ทบทวนทฤษฎีหลักสู ตร ดร.อมรา เขียวรักษา ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974 : 7) กล่ าวว่ า การพัฒนาหลักสูตรหมายถึงการทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้ ว ให้ ดีขนึ ้ หรื อการจัดทาหลักสูตรขึน้ มาใหม่ โดยไม่

Download Report

Transcript ทบทวนทฤษฎีหลักสู ตร ดร.อมรา เขียวรักษา ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974 : 7) กล่ าวว่ า การพัฒนาหลักสูตรหมายถึงการทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้ ว ให้ ดีขนึ ้ หรื อการจัดทาหลักสูตรขึน้ มาใหม่ โดยไม่

ทบทวนทฤษฎีหลักสู ตร
ดร.อมรา เขียวรักษา
1
ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร
เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974 : 7)
กล่ าวว่ า การพัฒนาหลักสูตรหมายถึงการทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้ ว
ให้
ดีขนึ ้ หรื อการจัดทาหลักสูตรขึน้ มาใหม่ โดยไม่ มีหลักสูตร
เดิมเป็ นพืน้ ฐานเลย ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรจะรวมไป
ถึงการผลิตเอกสารต่ าง ๆ สาหรั บผู้เรี ยนด้ วย
นอกจากคาว่ าการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development)
แล้ ว ยังมีคาอื่นที่มีความหมายใกล้ เคียงกัน หรื อทานองเดียวกัน
หรื อแตกต่ างกันเพียงรายละเอียดที่ต้องการเน้ น เช่ น การปรั บปรุ ง
หลักสูตร (Curriculum Improvement) การสร้ างหลักสูตร
(Curriculum Construction) การวางแผนหลักสูตร (Curriculum
Planning) การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) และการ
เปลี่ยนแปลงหลักสูตร (Curriculum Change) เป็ นต้ น
2
ดังนัน้ การพัฒนาหลักสูตรจึงมีความหมาย 2 แนว ดังนี ้
1. การปรับปรุ งหลักสูตร หมายถึงการปรับปรุ งแก้ ไข
ทีละเล็กละน้ อยเรื่อยไป เป็ นการปรับปรุ งในส่ วนปลีกย่ อย
แต่ โครงสร้ างส่ วนใหญ่ ยังคงเดิม
2. การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ขนาดใหญ่ ม่ ุงให้ เกิดสิ่งใหม่ ในหลักสูตรทัง้ หมด หรือเป็ นการสร้ าง
หลักสูตรใหม่
3
กิจกรรม “ปลูกเรือน”
• จุดประสงค์ กิจกรรมต้ องการให้ ได้ ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร
• สื่อที่ใช้ ดินน ้ามัน บัตรงาน และใบความรู้ เรื่ อง ข้ อคิดในการพัฒนาหลักสูตร
• กิจกรรม : แบ่งกลุม่ ๆละ 3 คน รับบัตรงาน ในบัตรงานจะอธิบายวิธีการทา
กิจกรรม “ปลูกเรื อน” วิธีการคือ ให้ สมาชิกในกลุม่ 2 คน สร้ างบ้ านให้ อีกคน
หนึ่งอยูอ่ ย่างมีความสุข (สมมติวา่ ในห้ องเรี ยนมี 3 กลุม่ )จัดให้ กลุม่ ที่ 1 สร้ าง
บ้ านโดยไม่ต้องถามผู้ที่จะมาอยู่ และให้ ผ้ ทู ี่จะมาอยูม่ ารับใบความรู้จากครูไป
ศึกษา กลุม่ ที่ 2 ก่อนลงมือสร้ างบ้ านให้ ถามผู้ที่จะอยูว่ า่ ชอบบ้ านลักษณะ
ไหน แบบใด และให้ ผ้ ทู ี่จะมาอยูม่ ารับใบความรู้จากครูไปศึกษา กลุ่มที่ 3
ก่อนสร้ างบ้ านให้ ถามผู้ที่จะอยูว่ า่ ชอบบ้ านลักษณะไหน แบบใด และลงมือ
ช่วยกันสร้ างทัง้ 3 คน
4
กิจกรรม “ปลูกเรือน” (ต่ อ)
• เมื่อสร้ างเสร็จแล้ วให้ ผ้ ทู ี่จะมาอยูบ่ อกว่าชอบหรื อไม่ อย่างไร และถ้ าไม่
ถูกใจ จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ าง อย่างไร
• ให้ ผ้ ทู ี่อา่ นใบความรู้สรุปให้ เพื่อนๆ สมาชิกทังชั
้ นฟั
้ ง ว่า ข้ อคิดในการ
สร้ างหลักสูตรมีอะไรบ้ าง อย่างไร และมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับ
เรื่ องที่ได้ อา่ น
• สมาชิกที่สร้ างบ้ านเสนอความคิดเห็นในการทากิจกรรมครัง้ นี ้
• ครูผ้ สู อนสรุปเชื่อมโยงกิจกรรม”ปลูกเรื อน” กับข้ อคิดในการพัฒนา
หลักสูตร
• ประเมินผล : สังเกตพฤติกรรม และการนาเสนอความคิดเห็น
5
ข้ อคิดในการพัฒนาหลักสู ตร
• ต้ องคานึงถึงองค์ ประกอบต่ างๆ เช่ น
–
–
–
–
–
ความต้ องการของสังคมในแง่ผ้ ใู ช้ ผลผลิต
ความต้ องการของสังคมในแง่สิ่งแวดล้ อม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผู้เรี ยน
ความก้ าวหน้ าทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจและสังคม
• การพัฒนาหลักสูตรต้ องกระทาให้ ครบ 5 ขัน้ ตอน คือ
–
–
–
–
–
การกาหนดจุดมุง่ หมายของหลักสูตร
การเลือกและการจัดเนื ้อหาวิชาและประสบการณ์
การนาหลักสูตรไปใช้
การประเมินหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตร
6
ข้ อคิดในการพัฒนาหลักสู ตร (ต่ อ)
• หลักสูตรที่ดตี ้ องมีรายละเอียดเกี่ยวกับ
– การบริหารหลักสูตร
– การจัดแผนการเรี ยนการสอน
– วิธีสอนและคุณสมบัติของผู้สอน
– สถานที่ สื่อการเรี ยนการสอน
– หนังสือหรื อตาราเรี ยน
• ต้ องเกิดจากความร่ วมมือของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องเพื่อปรับปรุ ง
หลักสูตรให้ มีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพการณ์ ปัจจุบนั
7
ฝากสุ ภาษิตไทย
•ปลูกเรื อนตามใจผ้ ูอย่ ู
•ผูกอ่ ูตามใจผ้ ูนอน
8
กิจกรรมฝากให้ ทา
• แบ่ง5กลุม่ เพื่อวิเคราะห์พื ้นฐานที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ว่ามี
ทฤษฎีใดบ้ าง มีความจาเป็ นอย่างไรที่ต้องเรี ยนรู้และทาความเข้ าใจ
ก่อนพัฒนาหลักสูตร (นาเสนอสัปดาห์ที่ 5)
– พื ้นฐานทางปรัชญา(จิตรลดา)
– พื ้นฐานทางสังคม(วีรยุทธ)
– พื ้นฐานทางจิตวิทยา(เพ็ญนี)
– พื ้นฐานทางเศรษฐกิจและการเมือง(บุญเลิศ)
– การวิเคราะห์สภาพปั ญหา ความต้ องการและความจาเป็ นของท้ องถิ่น
(กรณีหลักสูตรท้ องถิ่น) (นิติธาร)
9