61 - เวชศาสตร์ชุมชน : การบูรณาการ Patient Safety กับการเรียนการสอน
Download
Report
Transcript 61 - เวชศาสตร์ชุมชน : การบูรณาการ Patient Safety กับการเรียนการสอน
กับการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์
นายแพทย์กฤษณะ สุ วรรณภูมิ
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
Krishna, 2007
1
Patient Safety Observation
ผู้เรียน
• นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4
• ปี การศึกษา 2550
• รายวิชาเวชศาสตร์ครอบครัว
และเวชศาสตร์ชุมชน
Krishna, 2007
2
Lesson Plan
•
•
•
•
ผูส้ อน
วัน เดือน ปี
เวลา
สถานที่
อาจารย์ที่ปรึ กษาประจากลุ่ม
ตามตารางเรี ยนผูป้ ่ วยนอก
ตามตารางเรี ยนผูป้ ่ วยนอก
OPD
– หน่วยบริ การปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานคริ นทร์
– คลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว/ศูนย์บริ การสาธารณสุ ขเทศบาลบ้านพรุ
Primary Care
Krishna, 2007
3
Objectives
เมื่อสิ้ นสุ ดการเรี ยนการสอน นักศึกษาสามารถ
1. สามารถบอกความหมายของ Patient Safety
2. สามารถบอกวัตถุประสงค์ของการรายงาน adverse events and errors
เพื่อส่ งเสริ ม Patient Safety
3. สามารถบอกแหล่งที่มาของข้อมูล Patient Safety
Krishna, 2007
4
Contents
1. Definitions of Patient Safety
2. The role of reporting in enhancing patient safety
3. Sources of information for patient safety
Krishna, 2007
5
Learning Experience
1. การชี้แจงกิจกรรม Patient Safety Observation ใน Student Orientation Session
- แจกแบบบันทึกกิจกรรม Patient Safety Observation ให้กบั นักศึกษาคนละ 1 ชุด
2. ในสัปดาห์ที่ 1-4 ให้นกั ศึกษาบันทึก Patient Safety Issues ที่นกั ศึกษาพบลงในแบบ
บันทึก 5-10 เหตุการณ์
3. ในวันจันทร์ของสัปดาห์ที่ 5 ให้นกั ศึกษาส่ งแบบบันทึกกิจกรรม Patient Safety
Observation ที่คุณทัศนีย ์ ที่สานักงานธุรการภาควิชาเวชศาสตร์ ชุมชน เพื่อรวมรวมและ
ทาบันทึกสรุ ปให้กบั อาจารย์ประจากลุ่ม
4. อภิปรายผลของ Patient Safety Observation ก่อนการนาเสนอครอบครัวกลุ่มย่อยกับ
อาจารย์ประจากลุ่ม ใช้เวลาไม่ควรเกิน 30 นาที
Krishna, 2007
6
References
• World Alliance for Patient Safety, WHO Draft Guidelines for Ad verse
Event Reporting and Learning Systems: From information to action,
WHO, 2005.
(เอกสาร pdf จานวน 80 หน้า ไม่แนะนาให้นกั ศึกษาอ่านทุกเรื่ อง ให้อ่าน
เพื่อเข้าใจ concept ของ Patient Safety เท่านั้น)
• Australian Patient Safety Bulletin, Newsletter of the NHMRC Centre
of Research Excellence in Patient Safety, March 2007 Issue 5
(เอกสาร pdf จานวน 8 หน้า แนะนาให้อ่านเพื่อเป็ นแนวทางในการ
บันทึก โดยเฉพาะในส่ วนของ Take Home Message)
Krishna, 2007
7
Patient Safety Observation Form
Krishna, 2007
8
ผลของการเรียนการสอน
Patient Safety Observation
Krishna, 2007
9
Learners
• นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4 จานวน 144 คน
• แบ่งเป็ น 6 รุ่ น รุ่ นละประมาณ 24 คน
• สลับกันออกตรวจผูป้ ่ วยนอก
– หน่วยบริ การปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานคริ นทร์
วันละประมาณ 5-6 คน
– คลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว/ศูนย์บริ การสาธารณสุ ขเทศบาลบ้านพรุ
วันละประมาณ 5-6 คน
Krishna, 2007
10
Teaching Method – 1
Follow the patient
• เพื่อสอนเรื่ อง patient centered care
• สอดแทรกเรื่ อง patient safety โดย
ให้นกั ศึกษาใช้ช่วงเวลานี้สงั เกตหา
patient safety issues ด้วย
Krishna, 2007
11
Teaching Method – 2
Out Patient Care
•
•
•
•
•
Hospital-based
OPD สอน
อาจารย์ 1 คน/นักศึกษา 5-6 คน
นักศึกษาซักประวัติตรวจร่ างกาย
ประมาณ 20 นาที
นาเสนอผูป้ ่ วยกับอาจารย์ อภิปราย
และให้การดูแลรักษาประมาณ 10
นาที
Summary Review ใน 30 นาทีทา้ ย
•
•
•
•
Community-based
OPD สอน + service
อาจารย์ 1 คน/นักศึกษา 5-6 คน,
Extern 2-3 คน, พชท/พจบ 1 คน
นักศึกษาซักประวัติตรวจร่ างกาย
นาเสนอผูป้ ่ วยกับอาจารย์ อภิปราย
และให้การดูแลรักษา
Krishna, 2007
12
Summary of Patient Safety Observation Forms
จานวนนักศึกษาที่ส่งแบบสอบถาม
(คน)
55
จานวนนักศึกษาทั้งหมด
(คน)
120
ร้อยละ
45.8
Krishna, 2007
13
Top 10 Patient Safety Issues
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หน่วยบริ การปฐมภูมิคบั แคบ ผูป้ ่ วยเยอะ เสี่ ยงเดินชน (17)
คนไข้มาด้วยอาการไอ ไม่ได้ใส่ mask/ ไม่ได้ใส่ ตลอดเวลา (14)
ช้อน ส้อม ตะเกียบ แก้วน้ าในโรงอาหาร ไม่สะอาด (13)
ห้องน้ ามีน้ านองพื้น มีโอกาสลื่นหกล้มง่าย (11)
ฝนสาดทางเดินเชื่อมตึก พื้นลื่น (9) กระเบื้องสี เขียวหน้าโอพีดี ลื่น (1)
แสงสว่างไม่เพียงพอในบางจุด เป็ นมุมอับ (9)
การจ่ายยาผิดพลาด เช่นข้อบ่งชี้ ขนาดยา (8)
นักศึกษาแพทย์ไม่ลา้ งมือหลังตรวจคนไข้ แล้วไปตรวจคนไข้ต่อไป(8)
หนูและแมลงสาบบริ เวณโรงอาหาร (7)
การสื่ อสารไม่เข้าใจกันระหว่างแพทย์กบั ผูป้ ่ วย (4)
Krishna, 2007
14
5 Selected Patient Safety Issues
•
•
•
•
•
หน่วยบริ การปฐมภูมิคบั แคบ ผูป้ ่ วยเยอะ เสี่ ยงเดินชน
คนไข้มาด้วยอาการไอ ไม่ได้ใส่ mask/ ไม่ได้ใส่ ตลอดเวลา
การจ่ายยาผิดพลาด เช่นข้อบ่งชี้ ขนาดยา
นักศึกษาแพทย์ไม่ลา้ งมือหลังตรวจคนไข้ แล้วไปตรวจคนไข้ต่อไป
การสื่ อสารไม่เข้าใจกันระหว่างแพทย์กบั ผูป้ ่ วย
Krishna, 2007
15
Issue 1:
เหตุการณ์
หน่วยบริ การปฐมภูมิคบั
แคบ ผูป้ ่ วยเยอะ เสี่ ยงเดิน
ชน
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
ทีค่ วรจะเป็ น
- พยายามอย่ายืนกีดขวางควรประจา
ตาแหน่งของตนเอง
- จัดของเป็ นระเบียบและสัดส่วน(4)
- เปิ ดหน้าต่างช่วงเวลากลางวัน
- ญาติที่เข็นรถ พยายามเข็นรถไปตาม
ทางที่กว้างที่สุดเพื่อที่จะได้ไม่ชนกับ
พนัง
- ใช้ฉากกั้นแยกจากบริ เวณที่ซกั
ประวัติ และติดสติกเกอร์ปิด(3)
- ยังไม่ได้แก้ไข
Krishna, 2007
- จัดวางอุปกรณ์ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์
เครื่ องมือแพทย์ต่าง ๆ ให้เป็ นระเบียบ อย่า
วางอุปกรณ์ในตาแหน่งที่เสี่ ยงต่อการลื่น
(2)
- เพิ่มพื้นที่ และห้องตรวจในหน่วยบริ การ
ปฐมภูมิ(4)
- มีหอ้ งแยกเฉพาะในการตรวจร่ างกาย
- ใช้พดั ลมช่วยในการระบายอากาศ
- น่าจะขยับพื้นที่ทางเดินให้กว้างขวางขึ้น
โดยเลื่อนเก้าอี้สาหรับคนไข้นงั่ รอไปชิด
กับผนังให้มากขึ้น จะได้มีพ้นื ที่สาหรับ
รถเข็น
16
Issue 2:
เหตุการณ์
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
ทีค่ วรจะเป็ น
คนไข้มาด้วยอาการ
ไอ ไม่ได้ใส่ mask/
ไม่ได้ใส่ ตลอดเวลา
- พยาบาลพูดกาชับผูป้ ่ วยเมื่อสังเกตเห็น
- ตามหา นศพ.ที่ตรวจรักษาคนไข้คนนี้ให้ไปทา
Tuberculin ไป CXR
- ผูป้ ่ วยใส่หน้ากากป้องกันไม่ถูกวิธี (2)
- แพทย์ผตู ้ รวจใส่ mask ให้ผปู ้ ่ วยที่มีอาการเข้า
ข่ายโรควัณโรคใส่ mask เช่น ผูป้ ่ วยที่ไอเรื้ อรัง
มากกว่า 2 สัปดาห์
- ผูป้ ฏิบตั ิงานใน รพ.ทา tuberculin test ทุก ๆ ปี
- ให้ทุกคนช่วยกันดูและเตือนเมื่อผูป้ ่ วยถอด mask
สอนวิธีใส่ mask (2)
- จัดสถานที่ให้ผปู ้ ่ วยนัง่ เป็ นระเบียบเพื่อให้เฝ้าระวังง่าย
ขึ้น
- แพทย์และพยาบาลต้องอธิบายให้ผปู ้ ่ วยตระหนักถึง
การแพร่ กระจายของโรคจริ ง ๆ เพื่อที่ผปู ้ ่ วยได้ใส่ mask
ให้มากขึ้น
- ให้ความรู ้คนทาหน้าที่ screen ด้านหน้าเพื่อให้
สามารถ screen คนไข้ TB ให้ใส่ mask ให้ได้จานวน
มากที่สุด
-ควรมีการแยกผูป้ ่ วยตั้งแต่ซกั ประวัติก่อนเข้าตรวจ เพื่อ
แยกผูป้ ่ วยที่มีโอกาสเป็ นวัณโรคไปรักษาในที่จาเพาะ
และมีการใส่ mask ป้ องกันตั้งแต่เนิ่น ๆ
เพื่อตรวจว่ามีเชื้อวัณโรคหรื อไม่
- เพิ่มห้องแยกผูป้ ่ วยวัณโรคเพื่อป้ องกันการแพร่ เชื้อ
Krishna, 2007
17
Issue 3:
เหตุการณ์
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
ทีค่ วรจะเป็ น
การจ่ายยาผิดพลาด
เช่นผิดข้อบ่งชี้ ขนาด
ยา การจ่ายยาผิดคน
- มีระบบคอมพิวเตอร์สาหรับการตรวจสอบ
ในเรื่ องต่าง ๆ
- มีการถามชื่อซ้ าก่อนที่จะทาหัตถการ ผ่าตัด
จ่ายยา ทุกครั้ง
- มีการตรวจสอบกับบัตรและผูป้ ่ วยอีกครั้ง
(4)
-เปลี่ยนยาใหม่
- การเขียนหรื อบันทึก OPD Card ให้ผปู ้ ่ วย
ผิดคน
- เวลาตรวจคนไข้บางครั้งหมออ่านชื่อคนไข้
แล้วให้คนไข้บอกว่าใช้หรื อไม่ใช่
- การจัดการเรี ยนการสอนเหมาะสมแล้ว
- การเตือนตัวเองของบุคลการทางการแพทย์
- ตรงตามเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิ
- ตรวจสอบโรคประจาตัว ระวังให้มากขึ้น ซัก
ประวัติให้ดีข้ ึน ตลอดจนการแพ้ยาของคนไข้และ
โรคที่เป็ นให้ดี ว่ายาที่ใช้มีผลต่อโรคที่เป็ นและ
โรคอื่น ๆ หรื อไม่
- ให้แพทย์ดูความถูกต้องก่อนเขียน
- ให้คนไข้บอกชื่อว่าคนไข้วา่ ตรงกับแฟ้มประวัติ
Krishna, 2007
หรื อไม่
18
Issue 4:
เหตุการณ์
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
ทีค่ วรจะเป็ น
นักศึกษาแพทย์ไม่
ล้างมือหลังตรวจ
คนไข้ แล้วไปตรวจ
คนไข้ต่อไป
- มีอาจารย์ พี่ ๆ คอยตักเตือน
- มีป้ายเตือนให้ลา้ งมือ (4)
- มี alcohol ล้างมือ
- เห็นว่าคนไข้ไม่มีอาการเด่นชัดจึง
ไม่ใส่ mask
- ยังล้างมือไม่ถูกวิธี
- ให้ นศพ.ทุกคนมีจิตสานึกและให้
เกียรติผปู ้ ่ วย(3)
-ให้ความรู ้และให้ตระหนักถึง
ประโยชน์ของการล้างมือแก่
บุคลากรทางการแพทย์ (2)
- ติดป้ายแนะนาการล้างมือที่ถูกวิธี
ควรให้มีความรู ้เชิงปฏิบตั ิดว้ ย (2)
Krishna, 2007
19
Issue 5:
เหตุการณ์
การสื่ อสารไม่เข้าใจกัน
ระหว่างแพทย์กบั ผูป้ ่ วย
การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน การรายงาน/แก้ไข/ป้ องกัน
ทีค่ วรจะเป็ น
- ให้ญาติช่วยฟังและอธิบาย(3)
-พยายามเข้าใจผูป้ ่ วยรับฟั งและ
คานึงถึงความต้องการของผูป้ ่ วย
(2)
- พยายามใช้ศพั ท์ง่าย ๆ เพื่อให้
ผูป้ ่ วยเข้าใจ
- เปิ ดโอกาสให้ผปู ้ ่ วยซักถามสิ่ ง
ที่ยงั สงสัย
Krishna, 2007
- ฝึ กการเรี ยนรู ้ภาษาท้องถิ่น(2)
-ให้ความเข้าใจในคาพูดและ
ยอมรับผูป้ ่ วยมากขึ้น(2)
- พัฒนาทักษะการสื่ อสาร
- แจกแผ่นพับการให้ความรู ้
เกี่ยวกับโรคที่เป็ น
20
การประเมินการเรียนการสอน
Patient Safety Observation
Krishna, 2007
21
SWOT
Krishna, 2007
22
Strengths
• มีการกาหนดกิจกรรมและแผนการสอนไว้ชดั เจน
Krishna, 2007
23
Weaknesses
Krishna, 2007
24
ข้ อผิดพลาด - 1
• Result ไม่สามารถบอกได้โดยตรงว่าบรรลุ objectives หรื อไม่
• Objectives
1. สามารถบอกความหมายของ Patient Safety
2. สามารถบอกวัตถุประสงค์ของการรายงาน adverse events and errors
เพื่อส่ งเสริ ม Patient Safety
3. สามารถบอกแหล่งที่มาของข้อมูล Patient Safety
Krishna, 2007
25
ข้ อผิดพลาด - 2
• อาจารย์ไม่มีเวลาอภิปรายกับนักศึกษา เพราะไม่ได้กาหนดในตารางเรี ยน
ให้ชดั เจน
Krishna, 2007
26
ข้ อผิดพลาด - 3
• นักศึกษาไม่ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยนการสอน ทาให้ไม่สามารถ
นาเสนอ patient safety issue ได้ถูกต้อง
• ไม่มีการให้คะแนน นักศึกษาจึงให้ความใส่ ใจน้อย
Krishna, 2007
27
Opportunities
• คณะฯมีความต้องการบูรณาการเรื่ อง Patient Safety กับการเรี ยนการ
สอน
Krishna, 2007
28
Threats
• ยังมองไม่เห็น ...(ขอความเห็นจากทุกท่านครับ)
Krishna, 2007
29
แนวทางการดาเนินงานต่ อไป
• เพิ่มแบบสอบถาม ให้นกั ศึกษาตอบ เพื่อให้ไปค้นคว้าและตอบตาม
วัตถุประสงค์
• กาหนดเวลาอภิปรายร่ วมกับอาจารย์ที่ปรึ กษาให้ชดั เจน แยกจากกิจกรรม
อื่น
• กาหนดว่านักศึกษาทุกคนต้องเข้าร่ วมกิจกรรม Patient Safety
Observation และส่ งงาน
Krishna, 2007
30
The End
Krishna, 2007
31