วัคซีน

Download Report

Transcript วัคซีน

Slide 1

วัคซีน

1


Slide 2

การเสริมสร้ างภูมคิ ุ้มกันโรค
• ทำได้ 2 วิธีคือ
• 1. Active immunization คือ กำรให้ วคั ซีน/ ท๊อกซอยด์
ป้ องกันโรคโดยทัว่ ไป โดยให้สำรแอนติเจน ซึ่งจะกระตุน้ ให้
ร่ ำงกำยสร้ำงภูมิคุม้ กันโรค
• 2. Passive immunization คือ กำรได้ รับภูมิคุม้ ซึ่งรวมถึงได้รับจำก
แม่และได้รับเมื่อสัตว์โตแล้วโดยกำรให้ซีรั่ม (เซรุ่ ม) ซึ่งมีภูมิคุม้ กัน
โรคสูง เพื่อย่นระยะเวลำที่ร่ำงกำยจะต้องค่อยๆ สร้ำงภูมิคุม้
วัคซีน

2


Slide 3

• กำรสร้ำงภูมิคุม้ กันโรคไม่จำเป็ นจะต้องต่อต้ำนตัวเชื้อโรค
แต่อำจต่อต้ำนสารพิษที่เชื้อนั้นสร้ำงขึ้นได้ ซึ่งในกรณี เหล่ำนี้
ชีวภัณฑ์ที่สร้ำงขึ้นอำจมีชื่อเรี ยกแตกต่ำงกัน
– เซรุ่ ม (serum) ได้มำจำก hyperimmune serum ของ
สัตว์ทดลองที่ถูกกระตุน้ ให้ได้รับสำรพิษทีละน้อย เช่น เซรุ่ มพิษ
งู
– ท๊อกซอยด์ (toxoid) ได้มำจำกสำรพิษที่เชื้อโรคสร้ำงขึ้น และถูก
ทำให้ลดควำมรุ นแรงลง เช่น เชื้อบำดทะยัก
วัคซีน

3


Slide 4

วัคซีนคืออะไร
• คือ สิ่ งที่ได้ จากเชื้อจุลชีพหรือพยาธิ
รวมทั้งสารพิษของเชื้อซึ่ง
กระต้ นุ ให้ ร่างกายสร้ างภูมิค้ มุ กัน
เพือ่ ต่ อต้ านการเกิดโรค
ปัจจุบันสามารถสั งเคราะห์ สิ่งทีม่ ี
โครงสร้ างคล้ ายกับตัวเชื้อและ
ก่ อให้ เกิดการสร้ างภูมิค้ ุมกันได้
เช่ นเดียวกัน
วัคซีน

4


Slide 5

หลักการทั่วไปของวัคซีน
• จะต้องกระตุน้ ให้เกิดกำรสร้ำง ชนิดของภูมิค้ มุ กันโรคที่มี
ควำมจำเพำะต่อกำรป้ องกันโรค ตัวอย่ำงเช่น
– วัคซีนปัองกันโรควัณโรคหรื อไทฟอยด์จะต้องกระตุน้ กำรสร้ำง
ภูมิคุม้ ชนิดพึ่งเซลล์ (cell-mediated immunity)
– วัคซีนป้ องกันโรคไข้เหลืองหรื อโปลิโอจะต้องกระตุน้ กำรสร้ำง
ภูมิคุม้ กันชนิดที่มีในเลือด (humoral immunity)

วัคซีน

5


Slide 6

หลักการทั่วไปของวัคซีน (ต่ อ)
• จะต้องกระตุน้ ให้เกิดกำรสร้ำงภูมิคุม้ กันที่มีบทบำทจาเพาะ
ในตาแหน่ งที่มีผลต่อกำรเกิดโรค
– วัคซีนที่ป้องกันโรคที่เกิดที่เซลล์เยือ่ บุผวิ จะต้องกระตุน้ กำรสร้ำง
secretory IgA ไม่ใช่ IgG หรื อ IgM และต้องมีผลกระตุน้ เซลล์ที่
ตำแหน่งที่มีกำรเกิดโรคด้วย ตัวอย่ำงเช่น วัคซีนป้ องกันโรคอหิ
วำต์ วัคซีนป้ องกันหวัด จะต้องกระตุน้ กำรทำงำนของเซลล์เยือ่ บุ
ที่ลำไส้ และที่จมูกและคอ เป็ นต้น
วัคซีน

6


Slide 7

หลักการทั่วไปของวัคซีน (ต่ อ)
• จะต้องกระตุน้ ให้เกิดกำรสร้ำงภูมิคุม้ กันที่มีควำมจาเพาะต่ อ
แอนติเจนของเชื้อ ซึง่ มีบทบาทสาคัญในการ
ก่อโรค
– วัคซีนที่ป้องกันโรคที่เกิดจำกเชื้อ Herpes virus หรื อ Pox virus
สำมำรถผลิตแอนติเจนได้มำกกว่ำ 100 ชนิด และแอนติเจนที่มี
บทบำทสำคัญในกำรกระตุน้ ภูมิคุม้ กันโรค อำจเป็ นชนิดใดชนิด
หนึ่งที่อยูบ่ นผิวของเชื้อโรคนั้นก็ได้ และหำกเป็ นเซลล์ที่มีขนำด
ใหญ่ มีจำนวนยีนส์มำกขึ้นก็จะยิง่ มีแอนติเจนมำกขึ้น เช่น
เชื้อมำเลเรี ย > แบคทีเรี ย >
> ไวรัส
วัคซีไมโคพลำสมำ

7


Slide 8

ชนิดของวัคซีน
• 1. Inactivated / Killed vaccine ได้จำกเชื้อที่ทำให้ตำยหรื อ
อ่อนกำลังลง ไม่จำเป็ นจะต้องเก็บไว้ในตูเ้ ย็น
• 2. Live attenuated vaccine ได้จำกเชื้อที่ยงั มีชีวติ อยู่ แต่ทำให้
อ่อนฤทธิ์ ลง ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในตูเ้ ย็นเสมอ (ช่องธรรมดำ)
วัคซีนที่ได้เชื้อไวรัสมักเป็ นชนิดนี้
• 3. Subunit vaccine ได้จำกบำงส่ วนของเชื้อไวรัสหรื อ
แบคทีเรี ยที่สำมำรถกระตุน้ ให้เกิดกำรสร้ำงภูมิคุม้ มี
ควำมจำเพำะมำก เช่น วัคซีนโรคพิษสุ นขั บ้ำเทียม
• 4. Toxoid ได้จำกสำรพิษที่เชื้อสร้ำงขึ้น
วัคซีน

8


Slide 9

ชนิดของวัคซีน (ต่ อ)
• มีควำมแตกต่ำงที่สำคัญระหว่ำงวัคซีนเชื้อเป็ นและวัคซีนเชื้อตำย
– วัคซีนเชื้อเป็ นคือ วัคซีนที่ได้จำกเชื้อที่ยงั มีชีวิตอยู่ แต่ถูกทำให้อ่อน
กำลังลง ไม่สำมำรถก่อให้เกิดโรคได้ วัคซีนที่เตรี ยมด้วยวิธีน้ ีจะยังมี
เชื้ออยูจ่ ำนวนเล็กน้อย เมื่อฉีดเข้ำไปก็จะสำมำรถแบ่งตัวเพิ่มจำนวน
ในร่ ำงกำยโฮสต์ได้อีก ทำให้มีเซลล์ที่กระตุน้ กำรสร้ำงภูมิคุม้ กัน
จำนวนมำก และเกิดกำรสร้ำงภูมิคุม้ ได้ดีกว่ าวัคซีนเชื้อตำย และภูมิคุม้
จำกวัคซีนเชื้อเป็ นจะอยูใ่ นร่ ำงกำยได้ส้ั นกว่ า ทำให้ตอ้ งฉีดซ้ ำบ่อย
วัคซีน

9


Slide 10

หลักการทั่วไปของวัคซีน
– วัคซีนเชื้อตายคือวัคซีนที่ได้จำกเชื้อที่ตำยแล้ว แต่มีส่วนของ
แอนติเจนซึ่งเป็ นโปรตีนเหลืออยู่ ทำให้สำมำรถกระตุน้ กำรสร้ำง
ภูมิคุม้ กันโรคได้เช่นกัน ดังนั้นวัคซีนชนิดนี้จะใช้เวลำกระตุน้
ภูมิคุม้ นำนกว่ำ แต่จะอยูใ่ นร่ ำงกำย
ได้นำนกว่ำวัคซีนเชื้อเป็ นและต้องมี
กำรฉีดซ้ ำเมื่อถึงระยะเวลำที่โปรตีน
ที่เป็ นแอนติเจนเสื่ อมสลำยไป

วัคซีน

10


Slide 11

เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ างวัคซีน
เชื้อเป็ น

• เชื้อถูกทาให้ อ่อนกาลังลงโดยผ่ านเซลล์
เพาะเลีย้ งหรืออาหารเลีย้ งเชื้อ
• มีปริมาณเชื้อในวัคซีนน้ อย
• ค่ อนข้ างไม่ คงตัว (less stable) ต้ องเก็บ
ในตู้/ ที่เย็น
• ไม่ ใช้ adjuvant ต้ องผสมนา้ ยาละลาย
ก่อนใช้
• ก่อให้ เกิดการแพ้วคั ซีนได้ ง่าย

เชื้อตาย

• เชื้อมาจากโรคทีม่ ีความรุนแรง
โดยตรงและทาให้ ตาย
• ต้ องเตรียมจากเชื้อจานวนมากกว่ า
• ค่ อนข้ างคงตัว (more stable)
• ใช้ adjuvant
• ส่ วนใหญ่ ไม่ ก่อให้ เกิดการแพ้ แต่
อาจเป็ นฝี ได้ เนื่องจากสื่ อที่ผสมมา

ที่มำ: เกรี ยงศักดิ์ พูนสุ ข. 2536. โรคติดเชื้อในไก่

11


Slide 12

เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ างวัคซีน
เชื้อเป็ น
• ถูกทาลายได้ ง่ายโดยภูมิคุ้มจากแม่
• ถ่ ายทอดภูมิคุ้มสู่ ลกู ได้ ต่า






• ให้ โดยวิธีฉีดหรือวิธีธรรมดาได้ เช่ น ทา
• กระตุ้น humoral & cell-mediated
immunity กระตุ้นได้ เร็วแต่ ภูมิคุ้มสั้ น
• มีโอกาสแพร่ เชื้อไปยังผู้ทไี่ ม่ ได้ ทาวัคซีน

• การผลิตวัคซีนรวมทาได้ ยาก

• ราคาถูก
วัคซีน •

เชื้อตาย
ภูมิคุ้มจากแม่ มีผลทาลายวัคซีนได้
น้ อย
ถ่ ายทอดภูมิคุ้มสู่ ลูกได้ สูง
มักให้ โดยการฉีด
กระตุ้น humoral immunity เป็ น
หลัก
กระตุ้นได้ ช้าแต่ อยู่ได้ นาน
ไม่ มีโอกาสแพร่ เชื้อ
การผลิตวัคซีนรวมทาได้ ง่าย
ส่ วนใหญ่ ราคาแพงกว่ า 12


Slide 13

เปรี ยบเทีย
บกำร
ตอบสนอง
ต่อกำรทำ
วัคซีนชนิด
เชื้อตำย
และเชื้อ
เป็ น

วัคซีน

13


Slide 14

ปัจจัยที่มีผลต่อกำรระยะเวลำที่สำมำรถป้ องกันโรค
• กำรเกิด reinfection หรื อ subclinical infection หรื อ กำร
booster จะช่วยให้ระดับภูมิคุม้ กันโรคสูง
• โรคบำงชนิดไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงสำยพันธุ์ของเชื้อ ทำให้ภูมิ
คุม้ ที่เกิดขึ้นสำมำรถป้ องกันโรคได้นำน ในขณะทีบ่ ำงโรค เช่น
หวัดใน คน ปำกเท้ำเปื่ อยในสัตว์ เชื้อมีกำรเปลี่ยนแปลง
แอนติเจนตลอดเวลำ และกำรฉี ดวัคซีนสำยพันธุ์ใดสำยพันธุ์
หนึ่งจะไม่ก่อให้เกิดภูมิคุม้ ข้ำมสำยพันธุ์ได้
วัคซีน

14


Slide 15

ปัจจัยที่มีผลต่อกำรระยะเวลำที่สำมำรถป้ องกันโรค
• อย่ำงไรก็ตำม ยังไม่มีคำอธิบำยที่กระจ่ำงสำหรับโรคที่ไม่ได้
เกิดขึ้นตลอดเวลำ แต่ สำมำรถให้วคั ซีนเพียงเข็มเดียวและ
ป้ องกันได้ตลอดชีวติ

วัคซีน

15


Slide 16

หลักการทั่วไปของวัคซีน (ต่ อ)
Adjuvant
• คือสำรที่เติมเข้ำไปรวมกับแอนติเจนเพื่อทาให้ เกิดปฏิกริยาค่ อยๆ
ปลดปล่อยแอนติเจน ทำให้กระตุน้ กำรสร้ำงภูมิคุม้ ได้ดีข้ ึน
• โดยทัว่ ไปแล้วจะใช้น้ ำมันเป็ น adjuvant เข้ำไปรวมตัวกับแอนติเจน
ที่อยูใ่ นสภำพสำรละลำย ทำให้เกิดเป็ นสถำนะ water in oil emulsion
• ข้อเสี ยของน้ ำมันคือ มีแนวโน้มทำให้เกิดเป็ นฝี ในตำแหน่งที่ฉีด
และอำจเป็ นสารก่อมะเร็ง
• ปัจจุบนั มีสำรสังเครำะห์ข้ ึนมำ เช่น muramyl dipeptide, synthetic
lipid vesicle (liposomes) เป็ นต้น
วัคซีน

16


Slide 17

หลักการทั่วไปของวัคซีน (ต่ อ)
ปฏิกริ ิยาขัดแย้ งกัน
• เกิดขึ้นเมื่อวัคซีนนั้นมีแอนติเจนหลำยชนิด ได้ทำปฏิกริ ยำขัดแย้งกัน
ทำให้กำรสร้ำงภูมิคุม้ เกิดขึ้นไม่ดีเท่ำที่ควร
• วัคซีนจำกเชื้อไวรัสเชื้อเป็ นบำงชนิดก่อให้เกิดปฏิกริ ยำต่อกัน

อายุทคี่ วรให้ วคั ซีน
• ทำรก/ ลูกสัตว์ จะได้รับ IgG จำกแม่โดยผ่ำนทำงรก และได้ IgA
จำก colostrum และน้ ำนม ซึ่งภูมิคุม้ จำกแม่จะป้ องกันกำรติดเชื้อ
ต่ำงๆ และจะมีผลต่อเชื้อที่ได้รับจำกกำรทำวัคซีนด้วย
• ดังนั้นจะต้ องทาวัคซีนในลูกสั ตว์ เมื่อภูมคิ ุ้มของแม่ กาลังจะหมดไป
วัคซีน

17


Slide 18

การทดสอบวัคซีน
• วัคซีนที่ผลิตออกมำก่อนจะเข้ำสู่ทอ้ งตลำด ต้องมีกำรตรวจสอบ
คุณสมบัติ ควำมปลอดภัย และประสิ ทธิภำพ
• วัคซีนที่ดีไม่ได้วดั ที่ระดับไตเตอร์ของภูมิคุม้ ซึ่งแสดงถึงกำร
ตอบสนองต่อกำรถูกกระตุน้ แต่วดั ผลที่ความสามารถป้องกันการ
ติดเชื้อที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ ในกลุ่มผูท้ ดลองจำนวนมำกและมี
กำรทดสอบหลำยครั้ง แต่บำงโรคก็ยำกแก่กำรทดสอบด้วยวิธีน้ ี เช่น
โรคพิษสุ นขั บ้ำ โรคเอดส์ เป็ นต้น

วัคซีน

18


Slide 19

วัคซีนในอุดมคติมีคุณสมบัตอิ ย่ างไร
• สำมำรถกระตุน้ ให้เกิดกำรสร้ำงภูมิคุม้ กันต่อต้ำนโรค แต่ไม่
สำมำรถต้ำนทำนกำรติดเชื้อโรค
• ภูมิคุม้ กันที่เกิดขึ้นสำมำรถปรำกฏได้นำน
• สำมำรถใช้ได้อย่ำงควำมปลอดภัย หำกมีผลข้ำงเคียงควรจะ
ปรำกฏน้อยมำก (ยิง่ เวลำผ่ำนไปวัคซี นที่มีควำมเสี่ ยงต่อกำร
เกิดผลข้ำงเคียงก็จะค่อยๆ หมดไป)

วัคซีน

19


Slide 20

วัคซีนในอุดมคติมีคุณสมบัตอิ ย่ างไร (ต่ อ)
• วัคซีนจะต้องมีควำมคงตัว ปัจจุบนั วัคซีนสำมำรถผลิตใน
รู ปแบบ freeze and dry ทำให้สะดวกในกำรเก็บรักษำและ
ขนส่ งที่อุณหภูมิปกติ
• วัคซีนควรมีรำคำไม่แพงเกินไป
• วัคซี นควรให้ได้พร้อมกันหลำยชนิดโดยที่ไม่ก่อให้เกิด
ปฏิกริ ยำขัดแย้งกัน ทั้งนี้เพื่อควำมสะดวกในกำรจัดกำร

วัคซีน

20


Slide 21

ฤทธิ์ที่ไม่ พงึ ประสงค์ ของวัคซีน






เชื้อที่ยงั อำจหลงเหลือควำมรุ นแรงในกรณี ที่ใช้วคั ซีนเชื้อเป็ น
เชื้อโรคอื่นที่ปนเปื้ อนกับเซลล์เพำะเลี้ยง
กำรก่อให้เกิดภูมิแพ้ หลังจำกให้วคั ซีนซ้ ำเข็มที่ 2 เป็ นต้นไป
ควำมเป็ นพิษจำกสำรพิษที่เชื้อโรคสร้ำงขึ้น เช่น วัคซีนโรคไทฟอยด์

วัคซีน

21


Slide 22

การเก็บรักษาวัคซีน
• ส่ วนใหญ่ เก็บไว้ ในตู้เย็นในส่ วนทีอ่ ุณหภูมิไม่ เปลีย่ นแปลงมากนัก
เช่ น ในช่ องทีม่ ีฝาปิ ด เพือ่ รักษาไม่ ให้ อุณหภูมิเปลีย่ นแปลงมากขณะ
เปิ ดตู้เย็น (การเปิ ดตู้เย็นแต่ ละครั้ง อุณหภูมิจะเพิม่ ขึน้ เกิน 8 C)
• โดยทัว่ ไปวัคซีนทีเ่ ป็ นนา้ ควรเก็บไว้ ในตู้เย็นช่ องธรรมดา ห้ ามใส่ ใน
freezer และไม่ ควรไว้ ในช่ องใต้ freezer
• วัคซีนทีเ่ ป็ นผงแห้ ง (lyophilized) สามารถเก็บใน freezer ได้
• วัคซีนทีม่ ีส่วนผงแห้ งและส่ วนนา้ สามารถแยกเก็บตามข้ างต้ น แต่
ห้ ามเอาทั้งสองส่ วนเก็บใน freezer
• ควรมีนา้ แข็ง (มีขายเป็ นถุงนา้ สี ฟ้า) แช่ ไว้ ในตู้เย็น เผือ่ ไฟฟ้าดับ
อุณหภูมิจะไม่ ลดลงมาก
วัคซีน

22


Slide 23

วิธีการให้ วคั ซีน
• 1. การกิน ให้ เมื่อต้ องการกระตุ้นภูมิคุ้มเฉพาะที่ เช่ น ลาไส้ และมัก
เป็ นวัคซีนเชื้อเป็ น
• 2. การฉีดเข้ าชั้นผิวหนัง (Intradermal route) ใช้ เมื่อต้ องการลด
จานวนแอนติเจนลง ทาให้ ใช้ วคั ซีนในปริมาณน้ อย แอนติเจนเข้ าไป
ทางท่ อนา้ เหลืองได้ ดี สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มชนิด CMI เช่ น วัคซีน
ป้องกันโรคพิษสุ นัขบ้ าชนิด human diploid cell ซึ่งให้ ในคน
• 3. การฉีดเข้ าชั้นใต้ ผวิ หนัง (Subcutaneous route) ใช้ กบั วัคซีนที่
ไม่ ต้องการให้ ดูดซึมเร็วเกินไป
• 4. การฉีดเข้ ากล้ามเนือ้ ใช้ เมื่อต้ องการให้ ดูดซึมดี
วัคซีน

23


Slide 24

หลักทั่วไปในการให้ วคั ซีน
• กรณีที่เจ็บป่ วยเล็กน้ อย เช่ น เป็ นหวัด หรือ ไอ สามารถให้ วคั ซีนได้
แต่ ถ้ากาลังมีไข้ สูง ควรเลือ่ นการฉีดจนกว่ าจะหายไข้
• ควรสอบถามเจ้ าของสั ตว์ ว่าสั ตว์ มีพฤติกรรม (โดยเฉพาะการกิน
อาหาร) ปกติหรือไม่
• การให้ วคั ซีนในลูกสั ตว์ ต้องคานึงว่ าหากลูกสั ตว์ ได้ รับภูมคิ ุ้มจากแม่
ตั้งแต่ แรกเกิด จะต้ องรอให้ ระยะเวลาทีภ่ ูมิคุ้มนีห้ มดไป ก่อนที่จะมี
การให้ วคั ซีน นอกจากนีเ้ มื่อให้ วคั ซีนแล้ว จาเป็ นต้ องมีการกระตุ้น
ซ้า (booster)
วัคซีน

24


Slide 25

หลักทั่วไปในการให้ วคั ซีน (ต่ อ)
• ไม่ ควรให้ วคั ซีนหลายชนิดในวันเดียวกัน ยกเว้ นแต่ เป็ นวัคซีนรวมที่ได้
ผลิตขึน้ มา โดยผ่ านการทดสอบแล้ว เช่ น วัคซีน DHL ในสุ นัข ซึ่งใช้
ป้องกันโรค Distemper, Hepatitis และ Leptospirosis
• ในกรณีที่ต้องการให้ วคั ซีนเป็ น( inactivated) พร้ อมกัน ควรให้ คนละ
ตาแหน่ งกัน
• โดยทัว่ ไปภูมิคุ้มจะสร้ างขึน้ จนถึงระดับทีป่ ้ องกันโรคได้ หลังจากฉีด 15
วัน
• การให้ วัคซีนควรทาตามโปรแกรมทีบ่ ริ ษทั ผ้ ผู ลิตกาหนด
• หากต้ องการให้ วคั ซีนโรคอืน่ เข็มต่ อมา ควรเว้ นระยะเวลาอย่ างน้ อย 2
อาทิตย์ ยกเว้ นวัคซีนทีไ่ ด้ ทาการทดสอบและระยะทีเ่ หมาะสมในการให้
วัคซีน

25


Slide 26

ตัวอย่ างวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้ าเปื่ อยของกรมปศุสัตว์
• เป็ นวัคซีนเชื้อตาย สามารถป้องกันโรคได้ นาน 6 เดือน (ฉีดปี ละ
2 ครั้ง)
• ในสุ กรใช้ สื่อแบบอีมลั ชั่นชนิดนา้ มันในนา้ (oil emulsion
vaccines)
• ในโคกระบือใช้ สื่อแบบนา้ (aqueous vaccines)

วัคซีน

26


Slide 27

Influenza vaccines
ชนิดของวัคซีน
• 1. Inactivated vaccine
– Homologous vaccine ใช้ วคั ซีนสายพันธุ์เดียวกับสายพันธุ์ทมี่ ีการ
ระบาดของโรคในพืน้ ที่
– Heterologous vaccine ใช้ วคั ซีนสายพันธุ์ทมี่ ี Haemagglutinin สาย
พันธุ์เดียวกับเชื้อทีร่ ะยาดเป็ น marker แต่ ต่างกันในส่ วนของ
Neuraminidase (DIVA) เช่ น H5N2, H5N3,

• 2. Recombinant vaccine ใช้ fowl poxvirus หรือ baculovirus
เป็ น vector
– สามารถแยกความแตกต่ างระหว่ างการทาวัคซีนและการป่ วยได้
วัคซีน

27


Slide 28

Influenza vaccines
• การใช้ วคั ซีนต้ องมีการ booster เพราะโดยทั่วไป การระบาด
จะมี 2nd wave ตามหลังในเวลา 3-9 เดือน

วัคซีน

28


Slide 29

บรรณานุกรม
• 1. คณำจำรย์ภำควิชำเภสัชวิทยำ วพม. 2542. สำระสำคัญวิชำเภสัช
วิทยำ. โครงกำรตำรำ วพม. ฉลองวำระคบรอบ 25 ปี วิทยำลัย
แพทยศำสตร์พระมงกุฏเกล้ำ. บริ ษทั เอส.อำร์.พริ้ นติ้ง แมสโปร
ดักส์ จำกัด. กรุ งเทพฯ.
• 2. Mims, C.A., Dimmock, N.J., Nash, A. and Stephen, J. 1995.
Mims’ Pathogenesis of Infectious Disease. 4th Edition. Academic
Press Inc. USA.
วัคซีน

29