)
ความก้ าวหน้ าในเทคนิคการเจาะข้ อมูลในฐานข้ อมูลขนาดใหญ่
(Advances in data mining techniques foe large databases)
4.
ความก้ าวหน้ าในโครงสร้ างพื ้นฐานของโทรคมนาคม
(Advances in the telecommunications infrastructure)
5
จริยธรรมในสังคมสำรสนเทศ
(Ethics in an information society)
เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับทางเลือกของบุคคล เมื่อต้ องเผชิญในการปฏิบตั ิ
ซึง่ จะต้ องพิจารณาว่าอะไรเป็ นทางเลือกที่ถกู ต้ องตามหลักจริ ยธรรม
แนวคิดพืน้ ฐำน : ประกอบด้ วย
1. ความรับผิดชอบ (Responsibility)
2. ภาระหน้ าที่ (Accountability)
3. ภาระความรับผิด (liability)
4. กระบวนการในการยื่นอุทธรณ์ (Due process)
6
แนวความคิดทังหมดนี
้
้ใช้ ในการสร้ างกรอบ หรื อเกณฑ์ในการวิเคราะห์
ระบบสารสนเทศ [Information system (IS)] ซึง่ สามารถแบ่งการศึกษาออกเป็ น 3
ส่วน คือ
(1) ศึกษาเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ [Information system (IS)] ขององค์กร
สถาบัน และบุคคล ซึง่ เป็ นตัวเผยแพร่เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจน
ผลกระทบที่เกิดขึ ้น
(2) ศึกษาเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ ของเทคโนโลยีที่เกิ ดขึ ้นกับ
องค์กร สถาบัน และบุคคลที่ใช้ เทคโนโลยี การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
[Information Technology (IT)] ในท่าทีที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งหมายถึง
การที่สามารถรับผิดชอบในการกระทา
(3) ศึกษาว่าสังคม การเมือง บุคคล และกลุม
่ อื่นๆ สามารถแก้ ไขข้ อ
เสียหายทางจริ ยธรรมที่เกิดขึ ้นได้ อย่างไร โดยผ่านขบวนการในการยื่น
อุทธรณ์ได้ (Due process)
7
ปั ญหำที่เกี่ยวกับควำมรั บผิดที่เกิดขึน้ ที่ผ่ำนมำ
(Some recent liability problems)



ในปี ค.ศ.1992 นักลักลอบข้ อมูลได้ เจาะเข้ าบริ ษัท Equifax ซึง่ เป็ นบริ ษัท
ขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของโลก บริ ษัทจะทาหน้ าที่ขายรายงาน โดยมีการ
เข้ าถึงข้ อมูลของลูกค้ า
ในปี ค.ศ.1993 เกิดพายุหิมะขึ ้นบริ เวณชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริ กา
และทาความเสียหายให้ กบั ระบบของบริ ษัท [Electronic Data System
(EDS)] ซึง่ เป็ นศูนย์ปฏิบต
ั ิการ ATM กว่า 5,200 เครื่ อง ในเครื อข่าย
ในปี ค.ศ.1990 พนักงานประจาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้ ทาการป้อนข้ อมูลที่ผิด
เข้ าไปในระบบทาให้ บริ ษัท Shell Pipeline ต้ องสูญเสียเงินกว่าสองล้ าน
เหรี ยญดอลล่าร์ เนื่องจากน ้ามันได้ สง่ ไปยังลูกค้ าผิดราย และลูกค้ าได้ ขาย
น ้ามันไปเรี ยบร้ อยแล้ ว
8
กำรวิเครำะห์ ด้ำนจริยธรรม (Ethics Analysis)
การวิเคราะห์ทางจริ ยธรรมมี 5 ขันตอน
้
ดังนี ้
1.
2.
ระบุอธิบายข้ อเท็จจริ งได้ อย่างชัดเจน (Identify and describe clearly the facts)
กาหนดประเด็นความขัดแย้ งหรื อภาวะที่ขบั ขันและอธิบายถึงค่านิยม
ระดับสูงที่จดั ว่ามีความเกี่ยวข้ อง (Define the conflict or dilemma and identify
the higher order values involved)
3.
4.
ชี ้ให้ เห็นกลุม่ ผู้ได้ รับผลประโยชน์ (Identify the stakeholders)
ชี ้ให้ เห็นทางเลือกที่สามารถเลือกได้ อย่างสมเหตุสมผล (Identify the options
that you can reasonably take)
5.
ชี ้ให้ เห็นผลลัพธ์ที่จะเป็ นไปได้ จากทางเลือก (Identify the potential
consequences of your option)
9
หลักด้ ำนจริยธรรมต่ ำงๆ (Candidate ethical principles)
1.
Golden Rule
กล่าวว่า “จงปรนนิบตั ิตอ่ ผู้อื่นอย่างที่ทา่ นปรารถนาให้ เขาทา
ต่อท่าน”
2.
3.
กล่าวว่า “ถ้ าการกระทาใดไม่เหมาะ
กับคนเพียงคนเดียวก็ไม่ควรทาการกระทานันไปใช้
้
กบั ทุกคน”
Descartes’ rule of change กล่าวว่า “ถ้ าการกระทาใดที่ไม่สามารถเกิดขึ ้นได้
อีกครัง้ การกระทานันก็
้ ไม่ควรเกิดขึ ้นเลย การกระทาอย่างหนึง่ อาจนามา
สูก่ ารเปลี่ยนแปลงเล็กน้ อยที่สามารถยอมรับได้ แต่ถ้าเกิดขึ ้นบ่อยครัง้ ใน
ระยะยาวการกระทาเช่นนันอาจยอมรั
้
บไม่ได้ ”
Immanuel Kant’s Categorical Imperative
10
กล่าวว่า “บุคคลควรที่จะเลือกการกระทาที่เป็ นค่านิยมที่มี
ระดับสูงกว่าก่อน โดยจะต้ องมีการจัดลาดับความสาคัญของค่านิยม
เพื่อที่จะเข้ าใจผลลัพธ์ที่เกิดขึ ้น”
Risk Aversion Principle กล่าวว่า “บุคคลควรที่จะแสดงการกระทาที่ทาให้ เกิด
อันตรายหรื อเกิดการสูญเสียน้ อยที่สดุ ”
Ethical “no free lunch rule” กล่าวว่า “กฎจริ ยธรรมที่ไม่มีการเลี ้ยงอาหารฟรี สิง
่
ที่เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาจะต้ องมีผ้ คู ิด ซึง่ บางครัง้ ผู้คิดไม่ได้ ประกาศความ
เป็ นเจ้ าของ แต่ถ้ามีการแสดงความเป็ นเจ้ าของ ผู้ผลิตจะต้ องการค่าชดเชย
สาหรับการลงทุนที่ได้ จากความคิดและค่าแรงงาน”
4. Utilitarian Principle
5.
6.
11