Transcript lesson3

บทที่ 3
อัตนิยมและอัญนิยม
มนุษย์มีธรรมชาติที่เห็นแก่ตวั หรือเห็นแก่ผูอ้ อ ื่น ?
อาจารย์ชชั วาลย์ ชิงชัย
ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
Page 2
Page 3
Page 4
อัตนิยมและอัญนิยม
มนุษย์มีธรรมชาติที่เห็นแก่ตวั หรือเห็นแก่ผูอ้ อ ื่น ?
………….………………
ในวงการจริยศาสตร์น้ัน มีปัญหาที่สาคัญประการหนึ่ งซึ่ง
ถกเถียงกันมานานนั้นคือ
โดยธรรมชาติของมนุ ษย์จริง ๆ นั้น เห็นแก่ตวั หรือเห็นแก่
ผูอ้ ื่น
คาตอบในเรื่องนี้ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม
Page 5
กลุม่ แรก เห็นว่าโดยธรรมชาติมนุ ษย์เห็นแก่ตวั ในที่นี้ขอ
ใช้ศพั ท์เรียกว่า อัตนิยม
กลุ่มที่สอง มีความเห็นแย้งว่าโดยธรรมชาติมนุ ษย์ไม่เห็น
แก่ตวั แต่เห็นแก่ผอู้ ื่น ใช้ศพั ท์เรียกว่า อัญนิยม
ปั ญหาที่ตามมาอีกข้อหนึ่ งในเรื่องนี้ ก็คือ
ถ้ามนุ ษย์มี
ธรรมชาติเห็นแก่ตวั ความเห็นแก่ตวั เป็ นความดีหรือชัว่
ในบทนี้ เราจะได้พิจารณาวิเคราะห์วจิ ารณ์ในเรื่องนี้
Page 6
3.1 ความเห็นแก่ตัวคืออะไร ?
เมื่อพูดถึงความเห็นแก่ตวั โดยสามัญสานึ ก มนุ ษย์จะมี
ความรูส้ ึกไม่ค่อยดี
มองเป็ นความชัว่ ร้าย
นึ กถึงภาพคนที่เอา
เปรียบผูอ้ ื่น เป็ นคนที่สงั คมรังเกียจ ไม่มีใครอยากจะคบด้วย
การจะพิจารณาและตัดสินว่าบุคคลนี้ เห็นแก่ตวั หรือไม่น้ัน
พิจารณาได้จากเหตุผล 2 ประการ คือ
Page 7
1. เจตนา
พิจารณาดูที่เจตนาว่ามีความละโมบโลภมาก อยากได้ของ
คนอื่น แต่ไม่ยอมเสียของๆ ตนให้แก่ผอู้ ื่น
หรือถ้าจาเป็ นจะต้องเสียจริงๆ ก็จะเป็ นลักษณะเสียให้น้อย
แต่เอาให้มาก เหมือนเอากุง้ ไปตกปลากระพง
มีลกั ษณะเป็ นแบบพ่อค้า ลงทุนให้น้อยแต่เอากาไรให้มาก
Page 8
2. การกระทา
พิจารณาดูการกระทาที่ชอบเอาเปรียบผูอ้ ื่น เช่น
ในที่ทางาน จะเป็ นผูท้ ี่มาทางานสายบ้าง กลับก่อนเวลา
บ้าง แต่เวลารับเงินเดือน รับเท่าคนอื่นที่ทางานหนักกว่า เป็ นต้น
Page 9
จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ได้ขอ้ สรุปว่า
คนเห็นแก่ตวั คือคนที่ ทาตัวให้ได้รบั ผลประโยชน์ แต่ทาให้
ผูอ้ ื่ นเสียผลประโยชน์
คนโดยส่วนมากไม่ชอบคนเห็นแก่ตวั แต่คนเห็นแก่ตวั มัก
มีมากในสังคมโดยทัว่ ไป
คนโดยส่วนมากอาจเป็ นคนที่ เห็นแก่ตวั ทั้งรูต้ วั และไม่รตู้ วั
ก็ได้
ในที่ นี้ เราจะได้วเิ คราะห์แนวคิดทฤษฎีอตั นิ ยม
Page 10
Page 11
3.2 ลั ทธิอัตนิยม (Egoism)
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes : 1588 - 1679) นักปรัชญา
ชาวอังกฤษได้กล่าวถึงเรื่องนี้ ไว้ในหนังสือชื่อ De Cive สรุปได้วา่
“ ความเห็นแก่ตวั คือ ธรรมชาติมนุษย์ ไม่ใช่สิ่งที่น่า
อับอายหรือน่ารังเกียจ เพราะมนุษย์ยอ่ มรักตน จึงตออง
ปกปอองตนเองไม่ใหอเกิดความทุกข์หรือความตาย ”
Page 12
จากแนวคิดของฮอบส์
ถ้าพิจารณาตามหลักชีววิทยา จะพบว่าเป็ นความจริง
ทีเดียว เพราะสัตว์โลกย่อมมีสญ
ั ชาตญาณที่จะดิ้ นรนต่ อสูเ้ พื่อ
ความอยูร่ อดของตน
สัตว์ที่เข้มแข็ งกว่าเท่ านั้ นจึงจะสามารถมีชี วิ ตอยู่รอดได้
สัตว์โลกทัว่ ไปย่อมแสดงสัญชาตญาณตัวนี้ ได้อย่างชัดเจน
แต่ ส าหรับ มนุ ษ ย์ซึ่ ง เป็ นสัต ว์ช้ัน สูง นั้ น มี วิธี ที่ จ ะแสดง
ความรักตนเองออกมา โดยทาเป็ นเหมือนกับแสดงออกด้วยการ
เห็นแก่ผอู้ ื่น
Page 13
ในทัศนะของกลุ่มนี้ ถือว่า
การทาเพื่อผูอ้ ื่นเป็ นภาพมายา ไม่มีการกระทาของมนุ ษย์
คนใดที่จะไม่เห็นแก่ตวั
แม้การสามัคคีกนั มารวมตัวกันอันเป็ นบ่อเกิดของรัฐ
ก็เพื่อปกป้องผลประโยชน์ตนเองเท่านั้น
แก่นแท้ของมนุ ษย์ คือ ความเห็นแก่ตวั
ดี คือ คาใช้เรียกสิ่งที่ตนพอใจ
ชัว่ คือ สิ่งที่ใช้เรียกสิ่งที่ตนไม่ปรารถนา
Page 14
คุณธรรม คือ ความเห็นแก่ตวั
การช่วยเหลื อผูอ้ ื่น คือ การลงทุ นหวังผลในระยะยาว
อันเป็ นความรอบคอบที่มนุ ษย์ควรจะมี
การเห็นแก่ผอู้ ื่ น หรือการช่วยเหลือผูอ้ ื่ น คือ
หน้ากากแห่งความเห็นแก่ตวั ที่ แปลงร่างมาเท่านั้นเอง
Page 15
Page 16
3.3 อั ญนิยม
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin : 1809 - 1882)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ในตอนแรกก็มีแนวคิดที่คล้ายฮอบส์
ประโยคอันลือลัน่ ว่า
เพราะเป็ นเจ้าของ
“ ผู้ทอ ี่เขอมแข็งกว่าเท่านั้นเป็ นผู้เอ หมาะที่จะอย้ร่ อด ”
แต่ต่อมา เขาได้เขียนหนังสือชื่อ The Descent of Man
เขาได้พดู ถึงความสานึ กทางศีลธรรมของมนุ ษย์
โดยได้พิจารณาเห็นว่า
Page 17
มนุ ษย์น อกจากจะมีสัญชาตญาณในการรัก และปกป้อง
ตนเองเหมือนอย่างสัตว์โลกทัว่ ไปแล้ว
ต่อมา
เมื่อมนุ ษย์มีวิวฒ
ั นาการที่ สูงขึ้ นได้ก่ อให้เกิด
สั ญ ชาตญาณแบบใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า สั ญ ชาตญาณกลุ่ ม หรื อ
สัญชาตญาณสังคม (Social Insinct)
สัญชาตญาณตัวนี้
ได้แปรรูปไปเป็ นสิ่งที่มนุ ษย์เรียกว่า
มโนธรรม นั้นคือ การเห็นแก่ผอู้ ื่นมากกว่าเห็นแก่ตวั เอง
Page 18
เรื่ อ งนี้ จะเห็ น ได้ชัด ในกรณี ที่ ท หารต้อ งออกไปรบเพื่ อ
ประเทศชาติ
แม้จะรูว้ า่ ในการไปครั้งนี้ จะต้องตาย แต่เขาก็ยอมเสียสละ
แม้กระทัง่ ชีวติ เพื่อมาตุภมู ิอนั เป็ นที่รกั
วีรกรรมของชาวบ้านบางระจัน ดูจะเป็ นประจักษ์พยานใน
เรื่องนี้ ได้เป็ นอย่างดี
Page 19
มนุ ษย์มีความสานึ กทางศีลธรรม มีมโนธรรม จึงพัฒนา
จากสัญชาตญาณรักตน เป็ นสัญชาตญาณสังคม นั้นคือการเห็นแก่
ผูอ้ ื่น
ดาร์วนิ ได้กล่าวไว้ในหนังสือเล่มเดียวกัน สรุปได้วา่
ในการกระทาอะไรก็ตาม มนุ ษย์จะต้องทาตามแรงกระตุน้
ที่รุนแรงที่สุด คือ สัญชาตญาณแห่งการรักตนเอง
เมื่อได้รบั ความพอใจจากการกระทาแล้ว
ลาดับต่อไป
เขาจะถูกสัญชาตญาณแห่งความสานึ กผิด
และความละอายเมื่อคิดถึงผูอ้ ื่น
Page 20
สิ่งนั้นจะเป็ นอะไรอื่นไปไม่ได้ นอกจากคาว่า มโนธรรม
เนื่ องจาก มโนธรรมจะมีลกั ษณะมองย้อนหลังเพื่อเป็ นแนวทาง
ต่อไปสาหรับอนาคต
สิ่งที่เขาจะได้รบั จากการตัดสิน ก็คือ ความเศร้าเสียใจ
ความสานึ กผิด และความละอายเมื่อคิดถึงผูอ้ ื่น
สิ่งนั้นจะเป็ นอะไรอื่นไม่ได้ นอกจากคาว่า มโนธรรม
เนื่ องจากมโนธรรมจะมีลกั ษณะ
มองย้อนหลังเพื่อเป็ นแนวทางต่อไปสาหรับอนาคต
Page 21
แนวคิ ด ในเรื่ อ งสั ญ ชาตญาณสั ง คมของดาร์ วิ น นั้ น
สามารถเข้าใจได้ง่ายจากการพิจารณาในแง่ของมานุ ษยวิท ยา
นั้นคือ
มนุ ษย์เป็ นสัตว์โลกที่อ่อนแอที่สุดเมื่อมองในด้านกายภาพ
การอยูแ่ บบโดดเดี่ยวย่อมทาให้มนุ ษย์ลาบาก
จากความจาเป็ นที่จะต้องเอาตัวรอดจึงทาให้มนุ ษย์ตอ้ งมา
อยู่ร่วมกัน
และใช้ภาษาเป็ นตัวถ่ายทอดประสบการณ์ให้แก่
อนุ ชนรุ่นหลัง
Page 22
3.4 อัญนิยมวิพากษ์อตั นิยม
โจเซฟ บัทเลอร์ ( Joseph Butler : 1692 – 1752 )
นั กปรัชญาชาวอังกฤษได้แสดงเหตุผลหักล้างแนวคิด อัต
นิ ยมของฮอบส์ไว้ เมื่อปี ค.ศ.1726
ในงานรวมบทเทศน์ชื่อ Fifteen Sermons Preached
at the Rolls Chapel สรุปว่า
Page 23
1.
มีอยู่เสมอที่เราดีใจกับผูอ้ ื่นอย่างแท้จริง ที่เขาได้รบั
ประโยชน์ จากการที่มีบุคคลอื่นนามาให้เพราะเราไม่สามารถทา
ให้เขาได้
2. บ่อยครั้งไปที่เราเห็นการกระทาที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่
ผูอ้ ื่น
3. ถ้าความเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่นคือความกลัว ยิ่งเห็นใจผูอ้ ื่น
มากก็ยิ่งกลัวมาก คนเห็นใจผูอ้ ื่นมากก็คือคนที่ขี้ ขลาดมากที่สุด
ในประสบการณ์จริงคนขี้ ขลาดมักจะไม่ช่วยเหลือใคร
Page 24
4. ถ้าความกลัวคือการที่ทาให้เราต้องช่วยเหลือผูอ้ ื่น ทาไม
เราต้องช่วยญาติของเรามากกว่าคนแปลกหน้า
5. เวลาที่เราพบคนอื่นประสบอันตราย เราจะมีความรูส้ ึก
หลายอย่างปะปนในใจ เช่น กลัวว่าเราจะต้องเจอเหตุการณ์อย่าง
นั้ นบ้าง
นึ กขอบคุ ณสวรรค์ที่ เราไม่เจอสภาพแบบนั้ น บ้าง
อยากจะช่วยให้เขาพ้นจากอันตรายโดยเร็ว
Page 25
ทั้งหมดนี้ เป็ นความรูส้ ึกที่มีอยูใ่ นใจมนุ ษย์ทวั ่ ไป
แต่ฮอบส์แยกความรูส้ ึกไม่ออก จึงเข้าใจผิดคิดว่า เราจะ
เกิดความกลัวอย่างเดียว
อัตนิ ยมถือว่า การช่วยเหลือผูอ้ ื่นเป็ นการกระทาเพื่อหวัง
ผลไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ ง
อัญนิ ยมแก้วา่ มีถมไปที่คนช่วยเหลือคนอื่น โดยไม่หวัง
อะไรทั้งนั้น เช่น คนบริจาคเงินเป็ นจานวนมากเพื่อการกุศลโดย
ไม่ประสงค์ออกนาม เขาไม่ตอ้ งการอะไรทั้งนั้น
Page 26
ทั้งคายกย่องสรรเสริญ การออกโทรทัศน์ ใบอนุ โมทนา
บัตรเพื่อเอาไปลดภาษี ไม่ตอ้ งการแม้แต่การได้ขึ้นสวรรค์ในชาติ
หน้า เพราะเขาไม่มีความเชื่อเลยในเรื่องนี้
อัตนิ ยม ก็ยงั ไม่ยอมจนมุมด้วยเหตุผลจึงอ้างว่า
เขาอาจทาเพราะถือว่าเป็ นความพอใจส่วนตัว ซึ่งก็เท่ากับ
เป็ นการหนี ไม่พน้ ความเห็นแก่ตวั อยูด่ ี
เรื่องนี้ สาหรับพวกอัญนิ ยมจะตอบอัตนิ ยมอย่างไร ?
Page 27
อัญนิ ยมได้ตอบว่า
ในเรื่องนี้ เราจะพบว่าคนที่สงสารคนอื่นนั้น
อยูท่ ี่การได้ช่วยเหลือคนอื่น
ความสุข
ตัวอย่าง
พระพุทธเจ้า
สร้างบารมีจนเต็มเพียงพอที่จะบรรลุ
อรหันต์และเข้านิ พพานได้ต้งั นานแล้ว
แต่ท่านก็ไม่ปรารถนาเป็ นอรหันต์ แต่กลับเพียรพยายาม
สร้างบารมีเวียนเกิดเวียนตายอีกมากมายเพื่อจะได้บรรลุ เป็ น
พระพุทธเจ้า รื้ อขนสัตว์โลกให้ไปนิ พพานเหมือนพระองค์
Page 28
จากตัวอย่างนี้ ทาให้เราทราบว่าพระพุทธเจ้าไม่ได้เห็นแก่
ตัวเลย
ทั้งอัตนิ ยมและอัญนิ ยมถือว่าเป็ นแนวคิดที่สาคัญในทาง
จริยศาสตร์ทีเดียว
จริยศาสตร์จะเกิดขึ้ นไม่ได้
ประโยชน์ตนเองเป็ นหลัก
ถ้าแนวคิดของมนุ ษย์มุ่งที่
แต่ ค วามดี ค วามชัว่ นั้ น เกิ ด จากการที่ ม นุ ษ ย์น้ั นมาอยู่
ร่วมกันเกื้ อกูลกัน
Page 29
นั ก จริ ย ศาสตร์ส่ ว นมากไม่ เ ห็ น ด้ว ยกับ แนวคิ ด แบบอัต
นิ ยม เพราะส่วนมากถือว่า
แม้จะมีบ่อยครั้งที่มนุ ษย์เห็นแก่ตนเอง แต่ก็ไม่ใช่ทุกครั้ง
ที่มนุ ษย์เห็นแก่ตนเอง มีอยูเ่ หมือนกันที่มนุ ษย์ทาเพื่อผูอ้ ื่น
ถ้าเชื่อตามอัตนิ ยม แนวคิดใหญ่ 2
ศาสตร์ที่เกี่ยวกับผูอ้ ื่น
แนวคิดทางจริย
คื อ ส านั ก ประโยชน์ นิ ยมและแนวคิ ด ของค้า นท์ ที่ จ ะ
กล่าวถึงต่อไปในภาคที่วา่ ด้วยมาตรการในการตัดสิน จริยธรรมก็
จะถึงกาลอวสานทันที
Page 30
Page 31